ชุดกิจกรรม ชุดท่ี 1 เรอื่ ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี 1 ชุดที่ ผังมโนทศั น์ ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี 1 รายวชิ าเคมี2 รหสั วชิ า ว30222 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ความหมายของ อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี ตัวเร่งปฏกิ ริ ยิ า แนวคิดเกี่ยวกับ และ การเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี ตัวหนว่ งปฏิกริ ิยา อณุ หภมู ิ พลังงาน กบั อตั ราการเกิด กบั การดาเนินไป ปฏกิ ิริยาเคมี ของปฏกิ ิรยิ าเคมี พื้นท่ผี ิวของสาร ความเข้มข้นของสาร กับอตั ราการเกิด กบั อตั ราการเกิด ปฏกิ ริ ยิ าเคมี ปฏกิ ริ ิยาเคมี 1
ชุดกิจกรรม ชดุ ท่ี 1 เรอ่ื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี 2 ชดุ ที่ คาชีแ้ จงประกอบการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 1 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมี2 รหัสวิชา ว30222 สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ประกอบด้วยชุดกิจกรรม การเรยี นรยู้ อ่ ย จานวน 7 ชุด ได้แก่ ชุดท่ี 1 ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี ชุดที่ 2 แนวคดิ เกย่ี วกบั การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี ชดุ ท่ี 3 พลังงานกบั การดาเนนิ ไปของปฏกิ ิรยิ าเคมี ชดุ ที่ 4 ความเข้มขน้ ของสารกบั อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี ชดุ ท่ี 5 พืน้ ท่ีผิวของสารกบั อัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี ชุดที่ 6 อุณหภูมกิ ับอัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี ชุดท่ี 7 ตวั เรง่ ปฏิกริ ยิ าและตวั หน่วงปฏิกริ ยิ าเคมี ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดนี้ เป็น ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เวลาในการเรียนโดยใชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 จานวน 4 ช่ัวโมง 2
ชดุ กิจกรรม ชดุ ท่ี 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี 3 ชุดที่ ชุดกิจกรรมการเรยี นรชู้ ดุ ท่ี 1 1 เรื่อง ความหมายของอตั ราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 3 สารและสมบตั ขิ องสาร มาตรฐาน ว3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด สารละลาย การเกิดปฏิกิริยามี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้และ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรยี นรู้ ทดลอง อภิปราย และอธิบายความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และคานวณหาอัตรา การเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ดา้ นความรู้ (K-Knowledge) 1) อธิบายความหมายและคานวณหาอัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมแี ต่ละประเภทได้ 2) เขยี นกราฟแสดงความสมั พันธ์ระหวา่ งปริมาณสารทเี่ ปลย่ี นแปลงกบั เวลา พร้อมทง้ั แปลความหมาย จากกราฟได้ 3) คานวณและเขียนความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับอัตราการเพิ่มขึ้นหรืออัตรา การลดลงของสารต่างๆ ในปฏกิ ริ ิยาเคมจี ากสมการท่ดี ุลแล้วได้ 2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P-Process) 1) ทาการทดลองเพ่ือศึกษาการวัดปริมาณสารท่ีเกิดขึ้นในช่วงเวลาต่างๆ ในปฏิกิริยาระหว่างโลหะ แมกนีเซยี มกับกรดไฮโดรคลอรกิ ได้ 3. ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A-Attitude) 1) มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความใฝร่ ู้ 2) มพี ฤตกิ รรมท่ีแสดงออกถึงความมุ่งมน่ั ในการทางาน 3
ชดุ กิจกรรม ชุดที่ 1 เร่อื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี 4 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (C-Competencies of learners) 1) มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความสามารถในการสื่อสารจากการอภิปรายและเขียนรายงานสรุป ผลการทดลอง 2) มพี ฤตกิ รรมทแี่ สดงออกถึงความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และอภิปรายผลการทดลอง 3) มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความสามารถในการแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนระหว่างทาการทดลอง และการ แกป้ ัญหาโจทยก์ ารคานวณ 4) มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ ในการทางานเป็นทมี ร่วมกับผูอ้ ื่นได้ สาระสาคัญ ปริมาณของสารต้ังต้นหรือผลิตภัณฑ์ที่เปลี่ยนแปลงไปต่อหนึ่งหน่วยเวลา เรียกว่า อัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมี และปริมาณของสารท่ีเปลยี่ นแปลงไปนั้น อาจวัดจากค่าความเข้มข้น ปริมาตร หรือมวลของสาร ซง่ึ ข้นึ อย่กู ับลักษณะของสาร สาระการเรียนรู้ ปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงไปต่อหนึ่งหน่วยเวลา หรือปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงหรือปริมาณ สารผลติ ภัณฑท์ เ่ี พิ่มข้ึนตอ่ หนึง่ หนว่ ยเวลา เรยี กว่า อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี อตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี สามารถบอกได้ 3 ประเภท คือ 1. อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีเฉลย่ี 2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ ช่วงเวลาใดเวลาหน่งึ 3. อัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี ณ จดุ ใดจดุ หนึ่งของเวลา ปริมาณของสารทเี่ ปลย่ี นแปลงไปนน้ั อาจวดั จากความเข้มขน้ ปรมิ าตร หรอื มวลของสาร ซึง่ ขนึ้ อยู่กับ ลักษณะของสารในปฏกิ ิริยาเคมี วิธีการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาการอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะพิจารณาจากการวัดปริมาณของสาร ตั้งตน้ หรือสารผลิตภัณฑ์ก็ได้ ทง้ั น้ี ขนึ้ อยกู่ ับความสะดวกของการทดลอง ขึ้นอยูก่ ับลกั ษณะและสมบตั ิของสาร ทีเ่ ก่ยี วข้อง เวลาที่ใช้ในการศกึ ษาชุดกจิ กรรมการเรียนร้ทู ี่ 1 จานวน 4 ชั่วโมง 4
ชดุ กิจกรรม ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี 5 การวัดผลประเมนิ ผล วิธีวดั ผลและประเมินผล เคร่อื งมอื วัดผลประเมินผล เกณฑ์ ดา้ นความรู้ (K-Knowledge) 1. ตรวจใบกจิ กรรมที่ 1.1 1. ใบกจิ กรรมท่ี 1.1 1. ใบกิจกรรมท่ี 1.1 ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 80 2. ตรวจใบกจิ กรรมที่ 1.2 2. ใบกจิ กรรมที่ 1.2 2. ใบกจิ กรรมท่ี 1.2 ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 80 3. ตรวจใบกิจกรรมที่ 1.3 3. ใบกจิ กรรมท่ี 1.3 3. ใบกจิ กรรมที่ 1.3 ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 80 4. ตรวจใบกิจกรรมที่ 1.4 4. ใบกิจกรรมท่ี 1.4 4. ใบกจิ กรรมที่ 1.4 ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 80 5. ตรวจใบกจิ กรรมที่ 1.5 5. ใบกิจกรรมที่ 1.5 5. ใบกิจกรรมท่ี 1.5 ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 80 6. ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น 6. แบบทดสอบหลงั เรยี น 6. แบบทดสอบหลงั เรยี น ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 80 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P-Process) 1. สงั เกตพฤติกรรม 1. แบบสงั เกตพฤติกรรม 1. พฤติกรรมการทางานกลมุ่ การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 80 2. ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิ 2. แบบประเมินผล 2. แบบประเมินผลการปฏบิ ตั ิการทดลอง การทดลอง การปฏิบัตกิ ารทดลอง ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 80 ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A-Attitude) ประเมินคุณลักษณะอนั พงึ แบบประเมินคุณลักษณะ คะแนนคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 80 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (C-Competencies of learners) ประเมินสมรรถนะสาคัญ แบบประเมินสมรรถนะสาคญั คะแนนสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ของผู้เรียน ของผูเ้ รียน ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 80 5
ชุดกิจกรรม ชดุ ที่ 1 เร่อื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี 6 ชดุ ที่ ขัน้ ตอนการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ชดุ ท่ี 1 1 เรอ่ื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 1. ศกึ ษาคาแนะนาการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ 2. ศึกษาสาระสาคัญ จุดประสงค์การเรยี นรู้ และวิธีการวัดผลประเมินผล 3. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 4. ปฏบิ ตั ิชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดท่ี 1 เรอื่ งความหมายของอตั ราการเกิดปฏิกริ ิยา 5. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น ไม่ผ่านเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ 6. ศกึ ษาชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ชดุ ท่ี 2 เรอ่ื ง แนวคิดเกีย่ วกบั การเกิดปฏิกิรยิ าเคมี ประเมินผล 6
ชุดกิจกรรม ชดุ ที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 7 ชุดท่ี คาแนะนาการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรสู้ าหรบั ครู 1 คาแนะนาน้ีใช้สาหรับประกอบการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดท่ี 1 เร่ือง ความหมายของอัตรา การเกดิ ปฏิกริ ิยา ประกอบดว้ ย 1. บทบาทของครูผสู้ อน 1.1 ครูผู้สอนเตรียมตัวให้พร้อม โดยศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรม การเรียนรู้ การจัดช้ันเรยี น และการเตรยี มสอ่ื การเรยี นทีใ่ ช้ประกอบการจดั การเรียนรู้ 1.2 การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ครจู ะต้องจัดกิจกรรมให้ครบตามที่ระบุไว้ในแผนการจดั การเรียนรู้ เพ่ือให้กจิ กรรมเป็นไปอย่างต่อเนื่องและบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ 1.3 ก่อนทากิจกรรมทุกคร้ัง ครูต้องอธิบาย ช้ีแจง วิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้ชัดเจนให้นักเรียนได้ เข้าใจตรงกัน จึงจะทาให้การจัดกจิ กรรมการเรียนร้บู รรลุเปา้ หมายและมปี ระสิทธภิ าพ 1.4 ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมเพ่ือเป็นการฝึก ให้นักเรียนรู้จัก การทางานร่วมกัน ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน รับผิดชอบต่อหน้าที่กล้าแสดงออก สังเกตการ ปฏบิ ัติ และให้การชว่ ยเหลือนักเรียนในยามท่ีจาเป็นอยา่ งใกล้ชดิ 1.5 หลังจากกิจกรรมการเรียนรู้เสร็จส้ินลงในแต่ละกิจกรรม ครูเป็นผู้ประเมินผลการเรียนรู้ของ นกั เรยี น 2. สิ่งทค่ี รตู อ้ งเตรยี ม 2.1 ใบคาสัง่ 2.2 แบบทดสอบก่อนเรยี น ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี 2.3 ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรอ่ื ง ปฏิกิริยาระหวา่ งโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก ส่วนท่ี 1 2.4 ใบความรูท้ ่ี 1.1 เรอ่ื ง ความหมายของอตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 2.5 ใบกจิ กรรมที่ 1.2 เรอื่ ง สญั ลกั ษณ์ที่ใชแ้ ทนในการศกึ ษาอัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี 2.6 ใบกจิ กรรมท่ี 1.3 เรื่อง ร้เู ฟอ่ื งเรือ่ งของกราฟ 2.7 ใบความรู้ที่ 1.2 เร่ือง ประเภทและการคานวณอตั ราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี 2.8 ใบกจิ กรรมท่ี 1.1 เร่ือง ปฏกิ ิริยาระหวา่ งโลหะแมกนีเซยี มกับกรดไฮโดรคลอรกิ ส่วนท่ี 2 2.9 ใบกิจกรรมท่ี 1.4 เรื่อง การคานวณอตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมีแตล่ ะประเภท 2.10 ใบความรูท้ ่ี 1.3 เรื่อง อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีจากความสมั พนั ธข์ องสมการเคมี 7
ชุดกิจกรรม ชดุ ที่ 1 เรอื่ ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี 8 2.11 ใบกิจกรรมท่ี 1.5 เร่ือง การคานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจากความสัมพันธ์ของสมการ เคมี 2.12 แบบทดสอบหลังเรียน ชดุ ท่ี 1 เรอื่ ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี 2.13 ใบเฉลยกิจกรรมท่ี 1.1 เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก ส่วนท่ี 1 และ ส่วนท่ี 2 2.14 ใบเฉลยกจิ กรรมที่ 1.2 เร่ือง สญั ลักษณท์ ใี่ ชแ้ ทนในการศกึ ษาอตั ราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี 2.15 ใบเฉลยกิจกรรมที่ 1.3 เรือ่ ง รเู้ ฟอ่ื งเร่ืองของกราฟ 2.16 ใบเฉลยกจิ กรรมท่ี 1.4 เรอื่ ง การคานวณอตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมแี ตล่ ะประเภท 2.17 ใบเฉลยกิจกรรมที่ 1.5 เรื่อง การคานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจากความสัมพันธ์ของ สมการเคมี 2.18 ใบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ชดุ ที่ 1 เรอ่ื ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี 2.19 ใบเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ชดุ ท่ี 1 เรอ่ื ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี 3. การจัดชัน้ เรยี น ในการจดั ชัน้ เรยี นขณะที่ใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ชดุ ที่ 1 เรอ่ื ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมี นกั เรยี นจะทากจิ กรรมเป็นกลุ่ม กล่มุ ละ 5 - 6 คน จานวนกลุม่ ข้นึ อยู่กับจานวนนักเรยี นในชนั้ เรยี น เมื่อ ทากจิ กรรมเสร็จ นกั เรยี นต้องแยกออกจากกลุ่มและจดั หอ้ งทาแบบทดสอบหลังเรยี นเปน็ รายบุคคล แผนผงั การจัดชั้นเรียน โตะ๊ ครู กระดาน/โปรเจคเตอร์ กลุม่ ที่ 1 กลมุ่ ท่ี 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 กลุม่ ที่ 5 กลุ่มที่ 6 กลมุ่ ที่ 7 กล่มุ ท่ี 8 โต๊ะอุปกรณ์ 8
ชุดกิจกรรม ชดุ ท่ี 1 เร่อื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 9 4. การวัดผลประเมินผล 4.1 ดา้ นความรู้ - ประเมินจากใบกิจกรรมที่ 1.1 - ประเมนิ จากใบกจิ กรรมท่ี 1.2 - ประเมนิ จากใบกจิ กรรมท่ี 1.3 - ประเมินจากใบกิจกรรมท่ี 1.4 - ประเมนิ จากใบกิจกรรมท่ี 1.5 - ประเมนิ จากแบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลังเรยี น 4.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ - ประเมนิ พฤติกรรมการทางานกลุม่ - ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติการทดลอง 4.3 ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - ประเมินความใฝเ่ รียนรู้ - ประเมนิ ความม่งุ ม่นั ในการทางาน 4.4 ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน - ประเมินความสามารถในการสื่อสาร - ประเมินความสามารถในการคิด - ประเมินความสามารถในการแก้ปญั หา - ประเมินความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 9
ชุดกิจกรรม ชดุ ที่ 1 เรอ่ื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี 10 ชุดท่ี คาแนะนาการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรสู้ าหรบั นักเรยี น 1 1. คาช้แี จงของชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เอกสารเล่มนี้เป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เร่ือง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใช้เวลา 4 ชว่ั โมง ประกอบด้วยสอ่ื สาหรับชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ คอื 1.1 ใบคาสง่ั 1.2 แบบทดสอบกอ่ นเรียน ชดุ ท่ี 1 เร่ือง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี 1.3 ใบกจิ กรรมที่ 1.1 เร่อื ง ปฏกิ ิริยาระหว่างโลหะแมกนเี ซยี มกบั กรดไฮโดรคลอรกิ - ส่วนท่ี 1 ทาการทดลองปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก เขียนกราฟ และตอบคาถามทา้ ยการทดลอง ข้อ 1 – 3 1.4 ใบความรู้ ท่ี 1.1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี 1.5 ใบกิจกรรมที่ 1.2 เรือ่ ง สัญลกั ษณ์ท่ีใช้แทนในการศกึ ษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1.6 ใบกิจกรรมท่ี 1.3 เรื่อง ร้เู ฟอ่ื งเร่ืองของกราฟ 1.7 ใบความรู้ ที่ 1.2 เรอื่ ง ประเภทและการคานวณอัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี 1.8 ใบกจิ กรรมที่ 1.1 เรอ่ื ง ปฏกิ ริ ยิ าระหว่างโลหะแมกนเี ซยี มกบั กรดไฮโดรคลอริก - สว่ นท่ี 2 ศึกษาใบความรูท้ ี่ 1.1 และ 1.2 แลว้ ทากิจกรรมสว่ นท่ี 2 หน้า 31 1.9 ใบกจิ กรรมที่ 1.4 เร่อื ง การคานวณอตั ราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีแต่ละประเภท 1.10 ใบความรูท้ ่ี 1.3 เรอ่ื ง อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมีจากความสมั พันธข์ องสมการเคมี 1.11 ใบกิจกรรมที่ 1.5 เร่อื ง การคานวณอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมจี ากความสมั พันธ์ของสมการเคมี 1.12 แบบทดสอบหลังเรียน ชุดท่ี 1 เร่ือง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี 1.13 ใบเฉลยกิจกรรมที่ 1.1 เร่ือง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก ส่วนท่ี 1 และ สว่ นที่ 2 1.14 ใบเฉลยกจิ กรรมท่ี 1.2 เรื่อง สญั ลกั ษณ์ทใ่ี ชแ้ ทนในการศึกษาอัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี 1.15 ใบเฉลยกิจกรรมที่ 1.3 เรือ่ ง ร้เู ฟือ่ งเร่อื งของกราฟ 1.16 ใบเฉลยกจิ กรรมท่ี 1.4 เรอ่ื ง การคานวณอัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมีแตล่ ะประเภท 1.17 ใบเฉลยกิจกรรมท่ี 1.5 เร่ือง การคานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจากความสัมพันธ์ของสมการ เคมี 1.18 ใบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น ชุดท่ี 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี 1.19 ใบเฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น ชุดท่ี 1 เรื่อง ความหมายของอตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี 10
ชดุ กิจกรรม ชดุ ที่ 1 เร่ือง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 11 2. บทบาทของนักเรยี น 2.1 นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5 – 6 คน แต่ละกลุ่มประกอบด้วยนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน คละกนั เลือกหวั หน้า รองหัวหน้า เลขานกุ าร และแบ่งหนา้ ที่กาหนดบทบาทสมาชิกให้ชัดเจน หากมปี ัญหา ให้ปรกึ ษาครูผู้สอน 2.2 สมาชิกทุกคนตอ้ งมสี ่วนร่วม ชว่ ยเหลอื ซ่งึ กนั และกัน มีหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบร่วมกนั 2.3 ตั้งใจปฏบิ ัตกิ จิ กรรมอยา่ งเต็มความสามารถและรอบคอบ ไม่เล่นหรือรบกวนกลมุ่ อนื่ 2.4 ก่อนศึกษาชุดกิจกรรม ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 15 นาที ลง ในกระดาษคาตอบ 2.5 เมอ่ื ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นเรียบร้อยแล้ว รองหัวหน้ากลมุ่ รวบรวมกระดาษคาตอบสง่ ครูผสู้ อน 2.6 นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏบิ ัติตามลาดับข้นั ตอนของใบคาสั่งและใบกจิ กรรม 2.7 เม่อื นกั เรยี นทากจิ กรรมเสรจ็ ทุกข้ันตอนแลว้ นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี นจานวน 10 ข้อ ใช้ เวลา 15 นาที ลงในกระดาษคาตอบ 2.8 ตรวจคาตอบของแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน และใบกิจกรรม สรุปผลคะแนนท่ีได้ลงใน กระดาษคาตอบ เพ่ือทราบผลการเรียน และบันทึกเป็นคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนนผลการใช้ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ชดุ ท่ี 1 เรอ่ื ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี 2.9 หลังการศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดท่ี 1 เร่ือง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เรียบร้อยแล้วใหห้ ัวหน้ากลมุ่ รวบรวมชดุ กจิ กรรมการเรียนรสู้ ่งคืนครูผสู้ อน 11
ชดุ กิจกรรม ชดุ ที่ 1 เร่อื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี 12 12
ชุดกิจกรรม ชดุ ท่ี 1 เร่อื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 13 ชดุ ที่ ใบคาส่งั 1 ให้นกั เรียนปฏบิ ัตติ ามลาดับขนั้ ตอน ดงั ต่อไปนี้ 1. หัวหนา้ กลุม่ รับชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดที่ 1 เรอื่ ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี 2. หัวหนา้ กลมุ่ แบง่ หนา้ ที่รบั ผดิ ชอบภายในกลุ่ม 3. รองหัวหน้ากลุ่มแจกแบบทดสอบกอ่ นเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอตั ราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี 4. นักเรียนทุกคนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เร่ือง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จานวน 10 ข้อ ใชเ้ วลา 15 นาที 5. รองหวั หนา้ กลุ่มรวบรวมแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและกระดาษคาตอบสง่ ครูผ้สู อน 6. เลขานุการกลุ่มแจกใบกิจกรรมที่ 1.1 เร่ือง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก สว่ นที่ 1 ให้กบั สมาชิกภายในกล่มุ 7. สมาชกิ ในกลุ่มร่วมกันศึกษาคาแนะนาก่อนการทดลองและวธิ กี ารทดลองตามใบกจิ กรรมท่ี 1.1 8. สมาชิกในกลมุ่ จัดเตรียมอปุ กรณ์และสารเคมีตามใบกิจกรรมท่ี 1.1 9. สมาชิกในกลมุ่ รว่ มกนั ทากิจกรรมที่ 1.1 ส่วนที่ 1 ที่ระบไุ วต้ ามลาดบั ขน้ั ตอน 10. สมาชิกช่วยกนั ล้างและเก็บอุปกรณ์การทดลองใหเ้ รยี บร้อย 11. เลขานุการกลุ่มแจกใบความรู้ท่ี 1.1 เร่ือง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ให้กับสมาชิก ภายในกลุม่ เพอ่ื รว่ มกนั ศกึ ษา 12. เลขานุการกลุ่มแจกใบกิจกรรมท่ี 1.2 เรื่อง สัญลักษณ์ท่ีใช้แทนในการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมี 13. สมาชิกในกลมุ่ รว่ มกนั ทากิจกรรมที่ 1.2 ท่รี ะบุไวต้ ามลาดบั ขัน้ ตอน 14. เลขานุการกลุ่มแจกใบกจิ กรรมท่ี 1.3 เรอ่ื ง ร้เู ฟื่องเร่ืองของกราฟ 15. สมาชิกในกลมุ่ แต่ละคน ทากิจกรรมท่ี 1.3 ที่ระบุไว้ตามลาดับข้ันตอน 16. เลขานุการกลุ่มแจกใบความรู้ท่ี 1.2 เรื่อง ประเภทและการคานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ให้กับ สมาชกิ ภายในกลมุ่ เพื่อรว่ มกนั ศึกษา 17. เลขานุการกลุ่มแจกใบกิจกรรมที่ 1.1 เร่ือง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก สว่ นท่ี 2 ให้กับสมาชิกภายในกลมุ่ 18. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันทากิจกรรมที่ 1.1 ส่วนที่ 2 ท่ีระบุไว้ตามลาดับข้ันตอน แล้วร่วมกันอภิปราย และสรปุ ผลการทดลอง 19. เลขานุการกลุม่ แจกใบกิจกรรมท่ี 1.4 เรอ่ื ง การคานวณอตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีแต่ละประเภท 13
ชดุ กิจกรรม ชดุ ที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี 14 20. สมาชิกในกลุม่ แตล่ ะคน ทากจิ กรรมท่ี 1.4 ทีร่ ะบไุ วต้ ามลาดบั ขั้นตอน 21. เลขานกุ ารกลุ่มแจกใบความรู้ท่ี 1.3 เรอื่ ง อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมีจากความสัมพันธ์ของสมการเคมี ใหก้ บั สมาชิกภายในกลุ่มเพื่อร่วมกันศกึ ษา 22. เลขานุการกลุ่มแจกใบกิจกรรมท่ี 1.5 เรื่อง การคานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจากความสัมพันธ์ ของสมการเคมี 23. สมาชกิ ในกลมุ่ แต่ละคน ทากจิ กรรมที่ 1.5 ทรี่ ะบุไว้ตามลาดบั ขัน้ ตอน 24. สมาชิกทุกคนตรวจคาตอบของใบกิจกรรมที่ 1.1 – 1.5 โดยดูเกณฑ์การให้คะแนนในภาคผนวก แล้ว บนั ทกึ คะแนนทไี่ ดล้ งในกระดาษคาตอบ 25. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว นักเรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ท่ีได้จาก ใบความรู้ท่ี 1.1 – 1.3 และจากการทากิจกรรมท่ี 1.1 – 1.5 นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงความหมาย ของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อภิปรายกราฟท่ีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสารกับเวลา รวมทั้งอภิปรายความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับอัตราการเพ่ิมข้ึนหรือลดลงของ สารตา่ งๆ ในปฏกิ ิรยิ าเคมจี ากสมการท่ดี ุลแลว้ ได้ 26. นักเรียนทกุ คนจัดโตะ๊ เพอื่ ทาแบบทดสอบหลังเรยี นเปน็ รายบุคคล 27. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน ชุดท่ี 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จานวน 10 ข้อ ใชเ้ วลา 15 นาที 28. ตรวจคาตอบของแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรยี นพร้อมทัง้ สรปุ คะแนนท่ีได้ลงในกระดาษคาตอบ 29. บันทึกคะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ใบกิจกรรมที่ 1.1 – 1.5 ลงในแบบบันทึก คะแนนผลการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดท่ี 1 เรอ่ื ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี 14
ชุดกิจกรรม ชดุ ท่ี 1 เร่ือง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี 15 แบบทดสอบก่อนเรยี น ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่ี 1 ความหมายของอตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 คาสั่ง 1. แบบทดสอบมจี านวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน รวมท้งั หมด 10 คะแนน ใช้เวลา 15 นาที 2. ใหน้ ักเรยี นเลอื กคาตอบทีถ่ กู ท่ีสดุ เพยี งคาตอบเดยี ว และทาเครือ่ งหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. พิจารณาขอ้ ความตอ่ ไปนี้ อัตราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมหี าได้จากความสมั พนั ธ์ 1) ปริมาณสารต้ังต้นท่เี หลืออย่ตู อ่ เวลาในการดาเนินปฏิกิริยาเคมี 2) ปริมาณสารต้งั ต้นทลี่ ดลงต่อหนงึ่ หน่วยเวลา 3) ปรมิ าณสารผลติ ภัณฑ์ทเี่ กิดขนึ้ ตอ่ หน่ึงหนว่ ยเวลา 4) ผลรวมของปริมาณสารท้งั หมดต่อหนงึ่ หน่วยเวลา ขอ้ ใดไม่ถูกต้อง ก. 1) และ 2) ข. 2) และ 3) ค. 3) และ 4) ง) 1) และ 4) 2. ขอ้ มลู การทดลองเผาสารในภาชนะปดิ มปี ฏิกริ ิยาเกดิ ขึ้นดังสมการ 2A2(g) + B2(g) → 2A2B(g) ได้ขอ้ มลู การทดลองดังน้ี เวลา (s) 0 10 25 55 80 110 1.6 ปรมิ าณ A2B (mol) 0 0.4 0.8 1.2 1.4 อตั ราการเกดิ แก๊ส A2B เฉล่ีย จากปฏิกิรยิ าน้ี มคี ่าเท่าใด ก. 1.00 x 10-2 mol/s ข. 1.25 x 10-2 mol/s ค. 1.45 x 10-2 mol/s ง. 1.65 x 10-2 mol/s 3. การทดลองปฏิกิริยาระหวา่ ง A กับ B ตามสมการ A(s) + 2B(aq) → X(aq) + Y(g) ได้ผลดังนี้ เวลา (s) 20 40 70 110 155 ปรมิ าตรของแกส๊ Y (cm3) 1 2 3 4 5 ผลสรปุ จากการทดลองนี้ข้อใดไม่ถกู ต้อง ก. อตั ราการเกิดของ Y เฉล่ียมีค่ามากกว่าอัตราการเกดิ ของ Y ที่ปริมาตรระหวา่ ง 1 – 2 cm3 ข. อตั ราการเกิดของ Y ท่ปี รมิ าตรระหว่าง 3 – 4 cm3 มีคา่ นอ้ ยกวา่ ทีป่ รมิ าตร 2 – 3 cm3 ค. อตั ราการเกดิ ของ Y ทีป่ ริมาตรระหว่าง 3 – 4 cm3 มคี า่ น้อยอตั ราการเกดิ ของ Y เฉล่ยี ง. อตั ราการเกดิ ของ Y เฉล่ีย มคี ่ามากกวา่ อัตราการเกิดของ Y ท่ีปริมาตรระหวา่ ง 4 – 5 cm3 15
ชดุ กิจกรรม ชุดท่ี 1 เรือ่ ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี 16 4. เมอื่ นาโลหะแมกนเี ซยี มทาปฏิกิรยิ ากับสารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ เกิดแกส๊ ไฮโดรเจน ดังสมการ Mg(s) + HCl(aq) → MgCl2(aq) + H2(g) จากการทดลองวดั ปรมิ าตรของแกส๊ ไฮโดรเจน (H2) ที่เกดิ ขึ้น ณ เวลาตา่ งๆ ไดข้ ้อมูลดังน้ี เวลา (s) 0 30 65 100 155 220 ปรมิ าตรแกส๊ H2 (cm3) 0 5 10 15 20 25 อตั ราการเกิดแก๊ส H2 ช่วงปรมิ าตร 5 – 10 cm3 และ ชว่ งปริมาตร 15 – 20 cm3 ตา่ งกนั กี่ cm3/s ก. 0.014 ข. 0.052 ค. 0.117 ง. 0.234 5. ในการผลิตแกส๊ แอมโมเนยี (NH3) เกิดปฏกิ ริ ิยา ดังสมการ N2(g) + 3H2(g) → 2NH3(g) ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งแก๊ส NH3 ที่เกดิ กับเวลาไดผ้ ลตามแผนภมู ิที่แสดงดงั นี้ ป ิรมาตรแก๊ส NH3 (cm3) เวลา (s) 4. อตั ราการเกดิ แก๊ส NH3 ณ วินาทีที่ 30 มีคา่ ประมาณก่ี cm3/s ก. 0.075 ข. 0.095 ค. 0.125 ง. 0.525 6. นาแผน่ อลูมเิ นยี มทาปฏิกิริยากับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ไดแ้ ก๊สไฮโดรเจนในตอนเริ่มต้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเกิดเร็ว และค่อยๆช้าลงตามลาดับ กราฟข้อใดแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างมวลของอลูมเิ นยี มกบั เวลาได้ถูกต้อง ก. ข. มวล Al (กรัม) มวล Al (กรัม) เวลา เวลา ค. ง. มวล Al (ก ัรม) มวล Al (ก ัรม) เวลา เวลา 16
ชดุ กิจกรรม ชุดที่ 1 เรอ่ื ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 17 7. เชอ้ื เพลิงสะอาดชนดิ หนง่ึ ท่สี ามารถใชใ้ นเครอื่ งยนต์ในอนาคตคอื 2H2 + O2 → 2H2O เมื่อความเข้มข้นของ O2 มีอัตราการลดลงเป็น 0.23 mol/dm3∙s อัตราการเพ่ิมข้ึนของ H2O จะเปน็ เทา่ ใด ก. 0.23 mol/dm3∙s ข. 0.46 mol/dm3∙s ค. 0.56 mol/dm3∙s ง. 0.64 mol/dm3∙s 8. อัตราการเกิด H2O เทา่ กับ 0.60 mol/s จากปฏิกิริยา 2O3(g) + 3N2H4(g) → 6H2O(l) + 3N2(g) อัตราการลดลงของแกส๊ O3 ควรเปน็ เทา่ ใด ข. 0.40 mol/s ก. 0.20 mol/s ค. 0.60 mol/s ง. 0.80 mol/s 9. จากปฏกิ ิริยาเคมี 2A + B → 1 C + D ขอ้ ใดถูกตอ้ ง 2 ก. อัตราการลดลงของ A = 4 เทา่ ของอัตราการเกิดของ C ข. อัตราการลดลงของ B = 2 เท่าของอตั ราการลดลงของ A ค. อตั ราการลดลงของ B = 1 เท่าของอตั ราการเกดิ ของ C 2 ง. อตั ราการลดลงของ A = อตั ราการเกิดของ D 10. ในการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีหน่ึงพบว่า อัตราการลดลงของสาร W มีค่าเท่ากับ 1 เท่า 2 ของอัตราการลดลงของสาร X และมคี า่ เทา่ กับ 3 เทา่ ของอัตราการเกดิ สาร Y และเท่ากับ 1 เท่า ของอัตราการเกดิ สาร Z สมการท่ีแสดงปฏกิ ริ ิยาเคมีดงั กลา่ วคือขอ้ ใด 4 ก. W + 2X → 1 Y + 4Z ข. W + 12 X → 3Y + 14 Z 2 ค. W + 2X → 13 Y + 4Z ง. W + X → 3 Y + 2Z 17
ชุดกิจกรรม ชุดท่ี 1 เร่อื ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี 18 กระดาษคาตอบ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่ือง แบบทดสอบก่อนเรียน ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี ชื่อ - สกุล..................................................................................................เลขท.ี่ ..............ชนั้ ม.5/....... วนั ท.ี่ ............. เดือน..............................พ.ศ.............. คาชีแ้ จง ให้นกั เรยี นเลอื กคาตอบในแบบทดสอบแล้วทาเคร่อื งหมาย X ลงในข้อที่ถกู ตอ้ งทีส่ ุด ข้อ ก ข ค ง คะแนนเต็ม 10 1. คะแนนทีไ่ ด้ 2. คิดเป็นร้อยละ 3. 4. ผลการประเมนิ 5. ดีมาก 6. ดี 7. พอใช้ 8. ปรับปรงุ 9. 10. ลงชื่อ...........................................ผู้ตรวจ (...............................................) เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ ดมี าก คะแนนรอ้ ยละ 80 ขึน้ ไป ผลการประเมินอยูใ่ นเกณฑ์ ดี คะแนนรอ้ ยละ 60 – 79 ผลการประเมนิ อยใู่ นเกณฑ์ พอใช้ คะแนนรอ้ ยละ 40 – 59 ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ ปรบั ปรุง คะแนนต่ากวา่ รอ้ ยละ 40 18
ชุดกิจกรรม ชดุ ที่ 1 เรอ่ื ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี 19 ชดุ ที่ 1 ชื่อ – สกุล ....................................................เลขที.่ ........ชัน้ ม.5/ ........ คะแนนเตม็ 14 วันที่ ........... เดอื น ................................................... พ.ศ. ................. คะแนนท่ไี ด้ คิดเป็นร้อยละ คาช้แี จง ใบกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่ี 1.1 เร่ือง ปฏกิ ริ ิยาระหวา่ งโลหะแมกนีเซยี มกบั กรดไฮโดรคลอริก ประกอบดว้ ย 2 สว่ น ส่วนท่ี 1 ทาการทดลองปฏกิ ิรยิ าระหว่างโลหะแมกนเี ซียมกบั กรดไฮโดรคลอรกิ เขยี นกราฟ และตอบ สว่ นที่ 2 คาถามท้ายการทดลอง ข้อ 1 – 3 ศกึ ษาใบความรู้ที่ 1.1 และ 1.2 แลว้ ทากิจกรรมสว่ นท่ี 2 หน้า 30 คาแนะนาก่อนการทดลอง 1. ขัดลวดแมกนเี ซยี มดว้ ยกระดาษทราย เพื่อกาจดั สารประกอบออกไซดท์ ่ีเคลือบผวิ ออกให้หมด แลว้ ล้างลวดแมกนเี ซยี มให้สะอาดและเชด็ ใหแ้ ห้ง 2. ใหเ้ ร่ิมจับเวลาเมื่อปรมิ าตรของสารละลายในกระบอกตวงอย่ทู ่ขี ีดแรก ซึง่ ถือว่าเปน็ จุดเร่มิ ตน้ 3. ขณะอ่านปริมาตรของแก๊ส สายตาของผู้อ่านจะต้องอยู่ในระดับเดียวกับขีดท่ีอ่านและต้องจับเวลา อย่างต่อเนอื่ งกนั จนถงึ ขดี กอ่ นท่ีแมกนเี ซียมจะโผลพ่ น้ สารละลายกรด 4. ใหน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ แบง่ หนา้ ท่ใี นการสังเกต จบั เวลา และบนั ทึกขอ้ มูล 5. ในกรณีที่ทาการทดลองซ้า จะต้องล้างกระบอกตวงด้วยสารละลายกรดไฮโดรคลอริกประมาณ 3 - 5 cm3 หรือเช็ดภายในกระบอกตวงให้แห้ง เพื่อใหค้ วามเขม้ ข้นของสารละลายกรดไม่เปลี่ยนแปลง อ่านคาแนะนาเขา้ ใจแล้ว ไปศึกษาวิธกี ารทดลองได้เลยค่ะ 19
ชุดกิจกรรม ชุดท่ี 1 เร่อื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี 20 การทดลอง ปฏกิ ริ ยิ าระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก ส่วนท่ี 1 สมาชิกในกลมุ่ 1. ช่อื ………………………………………………………………………………….ชน้ั .................. เลขที่ ............. 2. ชื่อ………………………………………………………………………………….ชน้ั .................. เลขท่ี ............. 3. ชือ่ ………………………………………………………………………………….ชน้ั .................. เลขที่ ............. 4. ช่ือ………………………………………………………………………………….ชั้น .................. เลขท่ี ............. 5. ชื่อ………………………………………………………………………………….ชั้น .................. เลขที่ ............. จุดประสงค์การทดลอง 1. ทาการทดลองเพ่ือศึกษาการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าระหว่างโลหะแมกนเี ซยี มกับกรดไฮโดรคลอริกได้ 2. เขยี นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแกส๊ ไฮโดรเจนกบั เวลาและแปลผลจากกราฟได้ 3. อธิบายการเกดิ ปฏิกริ ิยาระหวา่ งโลหะแมกนเี ซียมกับกรดไฮโดรคลอรกิ ในชว่ งเวลาตา่ งๆ ได้ สารเคมี และอปุ กรณ์ รายการ จานวน ตอ่ 1 กลุม่ สารเคมี 1 ช้นิ 1. โลหะแมกนีเซยี ม 20 cm3 2. สารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ เขม้ ขน้ 0.2 mol/dm3 อุปกรณ์ 1 ใบ 1. กระบอกตวง ขนาด 10 cm3 1 ใบ 2. บีกเกอร์ ขนาด 100 cm3 1 อัน 3. จุกคอรก์ หรือจุกยางสาหรับปิดกระบอกตวง 1 เครือ่ ง 4. นาฬิกาจบั เวลา 1 ชน้ิ 5. กระดาษทราย ขนาด 3 cm x 3 cm 1 ใบ 6. ใบมีดโกน 20
ชดุ กิจกรรม ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี 21 วิธกี ารทดลอง 1. ใสส่ ารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ 0.2 mol/dm3 ลงในกระบอกตวงขนาด 10 cm3 จนเตม็ 2. นาจุกคอร์กขนาดพอดีกับปากกระบอกตวงมาบากด้านข้างตามแนวยาวให้เป็นร่องเล็กๆ เพื่อ ให้ของเหลวไหลออกมา และกรีดกลางจุกคอรก์ ให้เป็นแนวเลก็ ๆ สาหรับเสยี บลวดแมกนีเซียม 3. นาลวดแมกนเี ซยี มท่ีขดั สะอาดแลว้ ยาวประมาณ 10 cm มาขดให้คลา้ ยสปริงและเสียบทจ่ี ุกคอร์กตรง รอยกรดี แล้วนามาปดิ ปากกระบอกตวง 4. คว่ากระบอกตวงลงในบีกเกอรข์ นาด 100 cm3 ซง่ึ ใสน่ ้าไว้ประมาณ 50 cm3 ดงั ภาพ 5. จับเวลาเมื่อของเหลวในกระบอกตวงอยู่ท่ีขีดแรก และทุกระยะที่ของเหลวลดลง 1 cm3 จนถึงขีด กอ่ นทลี่ วดแมกนีเซยี มจะโผล่พ้นสารละลาย บันทกึ ผลการทดลอง ทมี่ า : http://vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1437 บนั ทกึ ผลการทดลอง 1. จบั เวลาการเกดิ แกส๊ ไฮโดรเจนทุกๆ 1 cm3 ไดด้ ังน้ี ปริมาตรแกส๊ ไฮโดรเจน (cm3) คร้ังท่ี 1 เวลา เฉลีย่ ครง้ั ท่ี 2 คร้ังที่ 3 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 21
ชดุ กิจกรรม ชดุ ที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี 22 2. กราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างปรมิ าตรของแก๊สไฮโดรเจนกบั เวลา เป็นดังนี้ ตดิ กระดาษกราฟ คาถามท้ายการทดลอง 1. การเกิดแกส๊ ไฮโดรเจนในแต่ละชว่ งปริมาตรใช้เวลาเท่ากนั หรือไม่ อย่างไร (2 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนกับเวลา จงอธิบายการเกิดปฏิกิริยา ระหว่างโลหะแมกนเี ซยี มกบั กรดไฮโดรคลอริก (2 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. มีวิธีการใดอีกบ้างท่ีใช้วัดปริมาณสารในปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก (2 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 22
ชุดกิจกรรม ชดุ ท่ี 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี 23 ชดุ ท่ี 1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (rate of chemical reaction) หมายถึง ปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลง หรือปรมิ าณสารผลติ ภณั ฑ์ท่ีเกดิ ข้นึ ใหมใ่ นหนึง่ หน่วยเวลา เขียนในรูปความสมั พันธไ์ ด้ดังน้ี อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีของสาร = ปริมาณสารท่ีเปลย่ี นแปลงไป เวลาทใี่ ช้ในการเปลย่ี นแปลงของสาร อตั ราการลดลงของสารตั้งต้น = ปริมาณสารตง้ั ตน้ ที่ลดลง เวลาทใ่ี ชใ้ นการเปลี่ยนแปลงของสาร อัตราการเพิ่มข้ึนของสารผลติ ภณั ฑ์ = ปรมิ าณสารผลติ ภัณฑ์ทเ่ี พ่ิมขน้ึ เวลาท่ใี ชใ้ นการเปล่ียนแปลงของสาร สาหรับปฏิกริ ิยาเคมใี ดๆ เชน่ สาร A สลายตัวเกิดเปน็ สาร B เขียนสมการแสดงความสัมพันธ์ได้ดงั นี้ A → B ในการหาอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมีเพื่อให้ทราบว่าปฏิกิริยานี้เกิดขึ้น ชา้ หรือเรว็ เพยี งใด สามารถเขยี นแสดงความสมั พันธไ์ ด้ดงั น้ี อัตราการลดลงของสาร A = ปริมาณของสาร A ท่เี ปลี่ยนแปลงไป ∆ ระยะเวลาทเี่ กิดการเปล่ยี นแปลง ∆[A] อตั ราการลดลงของสาร A = - ∆t ปริมาณของสาร B ท่เี ปล่ียนแปลงไป อัตราการเพ่มิ ข้ึนของสาร B = ระยะเวลาท่ีเกดิ การเปลีย่ นแปลง ∆[B] อตั ราการเพิม่ ข้ึนของสาร B = + ∆t - 23
ชดุ กิจกรรม ชดุ ที่ 1 เร่ือง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี 24 การวัดปรมิ าณสารตงั้ ต้นท่ีลดลงหรือปริมาณสารผลติ ภณั ฑท์ ี่เกดิ ขึ้น จะวัดจากสารชนิดใดในปฏิกิริยาก็ได้ สามารถทาได้หลายวิธีขึน้ อยู่กบั ลักษณะของสารและความสะดวก เชน่ ของแขง็ ใช้การช่ังมวล แก๊ส ใชก้ ารวดั ปริมาตร สารละลาย ใชก้ ารวดั ความเขม้ ขน้ หรอื หาจานวนโมล ใช้ได้กับสารทุกสถานะ เวลาอาจวดั เปน็ วนิ าที, นาที หรือชัว่ โมง ทงั้ นีข้ ้นึ อยู่กบั วา่ ปฏกิ ิรยิ าเกิดเรว็ หรือชา้ เพียงใด กราฟแสดงอตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี แบ่งเป็น 2 ลักษณะ ดังน้ี 1. กราฟแสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าณสารต้ังตน้ กับเวลา 2. กราฟแสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างปรมิ าณสารผลิตภณั ฑก์ ับเวลา ตวั อย่างสมการ A + 2B → 2C + D ปริมาณสาร C ปริมาณสาร D A B เวลา เวลา ภาพที่ 2 กราฟแสดงความสัมพนั ธ์ ระหว่างปรมิ าณสารผลิตภัณฑ์กับเวลา ภาพท่ี 1 กราฟแสดงความสัมพนั ธ์ ระหว่างปรมิ าณสารต้ังต้นกบั เวลา ชว่ งเรม่ิ ตน้ กราฟมคี วามชนั มาก เพราะสารตง้ั ตน้ มี ปรมิ าณมากปฏกิ ริ ยิ าเกดิ ได้เร็ว จงึ ทาใหเ้ กดิ ชว่ งเริม่ ต้นกราฟมีความชนั มาก เพราะสารตง้ั ตน้ ผลติ ภัณฑม์ ากด้วย เม่อื เวลาผ่านไปสารต้ังตน้ มีปรมิ าณมาก ปฏิกิรยิ าเกดิ ไดเ้ ร็ว เมอื่ เวลาผา่ น ลดนอ้ ยลง ทาปฏิกิริยากนั ไดน้ ้อยลง จงึ เกิด ไปความชนั ลดลงเพราะสารต้งั ตน้ เหลอื น้อย ผลิตภณั ฑน์ ้อยลง สาร B ลดลงเรว็ กว่าสาร A เพราะเขา้ ทา สาร D เพิ่มขนึ้ เร็วกว่าสาร C เพราะเกิดขน้ึ ได้ ปฏิกิรยิ าไดเ้ ปน็ 2 เท่าของสาร A (ดูจากเลข มากกวา่ สาร C (ดจู ากเลขที่ดุล) จงึ มีความชนั ทด่ี ลุ ) จงึ มีความชนั มากกวา่ มากกวา่ 24
ชดุ กิจกรรม ชุดที่ 1 เรือ่ ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี 25 ชดุ ที่ คะแนนเต็ม 6 1 คะแนนท่ีได้ คิดเปน็ รอ้ ยละ คาชแี้ จง ใบกิจกรรมท่ี 1.2 ประกอบดว้ ย 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ใหน้ กั เรียนโยงเส้นตรงจบั คูส่ ัญลักษณ์ท่ีใชใ้ นการศึกษาเร่อื งอตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีให้ถูกต้อง (2คะแนน) ส่วนที่ 2 ใหน้ ักเรยี นนาสัญลกั ษณ์ไปเขียนความสัมพนั ธ์ระหว่างปริมาณสารกับเวลาให้ถูกตอ้ ง (4 คะแนน) ส่วนท่ี 1 [] ระยะเวลาทเ่ี กิดปฏกิ ิริยา ∆ อัตราการเพิ่มขึ้นของผลติ ภัณฑ์ t อัตราการลดลงของสารตงั้ ต้น เครื่องหมาย + การเปลย่ี นแปลง เครอ่ื งหมาย – ความเขม้ ข้นของสาร หรอื ปรมิ าณของสาร ส่วนที่ 2 → 1. (2 คะแนน) 2. (2 คะแนน) 25
ชดุ กิจกรรม ชดุ ที่ 1 เรอื่ ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี 26 ชุดท่ี คะแนนเต็ม 8 1 คะแนนท่ไี ด้ คิดเปน็ ร้อยละ ให้นกั เรยี นเขียนกราฟแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปริมาณของสารที่เปลีย่ นแปลงกบั เวลา ของปฏิกริ ิยา ท่ีกาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมท้งั ระบกุ ารวัดปริมาณสารแต่ละชนิด CaCO3(s) + HCl(aq) → CaCl2(aq) + H2O(l) + CO2(g) 1. (2 คะแนน) CaCO3 2. (2 คะแนน) CaCl2 ปรมิ าณของ CaCO3 ทเ่ี ปลีย่ นแปลง เพิม่ ขน้ึ ลดลง เพราะ........... ปรมิ าณของ CaCl2 ทเ่ี ปลย่ี นแปลง เพ่ิมขนึ้ ลดลง เพราะ............ วดั ปรมิ าณของ CaCO3 ได้โดย..........................เพราะ.......................... วดั ปรมิ าณของ CaCl2 ไดโ้ ดย...........................เพราะ............................ 3. (2 คะแนน) CO2 4. (2 คะแนน) HCl ปรมิ าณของ CO2 ที่เปล่ียนแปลง เพ่มิ ขนึ้ ลดลง เพราะ............. ปริมาณของ HCl ที่เปลี่ยนแปลง เพิม่ ขนึ้ ลดลง เพราะ............. วัดปรมิ าณของ CO2 ได้โดย...........................เพราะ............................ วัดปรมิ าณของ HCl ไดโ้ ดย...........................เพราะ............................ 26
ชดุ กิจกรรม ชดุ ที่ 1 เรอื่ ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี 27 ชุดท่ี 1 อัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมสี ามารถบอกได้ 3 ประเภท คอื 1. อตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมเี ฉล่ยี 2. อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง 3. อัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี ณ จุดใดจดุ หนึ่งของเวลา หมายถึง อัตราการเกิดปฏิกิริยาท่ีคิดจากปริมาณสารต้ังต้นท่ี ลดลงหรอื ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดขึ้นตั้งแต่เริ่มต้นปฏิกิริยาจนส้ินสุดการเกิดปฏิกริ ิยาหรือสน้ิ สุดการ ทดลองในหนึ่งหน่วยเวลา อัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมีเฉล่ยี = ปรมิ าณสารท่ีเปลีย่ นแปลงทัง้ หมด เวลาที่ใช้ทง้ั หมด สาร X สลายตวั ใหส้ าร Y ทีเ่ กิดขน้ึ ท้ังหมด ดังสมการ X → Y วดั ปรมิ าณสาร Y ตัวอย่างท่ี 1 ตงั้ แต่เรม่ิ ต้นจนสนิ้ สดุ ปฏิกิรยิ าไดข้ ้อมูลดังนี้ เวลา (วินาที) 0 12345 จานวนโมลของสาร Y (โมล) 0 5 10 13 14 15 จงคานวณหาอัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมีเฉลย่ี ปรมิ าณสาร Y ทเี่ กดิ ข้นึ ทั้งหมด วิธีทา อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมเี ฉล่ีย = เวลาท่ใี ช้ทัง้ หมด = ∆[Y] ∆t = (15 – 0) โมล = 5 โมล/วนิ าที (5 – 0) วนิ าที ดงั น้ัน อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมเี ฉลี่ยมคี า่ เทา่ กบั 5 โมล/วินาที 27
ชดุ กิจกรรม ชดุ ท่ี 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 28 หมายถึง อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือ ณ เวลาใดเวลาหนึง่ อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาน้มี ไี ด้หลายค่า ทีเ่ วลาต่างกนั จะมี ค่าไม่เท่ากัน คือ ตอนเริ่มต้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะมีค่ามาก เมื่อปฏิกิริยาดาเนินไปอัตราการ เกิดปฏกิ ริ ยิ าจะลดลงตามลาดับ เพราะปรมิ าณสารต้ังตน้ ลดลง อตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี ณ ช่วงเวลาใดเวลาหน่งึ = ปริมาณสารที่เปล่ียนแปลง ณ ชว่ งเวลาขณะนน้ั เวลาทใ่ี ช้ในการทาปฏิกริ ิยาชว่ งน้นั จากการทดลองหาอตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าระหว่างสาร A กับสาร B ตามสมการ ตวั อย่างที่ 2 2A(g) + B(aq) → C(aq) วดั ปรมิ าณ C ต้ังแต่เรม่ิ ตน้ จนสิ้นสุดปฏกิ ริ ิยา ดังนี้ เวลา (s) 5 10 15 20 25 30 ความเข้มขน้ C (mol/dm3) 10 15 20 23 24 26 จงหาอัตราการเกิดปฏิกิรยิ า ณ ช่วงเวลา 5 ถึง 10 วินาที วธิ ีทา อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี ณ ช่วงเวลา 5 – 10 วินาที = ปรมิ าณสาร C ที่เกดิ ข้ึนช่วง 5 – 10 วนิ าที เวลาทีใ่ ช้ในการทาปฏกิ ริ ิยาชว่ งนั้น [C]∆ (5 – 10 s) = t∆ (5 – 10 s) = (15 – 10) mol/dm3 (10 – 5) s = 5 mol/dm3 5s = 1 mol/dm3 ∙s ดังน้นั อัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ า ณ ช่วงเวลา 5 ถึง 10 วนิ าที มีคา่ เท่ากบั 1 mol/dm3 ∙s 28
ชุดกิจกรรม ชุดท่ี 1 เร่อื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี 29 หมายถงึ อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยา ท่ี คิดจากการเปล่ียนแปลงของสารต้ังต้นที่ลดลงหรือสารผลิตภัณฑ์ท่ีเพ่ิมข้ึน ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง ซ่ึง สามารถหาไดจ้ ากความชันของกราฟที่แสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าณของสารทีเ่ ปล่ยี นแปลงกับเวลา การทดลองหาอตั ราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าระหว่างสาร Zn กบั สารละลายกรด HCl ตัวอยา่ งที่ 3 ดังปฏิกิริยา Zn(s) + 2HCl(aq) ZnCl2(aq) + H2(g) นาขอ้ มูลมาเขียน กราฟแสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งปริมาตรของแก๊ส H2 กบั เวลา ได้กราฟดังนี้ 6 ปริมาตรแ ๊กส H2 (cm3) 5 4 ∆[H2] 3 2 ∆t 1 0 เวลา (s) 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 จงหาอตั ราการเกิดแก๊ส H2 ณ วนิ าทีที่ 50 = ∆[H2] วิธีทา อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี ณ วนิ าทีท่ี 50 ∆t (4.3 – 3) cm3 = (60 – 35) s = 1.3 cm3 = 0.052 cm3/s 25 s ดงั นน้ั อตั ราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาทที ่ี 50 มีค่าเท่ากบั 0.052 ลูกบาศก์เซนติเมตร/วนิ าที นักเรียนสามารถศึกษาเพ่ิมเติมจากคลิปวิดีโอ การหาอตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีได้จากการสแกน QR Code น้ี ทีม่ า : https://www.youtube.com/watch?v=zi0iRJcbOAE 29
ชดุ กิจกรรม ชดุ ที่ 1 เรือ่ ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี 30 4. จากผลการทดลองในสว่ นที่ 1 ให้นักเรียนแสดงวิธีคานวณหาอัตราการเกดิ แกส๊ ไฮโดรเจน สว่ นท่ี 2 ณ ชว่ งเวลาต่างๆ ดงั น้ี 4.1 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ชว่ งเวลา 1 – 2 cm3 (2 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.2 อัตราการเกิดแกส๊ ไฮโดรเจน ณ ช่วงเวลา 4 – 5 cm3 (2 คะแนน) .………………………………………………………………………………………………………………………………………. .………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.3 อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ณ ชว่ งเวลา 8 – 9 cm3 (2 คะแนน) .………………………………………………………………………………………………………………………………………. .………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.4 อัตราการเกดิ แก๊สไฮโดรเจนเฉล่ยี (2 คะแนน) .………………………………………………………………………………………………………………………………………. .………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. อภปิ รายและสรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 30
ชุดกิจกรรม ชดุ ท่ี 1 เรอื่ ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 31 ชุดท่ี คะแนนเต็ม 20 1 คะแนนท่ีได้ คดิ เป็นร้อยละ ใหน้ ักเรยี นแสดงวธิ กี ารคานวณหาอตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยา และตอบคาถามต่อไปน้ี 1. นาน้ายาลา้ งห้องน้า ซงึ่ มี HCl เข้มขน้ 10 %w/v ทาปฏิกิริยากับ CaCO3 เมื่อใชน้ ้ายาลา้ งห้องนา้ 50 cm3 ใชเ้ วลา 10 วนิ าที พบวา่ เกิดแก็ส CO2 และวัดปรมิ าตรแก๊ส CO2 ทีเ่ กิดขนึ้ ไดผ้ ลดงั แสดงในตาราง เวลา (s) ปริมาตร CO2 (cm3) 1.1 1.1 จงหาอตั ราการเกิดแก๊ส CO2 เฉล่ีย (2 คะแนน) 0 0.00 ................................................................................... 2 0.70 ................................................................................... 4 1.10 ................................................................................... 6 1.25 ................................................................................... 8 1.35 ................................................................................... 10 1.38 ................................................................................... 1.2 1.2 จงหาอตั ราการเกิดแกส๊ CO2 ชว่ ง 2 – 4 วนิ าที 1.3 1.3 จงหาอัตราการเกิดแกส๊ CO2 ชว่ ง 6 – 8 วนิ าที (2 คะแนน) (2 คะแนน) ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ 1.4 1.4 จงหาอตั ราการเกดิ แก๊ส ณ วนิ าทีที่ 5 1.4.2 แสดงวิธหี าอตั ราการเกิดแกส๊ ณ วินาทีท่ี 5 1.4.1 เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร (2 คะแนน) แก๊ส CO2 กับเวลา (1 คะแนน) ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... 31
ชุดกิจกรรม ชุดที่ 1 เรอื่ ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี 32 2. ปฏิกริ ยิ าการสลายตัวของแก๊สไนโตรเจนเพนทอกไซด์ (N2O5) เม่อื อยใู่ นระบบปิดไดผ้ ลิตภณั ฑเ์ ปน็ แก๊สไนโตรเจนไดออกไซดซ์ ่ึงมีสนี ้าตาล กบั แกส๊ ออกซเิ จน ดังสมการ 2N2O5(g) 4NO2(g) + O2(g) เมอื่ วดั ความเข้มข้นของสารตั้งตน้ ท่ีเปล่ียนแปลงในชว่ งเวลาหนึ่ง ไดผ้ ลดังตาราง เวลา ความเข้มข้นของ N2O5 2.1 จงหาอตั ราการสลายตัวของแกส๊ N2O5 ช่วง 200 - 400 วนิ าที (s) (mol/dm3) (2 คะแนน) 0 0.0200 ........................................................................................................... 100 0.0169 ........................................................................................................... 200 0.0142 ........................................................................................................... 300 0.0120 2.2 จงหาอัตราการสลายตัวของแกส๊ N2O5 เฉลีย่ (2 คะแนน) 400 0.0101 ........................................................................................................... 500 0.0086 ........................................................................................................... ........................................................................................................... 2.3 จงหาอตั ราการสลายตัวของแ.ก...๊ส...N...2.O5 ณ วินาทีที่ 250 2.3.1 เขยี นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งปริมาตร 2.3.2 แสดงวธิ หี าอัตราการสลายตัวแกส๊ N2O5 แก๊ส N2O5 กับเวลา (1 คะแนน) ณ วนิ าทที ่ี 250 (2 คะแนน) …………………..……………….……………….……………............ …………………..……………….……………….……………............ …………………..……………….……………….……………............ …………………..……………….……………….……………............ …………………..……………….……………….……………............ …………………..……………….……………….……………............ 3. อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยา ณ ชว่ งเวลาต่างๆ แตกตา่ งกนั อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การหาอตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมีเฉล่ยี และอตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึง่ แตกต่างกนั อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 32
ชดุ กิจกรรม ชุดท่ี 1 เร่ือง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี 33 ชุดที่ 1 เมอื่ สาร A ลดลง 1 โมล สาร B จะลดลง 2 โมล เกดิ สาร C 1 โมล และ เกดิ สาร D 3 โมล สามารถเขียนแสดงความสมั พนั ธไ์ ด้ดังนี้ อตั ราการลดลงของสาร A 3 อัตราการลดลงของสาร B = 2 หรือ 1 (อัตราการลดลงของสาร A) = 1 (อัตราการลดลงของสาร B) 32 ในทานองเดียวกนั จะได้วา่ 1 1 1 3 1 (อัตราการลดของA) = 1 (อตั ราการลดของB) = (อตั ราการเพ่ิมของC) = (อตั ราการเพิ่มของD) 3 2 ดงั นัน้ จะหาอัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมไี ด้ อัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี = - 1 ∆[A] = - 1 ∆[B] = + 1 ∆[C] = + 1 ∆[D] 3 ∆t 2 ∆t 1 ∆t 3 ∆t เครอ่ื งหมาย + หมายถงึ อัตราการเพมิ่ ข้ึนของสารผลิตภณั ฑ์ เคร่อื งหมาย - หมายถึง อัตราการลดลงของสารตง้ั ตน้ 33
ชุดกิจกรรม ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 34 ตัวอยา่ งท่ี 4 การรวมตวั ของแก๊สไนโตรเจน และแก๊สไฮโดรเจน เปน็ ดังสมการ N2(g) + 3H2(g) → 2NH3(g) ถา้ อตั ราการลดลงของแก๊สไนโตรเจน เทา่ กับ 1.5 x 10-2 cm3/s จงหาอัตราการเกิดของแกส๊ แอมโมเนีย (NH3) วิธที า จากสมการจะไดค้ วามสัมพนั ธด์ งั น้ี อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี = 1 (อัตราการลดของ N2) = 1 (อตั ราการลดของ H2) = 1 (อตั ราการเกดิ ของ NH3) 1 3 2 หรอื อตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี = - 1 ∆[N2] = - 1 ∆[H2] =+ 1 ∆[NH3] 1 ∆t 3 ∆t 2 ∆t ดงั น้ัน 1 (อัตราการเกดิ ของ NH3) = 1 (อตั ราการลดของ N2) 2 1 แทนค่า 1 (อัตราการเกิดของ NH3) = 1 x 1.5 x 10-2 cm3/s 2 1 อตั ราการเกิดของ NH3 = 1 x 1.5 x 10-2 cm3/s x 2 1 อตั ราการเกดิ ของ NH3 = 3 x 10-2 cm3/s ดงั นนั้ อตั ราการเกิดของแกส๊ ไฮโดรเจน มคี า่ เท่ากับ 3 x 10-2 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร/วินาที ตัวอย่างที่ 5 ใขขนออปงงฏBCิกแเริ ทยิล่าาะกหอับนัตอึ่งรตัาพกรบาากรวเา่ากรอิดลัตดCรลางเกปขา็นอรงล1Aด2ลจเงทงขเา่อขขงยี อนAงสอเมัตปกร็นาารก13แาสรเดเทกง่าิดปขฏDอิกงถอริ า้ิยัตอารัตเาคกรมาาีทกรลา่ีเกรดิดเลกขงิด้ึน วธิ ีทา จากโจทยเ์ ขียนความสัมพนั ธ์ดงั น้ี 1 3 อัตราการลดลงของ A = อัตราการลดลงของ B อัตราการเกิดของ C = 1 อตั ราการเกดิ ของ D 2 อัตราการเกดิ ของ C = อตั ราการลดลงของ A อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี = อตั ราการลดลงของ A = 1 อตั ราการลดลงของ B = อัตราการเกดิ ของ C = 1 อัตราการเกิดของ D 3 2 หรอื อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี = - ∆[A] = - 1 ∆[B] = + ∆[C] = + 1 ∆[D] ∆t 3 ∆t ∆t 2 ∆t สมการคือ A + 3B → C + 2D 34
ชุดกิจกรรม ชดุ ที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี 35 ชดุ ท่ี คะแนนเต็ม 24 1 คะแนนท่ไี ด้ คิดเป็นร้อยละ ใหน้ ักเรยี นแสดงวธิ ีการคานวณหาอัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยา และตอบคาถามต่อไปน้ี 1. ปฏกิ ิรยิ าการรวมตวั กันระหว่างแกส๊ มีเทน (CH4) และไอน้า เกดิ ปฏกิ ิริยาดังสมการ CH4(g) + H2O(g) → 3H2(g) + CO(g) ถา้ เริม่ ตน้ มีแก๊สมีเทนอยู่ 100 โมล และไอน้าอยู่ 150 โมล ถา้ ปลอ่ ยใหป้ ฏิกิรยิ าดาเนินไปเปน็ เวลา 60 นาที ปรากฏว่ามแี ก๊สคารบ์ อนมอนอกไซด์ (CO) เกิดขน้ึ 60 โมล จงหา 1.1 เขยี นความสมั พนั ธ์ของอตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับอตั ราการเปลย่ี นแปลงของสารจากสมการเคมีที่กาหนด (2 คะแนน) อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี = == = 1.2 อตั ราการเกดิ ของ CO (2 คะแนน) 1.3 อตั ราการเกดิ ของ H2 (2 คะแนน) …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. 1.4 อัตราการลดลงของ CH4 (2 คะแนน) 1.5 อัตราการลดลงของ H2O (2 คะแนน) …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. 1.6 อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมเี ฉล่ยี (2 คะแนน) ………………………………………………………………….… ……………………………………………………………….…… …………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………. . 35
ชดุ กิจกรรม ชดุ ท่ี 1 เรือ่ ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี 36 2. ปฏิกิริยาการสลายตวั ของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) เปน็ ดงั น้ี 2H2O2(g) → 2H2O(g) + O2(g) ถ้าเริ่มตน้ มีไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ อยู่ 100 cm3 ปล่อยให้สลายตวั โดยใชค้ วามร้อนเป็นเวลา 20 วินาที พบวา่ เกิดแกส๊ ออกซิเจนขึ้น 50 cm3 จงหา 2.1 เขยี นความสมั พนั ธ์ของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกบั อัตราการเปลยี่ นแปลงของสารจากสมการเคมีท่ีกาหนด (2 คะแนน) อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี = = = 2.2 อัตราการเกดิ ของ O2 (2 คะแนน) 2.3 อัตราการเกดิ ของ H2O (2 คะแนน) …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. 2.4 อัตราการลดลงของ H2O2 (2 คะแนน) 2.5 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลย่ี (2 คะแนน) …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. …………………………………………………………………. 2.6 ใหน้ ักเรยี นเขยี นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งปริมาณสารกบั เวลา (2 คะแนน) 36
ชุดกิจกรรม ชุดท่ี 1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี 37 แบบทดสอบหลงั เรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรทู้ ่ี 1 ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 คาสงั่ 1. แบบทดสอบมีจานวน 10 ขอ้ ขอ้ ละ 1 คะแนน รวมทัง้ หมด 10 คะแนน ใชเ้ วลา 15 นาที 2. ให้นักเรยี นเลอื กคาตอบที่ถกู ท่สี ุดเพียงคาตอบเดยี ว และทาเคร่อื งหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. พจิ ารณาข้อความตอ่ ไปนี้ อัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมหี าไดจ้ ากความสัมพนั ธ์ 1) ปรมิ าณสารตั้งตน้ ทีล่ ดลงตอ่ หนึ่งหน่วยเวลา 2) ปริมาณสารผลิตภัณฑท์ เี่ กิดขึ้นต่อหนง่ึ หน่วยเวลา 3) ปรมิ าณสารตั้งตน้ ทีเ่ หลอื อยตู่ อ่ เวลาในการดาเนนิ ปฏิกิริยา 4) ผลรวมของปรมิ าณสารทงั้ หมดต่อเวลาในการดาเนินปฏกิ ิริยา ขอ้ ใดถกู ต้อง ก. 1) และ 2) ข. 2) และ 3) ค. 3) และ 4) ง. 1) และ 4) 2. จากปฏิกิริยา ดงั สมการ 2H2(g) + 2NO(g) → 2H2O(g) + N2(g) ผลการทดลอง ตามตารางดังน้ี เวลา(s) 0 12 25 50 90 125 ปริมาณ N2(g) ทว่ี ดั ได้ท่ี STP (cm3) 0.00 1.50 2.24 3.30 3.80 4.00 อัตราการเกดิ แกส๊ N2 เฉลย่ี จากปฏกิ ริ ิยาน้ีมีคา่ เท่าใด ก. 0.012 cm3/s ข. 0.022 cm3/s ค. 0.032 cm3/s ง. 0.042 cm3/s 3. จากการทดลองหาอัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าระหว่าง A กบั B ตามสมการ A(s) + 2B(aq) → X(aq) + Y(g) ได้ผลดังนี้ เวลา (s) 20 40 70 110 155 ปริมาตรของแกส๊ Y (cm3) 12345 ผลสรปุ จากการทดลองนขี้ ้อใดถกู ต้อง ก. อตั ราการเกดิ ของ Y ทป่ี รมิ าตรระหวา่ ง 4 – 5 cm3 มีค่าเทา่ กบั ท่ีปรมิ าตร 3 – 4 cm3 ข. อัตราการเกดิ ของ Y ทป่ี รมิ าตรระหว่าง 2 – 3 cm3 มีค่ามากกวา่ ท่ปี ริมาตร 3 – 4 cm3 ค. อัตราการเกิดของ Y เฉลี่ย มคี ่ามากกว่าอตั ราการเกดิ ของ Y ทปี่ ริมาตรระหว่าง 1 – 2 cm3 ง. อัตราการเกิดของ Y เฉล่ีย มีค่าน้อยกวา่ อตั ราการเกิดของ Y ท่ปี รมิ าตรระหว่าง 4 – 5 cm3 37
ชดุ กิจกรรม ชดุ ท่ี 1 เรอ่ื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี 38 4. จากการทดลองปฏิกริ ยิ าเคมหี นง่ึ ในภาชนะปิด เกดิ ปฏกิ ิรยิ าดงั สมการ A2(g) + 2B2(g) → 2AB2(g) จากการทดลองวดั ปรมิ าตรของแกส๊ AB2 ที่เกดิ ขึ้นได้ข้อมูลดงั น้ี เวลา (s) 0 10 25 55 80 110 ปรมิ าตรของแกส๊ AB2 (cm3) 0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 อัตราการเกิดแก๊ส AB2 ช่วงปริมาตร 0 – 0.4 cm3 และ ชว่ งปริมาตร 0.6 – 1.0 cm3 ต่างกันกี่ cm3/s ก. 0.003 ข. 0.005 ค. 0.007 ง. 0.009 5. เม่ือนาโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) มาทาปฏิกิริยากับกรดแอซิติก (CH3COOH) ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมวลของ NaHCO3 ท่เี กดิ กบั เวลาได้ผลตามแผนภูมทิ แ่ี สดง ดังนี้ 6. มวล NaHCO3 (g) เวลา (s) อตั ราการสลายตวั ของ NaHCO3 ณ วนิ าทที ่ี 40 มีค่าเท่าใด ก. 1.0 × 10-2 g/s ข. 4.0 × 10-2 g/s ค. 7.0 × 10-2 g/s ง. 9.0 × 10-2 g/s 38
ชุดกิจกรรม ชดุ ที่ 1 เร่อื ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี 39 6. เม่ือนาหินปูนมาทาปฏิกิริยากับสารละลาย HCl มากเกินพอ เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เม่ือนาเอาปริมาตรของแก๊ส CO2 มาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์กับเวลา จะได้กราฟที่มี รปู ลกั ษณะอย่างใด ปริมาตร CO2 (cm3) ข. ปริมาตร CO2 (cm3) ก. เวลา เวลาปริมาตร CO2 (cm3) ค. ง. ปริมาตร CO2 (cm3) เวลา เวลา 7. แก๊ส HI สลายตัวได้ตามสมการ 2HI(g) → H2(g) + I2(g) ถ้าอัตราการสลายตัวของแก๊ส HI เท่ากบั 2 mol/dm3·s อัตราการเกิดแก๊ส I2 จะเปน็ เทา่ ใด ก. 1.0 mol/dm3·s ข. 2.0 mol/dm3·s ค. 3.0 mol/dm3·s ง. 4.0 mol/dm3·s 8. การเผาไหม้ของแอมโมเนยี (NH3) ดังสมการ 4NH3(g) + 5O2(g) → 4NO(g) + 6H2O(g) ถา้ แอมโมเนียถูกเผาไหมด้ ้วยอตั ราเร็ว 0.24 mol/dm3·s จงหาอตั ราการเกิด H2O ก. 0.06 mol/dm3·s ข. 0.16 mol/dm3·s ค. 0.24 mol/dm3·s ง. 0.36 mol/dm3·s 9. จากปฏิกริ ยิ าระหว่าง H2(g) + 1 O2(g) → H2O(g) ขอ้ ใดไม่ถกู ต้อง 2 ก. อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี = 2เท่าของอตั ราการลดลงของแกส๊ O2 ข. อตั ราการลดลงของแกส๊ H2 = อตั ราการเกดิ ของ H2O ค. อตั ราการเกิดของ H2O = 12 เทา่ ของอตั ราการลดลงของแก๊ส O2 ง. อตั ราการลดลงของแกส๊ O2 = 1 เทา่ ของอัตราการลดลงของแกส๊ H2 2 10. จากการทดลองปฏิกริ ิยาหน่งึ พบวา่ อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเท่ากับ 1 เทา่ ของอตั ราการลดลงของ 2 สาร A และเท่ากับ 2 เทา่ ของอตั ราการลดลงของสาร B และเทา่ กบั 1 เท่าของอตั ราการเกิดของ 3 สาร C สมการท่ีใช้แสดงปฏกิ ริ ิยานคี้ อื ข้อใด 1 1 ก. 2A + B → 3C ข. 2 A + 2B → 3 C ค. 1 A+ 2B → 3C ง. 4A + B → 6C 2 39
ชุดกิจกรรม ชุดท่ี 1 เร่อื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี 40 กระดาษคาตอบ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่อื ง แบบทดสอบหลังเรียน ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี ช่อื - สกลุ ..................................................................................................เลขท่ี...............ชน้ั ม.5/....... วันท่ี.............. เดือน..............................พ.ศ.............. คาชีแ้ จง ให้นักเรียนเลือกคาตอบในแบบทดสอบแล้วทาเคร่อื งหมาย X ลงในขอ้ ทถี่ กู ต้องท่สี ุด ขอ้ ก ข ค ง คะแนนเต็ม 10 1. คะแนนท่ีได้ 2. คิดเป็นรอ้ ยละ 3. 4. ผลการประเมิน 5. ดีมาก 6. ดี 7. พอใช้ 8. ปรับปรุง 9. 10. ลงชื่อ...........................................ผู้ตรวจ (...............................................) เกณฑก์ ารประเมิน ผลการประเมินอยใู่ นเกณฑ์ ดีมาก คะแนนร้อยละ 80 ขึน้ ไป ผลการประเมินอยใู่ นเกณฑ์ ดี คะแนนรอ้ ยละ 60 – 79 ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ พอใช้ คะแนนร้อยละ 40 – 59 ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ ปรบั ปรุง คะแนนตา่ กว่าร้อยละ 40 40
ชดุ กิจกรรม ชดุ ท่ี 1 เรอ่ื ง ความหมายของอัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี 41 บรรณานุกรม นิพนธ์ ตงั คณานรุ ักษ์ และคณิตา ตังคณานุรักษ.์ (2544). เคมี ม.5 เล่ม3. กรงุ เทพฯ บริษัทสานกั พิมพ์แม็ค จากดั . โรจน์ฤทธิ์ โรจนธเนศ, จตุรงค์ สภุ าพพร้อม, วรวิทย์ บรรพจิตร และววิ ฒั น์ วชิรวงศก์ วนิ . (2547). หนงั สือเรียน สาระการเรียนร้เู พ่มิ เติม เคมี กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ตาม หลกั สตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์ บริษทั พฒั นาคุณภาพ วชิ าการ (พว.) จากดั . วรากร หริ ัญญาภนิ ันท.์ (2550). เทคนิคการเรยี นเคมี อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์. กรงุ เทพฯ: สานักพมิ พ์ฟิสกิ สเ์ ซ็นเตอร์. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2554). ค่มู อื รายวชิ าเพ่ิมเตมิ เคมี เลม่ 3 ช้นั มธั ยมศกึ ษา ปีท่ี 4 – 6 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรยี นรายวชิ าเพิ่มเติม เคมี เล่ม3 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 – 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. วรากร หิรัญญาภนิ ันท.์ (2550). เทคนิคการเรยี นเคมี อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์ฟิสกิ ส์เซน็ เตอร.์ 41
ชดุ กิจกรรม ชดุ ที่ 1 เร่อื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี 42 42
ชดุ กิจกรรม ชดุ ที่ 1 เร่อื ง ความหมายของอัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี 43 43
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: