Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนิเทศติดตามระบบประกันคุณภาพ ศธจ.แพร

คู่มือนิเทศติดตามระบบประกันคุณภาพ ศธจ.แพร

Published by tirachanitit.j, 2021-01-18 02:21:57

Description: คู่มือนิเทศติดตามระบบประกันคุณภาพ ศธจ.แพร

Search

Read the Text Version

๔๘ ว่าใคร (Who) คือ ใครรบั ผดิ ชอบ ใครเกยี่ วขอ้ ง ใครไดร้ ับผลกระทบ ในเรอ่ื งน้ันมีใครบ้างทาอะไร (What) คือ เราจะทาอะไร มีใครทาอะไรบ้างที่ไหน (Where) คือ สถานท่ีท่ีเราจะทาว่าจะทาที่ไหน เหตุการณ์หรือส่ิงที่ทาน้ันอยู่ที่ไหนเม่ือใด (When) คือ ระยะเวลาที่จะทาจนถึงส้ินสุด เหตุการณ์น้ันทาเม่ือวัน เดือน ปีใดทาไม (Why) คือ สิ่งที่เราจะทานั้น ทาด้วยเหตุผลใด เหตุใดจึงได้ทาสิ่งน้ัน และอย่างไร (How) คือ สิ่งท่ีเราต้องรู้ว่า เราจะสามารถทาทุกอย่างให้ บรรลุผลไดอ้ ย่างไร เหตกุ ารณห์ รอื สง่ิ ทท่ี านั้นทาอย่างไรบา้ ง หรอื อาจจะเป็น กระบวนการ PDCA คือ การวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน (DO) การตรวจสอบ (Check) และการปรับปรุงการดาเนินการอย่างเหมาะสม (Act) เป็นตน้ 3. ความเชอ่ื ถอื ได้ (Validity / Credibility) หมายถึง กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาท่ีเกิด จากผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้มาจากการใช้เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ที่หลากหลาย ใช้หลักฐานหรอื สารสนเทศเชงิ ประจกั ษ์ หรือมีข้อมูลจากหลายแหล่งในการตัดสินผลการดาเนินงาน ซึ่งรวมทั้งข้อมูลสารสนเทศหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ ที่อยู่ในระบบฐานข้อมูลท่ีง่ายแก่การตรวจสอบและข้อมูล ที่อาจไม่ได้อยู่ในระบบฐานข้อมูล แต่เกิดขึ้นตามสภาพจริงโดยผลการประเมินคุณภาพการศึกษาในด้านนั้น ๆ เม่อื ตรวจสอบจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์มีความตรงตามสภาพจริง เหมาะสม ชดั เจน เป็นทีย่ อมรบั ได้ 4. ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ผลท่ีเกิดข้ึนของการปฏิบัติตามแผนการดาเนินงานตาม วัตถุประสงค์และเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ อันเปน็ ผลท่ีเกิดต่อผเู้ รยี น ต่อโรงเรียนหรือศูนย์พัฒนาเด็กต่อวงวิชาการซึ่งผลการ ดาเนินงานมีพัฒนาการอย่างต่อเนอ่ื ง มนี วตั กรรมและเป็นแบบอย่างทดี่ ี 4.1 นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการท่ีนามาใช้ในการปฏิบัติ เพ่ือแก้ปญั หาหรือเพ่อื การพัฒนา ซ่งึ ทาใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงทางความคิด กระบวนการ หรือองค์กร อย่างสิ้นเชิงหรือ อย่างเห็นได้ชัด เป็นการพัฒนาต่อยอด เพ่ิมมูลค่า มีเป้าหมายในเชิงบวก ซ่ึงมีเกณฑ์การพิจารณา คือมีความสร้างสรรค์ (C – Creative) มีความใหม่ในบริบทนั้น ๆ (N – New) มีคุณค่ามีประโยชน์ (V – Value-Added) และปรับใช้ได้อย่าง เหมาะสม (A – Adaptive) 4.2 เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) หมายถึง รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือข้ันตอนการปฏิบัติที่ทา ให้สถานศึกษาประสบความสาเร็จ หรือสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพ มหี ลักฐานของความสาเร็จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปรูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขั้นตอน การปฏิบัติตลอดจนความรู้ และประสบการณ์ มีร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ เผยแพร่ให้หน่วยงานภายในหรือภายนอกสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ สว่ นที่ 2 การประเมนิ ความโดดเด่น สานักงานรับรองมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ได้กาหนดให้มี การประเมนิ ความโดดเด่นของสถานศกึ ษา เพอ่ื เปน็ การส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศของสถานศึกษาให้เป็นต้นแบบในการ พัฒนาในด้านต่างๆและเร่งรัดคุณภาพสถานศึกษาสู่การเป็นสถานศึกษาขีดสมรรถนะสูงพร้อมสาหรับ การแขง่ ขันระดบั สากลในอนาคตโดยสถานศกึ ษาท้ังระดบั ปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสามารถเลือกความ โดดเด่นได้ตามศักยภาพและความสมัครใจในการประเมินมาตรฐานความโดดเด่นซ่ึงผ่านความเห็นชอบจากหน่วยงาน ต้นสงั กัดท้งั น้สี ถานศกึ ษาจะขอรับการประเมนิ หรือไมร่ บั การประเมินก็ได้ โดยมกี รอบแนวทางการประเมนิ ดังนี้ ความโดดเดน่ ระดับปฐมวัย การประเมินความโดดเด่น เป็นการประเมินเพื่อส่งเสริมการยกระดับคุณภาพของสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัยที่เป็นที่ยอมรับในระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค ระดับชาติและระดับนานาชาติ เปิดพื้นท่ีให้กับสถานพัฒนา เด็กปฐมวัยซึ่งมีความโดดเด่น ได้นาเสนอผลการดาเนินงานที่เป็นแบบอย่างท่ีดีของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย คู่มือการนเิ ทศติดตามเพอื่ สง่ เสรมิ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาเอกชน สานักงานศึกษาธิการจังหวดั แพร่

๔๙ โดยสามารถเลือกขอรับการประเมินความโดดเด่นได้ตามความสมัครใจและตามศักยภาพ ท้ังน้ี สมศ. มุ่งหวังให้ผู้ ประเมินภายนอกพจิ ารณาโครงการ กิจกรรม การดาเนินงานของสถานศึกษาท่ีมีความโดดเด่น และมีโอกาสพัฒนา สคู่ วามเปน็ เลิศ ผ้ปู ระเมินภายนอกสามารถทาการประเมนิ ดา้ นความโดดเดน่ ดังกลา่ วได้ มติ คิ ณุ ภาพท่สี ถานศกึ ษาสามารถขอรับการประเมินความโดดเดน่ มีดงั นี้ 1. ด้านพื้นฐานสาคญั พัฒนาการด้านทักษะภาษาและการสือ่ สาร 2. ด้านนวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย การสร้างสรรค์นวัตกรรม การศึกษาวิจัย การประยุกต์องค์ความรู้ ด้านปฐมวัยและพัฒนา มาสู่กระบวนการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ การดูแลและพัฒนาเด็กปฐมวัย อยา่ งต่อเนื่องจนเกดิ ผลดีอย่างยงิ่ ตอ่ คุณภาพเด็กปฐมวัย และสามารถถอดบทเรียน กระบวนการพัฒนาเป็นต้นแบบ หรือเป็นแบบอย่างได้อย่างชัดเจน เช่น การจัดกิจกรรม กิน–กอด–เล่น-เล่า การเรียนรู้ผ่านการเล่น (Learning through Play) การพัฒนา ๕ ธรรมะ (ธรรมะ วัฒนธรรม คุณธรรม จริยธรรม ธรรมชาติ) การเรียนรู้โดยการ ปฏิบัติ (Active Learning) การคิดอย่างสร้างสรรค์ (Creative Thinking) การสารวจค้นหา (Exploring) การพัฒนาทักษะการคิดด้านการจัดการ (Brain Executive Functions) การเสริมแรงเชิงบวก (Positive Reinforcement) 3. ด้านชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Learning Communities) การที่ผู้บริหาร ครู บุคลากรสนับสนุนพ่อแม่ ผู้ปกครอง ชมุ ชน นักวชิ าการ และผู้แทน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีเวที และพื้นท่ีในการแลกเปล่ียนองค์ความรู้ และ ประสบการณ์ ทั้งการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย และการสบื ทอดทางวฒั นธรรมที่ดีงามจากชุมชนและสังคมสู่การสร้างและ พฒั นาแนวทางการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ร่วมกัน 4. ด้านสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และการเล่น การสร้าง การจัดหรือ จัดการ สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการพัฒนา คุณภาพการเรียนรู้ของเด็ก ซึ่งก่อให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้และการ เล่นท่มี คี วามหมายและมีประสทิ ธิภาพตอ่ เดก็ ปฐมวัย 5. ด้านการพัฒนาศักยภาพเด็กรายบุคคล ทั้งเด็กทั่วไปและเด็กพิเศษ การพัฒนาระบบและวิธีการ ส่งเสริมศักยภาพเด็กรายบุคคลท่ีมีคุณภาพ ต้ังแต่การคัดกรอง การส่งเสริมศักยภาพเด็กรายบุคคล การประเมิน พัฒนาการ การให้ความช่วยเหลือเด็กท่ีมี ความต้องการพิเศษ เช่น กิจกรรมบูรณาการประสาทสัมผัส โดยมี เป้าหมายและโปรแกรม การพัฒนาเด็กเป็นรายบุคคล และการทางานร่วมกับผู้ปกครองท่ีเชื่อมประสานกับ ผู้เชีย่ วชาญเฉพาะทาง 6. ด้านอนื่ ๆ การพัฒนาตามเอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา แนวทางการพิจารณาการประเมินความโดดเด่น มีดงั นี้ การตัดสินระดับคุณภาพของการประเมินความโดดเด่นพิจารณาจากการบรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการ (Achievement) โดยพิจารณาจากสัดส่วน ร้อยละ เม่ือเทียบกับเด็กท้ังหมดของปริมาณผลงานท่ีเป็นที่ยอมรับใน วงวชิ าการระดบั ท้องถนิ่ /ภูมิภาคระดับชาติ หรอื นานาชาตอิ ยา่ งตอ่ เนื่องมีระดับคุณภาพ 3 ระดับ ดังนี้ เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคุณภาพ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยสามารถดาเนนิ งานใหบ้ รรลุผลลัพธ์ที่ตอ้ งการและเป็น C3 ต้นแบบ มคี วามโดดเดน่ มีความเปน็ นานาชาติ สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั สามารถดาเนินงานใหบ้ รรลผุ ลลัพธ์ทตี่ ้องการและเป็น C2 ตน้ แบบ มีความโดดเดน่ ได้รับการยอมรับระดับชาติ สถานพฒั นาเด็กสามารถดาเนินงานให้บรรลผุ ลลัพธท์ ่ตี อ้ งการและเปน็ ต้นแบบหรือ C1 มคี วามโดดเด่นระดบั ท้องถิ่น/ภมู ภิ าค คมู่ อื การนเิ ทศติดตามเพ่อื สง่ เสรมิ การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาเอกชน สานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั แพร่

๕๐ ความโดดเดน่ ระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน การประเมินความโดดเด่น เป็นทางเลือกให้สถานศึกษาได้แสดงผลการดาเนินงานที่มีความโดดเด่นใน ดา้ นตา่ ง ๆ เปน็ การสง่ เสริมสถานศึกษาให้เป็นต้นแบบในการพฒั นาในด้านต่าง ๆ และเร่งรัดคุณภาพสถานศึกษาสู่ การเป็นสถานศึกษาขีดสมรรถนะสูง พร้อมสาหรับการแข่งขันระดับสากลในอนาคต โดยสถานศึกษาเป็นผู้แจ้ง ความจานงในการประเมินมาตรฐานความโดดเด่น ทั้งนี้สถานศึกษาจะขอรับการประเมนิ หรอื ไม่รับการประเมินก็ได้ มติ ิคณุ ภาพทีส่ ถานศกึ ษาสามารถขอรบั การประเมินความโดดเดน่ มดี งั นี้ 1. ความสามารถด้านวิชาการควบคู่คุณธรรม การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการให้ดีขึ้นมีพัฒนาการ ของคุณภาพผู้เรียนใน 3 ปี เช่น โรงเรียนวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยี ควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณลักษณะท่ีสาคัญ ๆ คอื ความซอื่ สัตย์ ความมีวินัย คา่ นยิ มอยู่อยา่ งพอเพียง รับผิดชอบ มจี ติ สาธารณะ หรอื อ่ืน ๆ 2. ความสามารถในการใช้ภาษาและการส่ือสาร การพัฒนาการของคุณภาพผู้เรียน เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน เป็นตน้ 3. ความสามารถเฉพาะทางที่สาคัญ ผลงานนักเรียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ทักษะวิชาชีพ (การเกษตร การเป็นผู้ประกอบการ) ด้านกีฬา ดนตรี ศิลปะ ทักษะด้านการพัฒนาสื่อเทคโนโลยี หรืออื่น ๆ เช่น การเป็นผ้นู า สมรรถนะการดาเนินชวี ิต (Literacy/ Living/ Life/ Career Skills) เป็นต้น 4. การบริหารจัดการศึกษา คุณภาพการจัดการศึกษาสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ (Special needs/ Gifted/ Vulnerable) การมีนวตั กรรมการเรียนรู้ท่ีโดดเด่น การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้การ บรหิ ารจดั การแบบมสี ว่ นร่วม การมีส่วนร่วมของชุมชนที่โดดเด่น การได้รับการรับรองคุณภาพการจัดการศึกษาใน ระดับมาตรฐานนานาชาติ เป็นต้น 5. อ่ืน ๆ ตามที่สถานศึกษาประกาศเปน็ เอกลกั ษณ์ รายการเอกลักษณ์อ่ืน ๆ ท่ีสถานศึกษากาหนดท่ี มีการวางแผนและดาเนินการพัฒนาอย่างเป็นระบบ จนประสบความสาเร็จในระดับท้องถ่ิน/ภูมิภาค ระดับชาติ หรอื ระดับนานาชาติ แนวทางการพจิ ารณาการประเมนิ ความโดดเด่นมีดงั นี้ การตัดสินระดับคุณภาพของการประเมินความโดดเด่นพิจารณาจากการบรรลุผลลัพธ์ท่ีต้องการ (Achievement) โดยพิจารณาจากสัดส่วนร้อยละเมื่อเทียบกับผู้เรียนท้ังหมดของปริมาณผลงานท่ีเป็นท่ียอมรับ ในวงวชิ าการระดับท้องถิน่ /ภมู ิภาคระดบั ชาติ หรอื นานาชาตอิ ย่างต่อเนอ่ื งมรี ะดบั คุณภาพ 3 ระดับ ดังนี้ เกณฑ์การประเมนิ ระดับคุณภาพ สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานให้บรรลุผลลัพธท์ ่ีต้องการและเป็นตน้ แบบ C3 มคี วามโดดเดน่ ได้รบั การยอมรบั ระดบั นานาชาติ สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานใหบ้ รรลุผลลัพธท์ ี่ตอ้ งการและเป็นต้นแบบ C2 มคี วามโดดเดน่ ได้รบั การยอมรับระดับชาติ สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานใหบ้ รรลผุ ลลัพธ์ทตี่ ้องการและเปน็ ตน้ แบบ C1 หรือมีความโดดเด่นระดับทอ้ งถ่ิน/ภูมิภาค คูม่ ือการนเิ ทศตดิ ตามเพื่อสง่ เสรมิ การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาเอกชน สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดแพร่

๕๑ คณะผู้จัดทา ท่ปี รกึ ษา ศกึ ษาธิการจงั หวดั แพร่ นาอดุล เทพกอม รองศึกษาธกิ ารจงั หวัดแพร่ นายศริ โิ ชค พพิ ฒั นเ์ สฐียรกุล ผู้อานวยการกลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผล นายสวุ ณิ เทพสาธร ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผล คณะทางานจดั ทาคู่มือ ศึกษานเิ ทศก์ ศธจ. แพร่ ๑. นายสุวิณ เทพสาธร ศึกษานเิ ทศก์ ศธจ. แพร่ ๒. นางสาวจติ ตะกานต์ เทพศริ ิพนั ธุ์ ศกึ ษานิเทศก์ ศธจ. แพร่ ๓. นางสาวบษุ บา สุกแกว้ ศกึ ษานเิ ทศก์ ศธจ. แพร่ ๔. นางพทุ ธพร อนิ ทรนันท์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ศธจ. แพร่ ๕. นางรจนา กาแกว้ ศกึ ษานิเทศก์ ศธจ. แพร่ ๖. นางสาวจุฑามาศ วมิ าลัย ศึกษานเิ ทศก์ ศธจ. แพร่ ๗. นางจารุชา ถิรชานธิ ศิ ๘. นางสาวพชิ ญา ดีมี ผอู้ านวยการกลุม่ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผล ศึกษานิเทศก์ บรรณาธิการกิจ นายสุวณิ เทพสาธร ศึกษานเิ ทศก์ ศธจ. แพร่ นางจารชุ า ถริ ชานิธิศ รูปเล่มและออกแบบปก นางจารชุ า ถิรชานิธิศ คมู่ อื การนเิ ทศติดตามเพอื่ สง่ เสรมิ การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาเอกชน สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั แพร่

๕๒ ค่มู ือการนเิ ทศตดิ ตามเพอ่ื ส่งเสรมิ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาเอกชน สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั แพร่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook