Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Health Today

Health Today

Published by Kwanras, 2021-11-19 17:15:45

Description: Health Today

Search

Read the Text Version

ISSUE 06 APRIL 2019 GOOD HEALTH GOOD LIFE Health Today NEW COVID-19 Health is a state of complete harmony of the body, mind and spirit 250.-

Health 3 ON EUSSI 8102 GUA is greatest of human blessings

Content GOOD HEALTH GOOD LIFE 01 Covid-19 Covid-19 Antibody Cocktail 2 Long Covid 3 MIS-C 5 Coronary heart disease and 6 vaccination 02 Top Diseases for Working Hypertension 9 Office Syndrome 11 Gastroesophageal Reflux Disease 12 Heart Disease 13 Cystitis 16 03 Healthy Food Food for the Elderly 19 Blood Nourishing Food 20

COV- ID 3 ON EUSSI 19 8102 GUA CORONA VIRUS Health Today | 01

COVID-19 ADVANTAGE SIDE EFFECTS Antibody Cocktail จากการศึกษาวิจัยทางคลินิกใน มีการรายงานผลข้างเคียงที่อาจจะ ปัจจุบันพบว่า การให้ยาแอนติบอดี เกิดขึ้นแต่พบได้น้อย เช่น ภาวะมีไข้ ยาแอนติบอดีแบบผสมประกอบไปด้วยยาคาซิริวิแมบ แบบผสมในผู้ป่วยอายุ 12 ปี ขึ้นไปที่ หนาวสั่น ผื่ นลมพิษ อาการคัน และยาอิมดีวิแมบ เป็นยาในกลุ่มโมโนโคลนอล มีอาการน้อยถึงปานกลางและไม่ อาการปวดท้อง คลื่ นไส้ และร้อน แอนติบอดีประเภท Immunoglobulin (Ig) ชนิด IgG ต้องได้รับออกซิเจนเสริมในการ วูบวาบ ในขณะบริหารยาหากมี ที่สกัดจากแอนติบอดีของผู้ป่วย COVID-19 ซึ่งรักษา รักษาสามารถลดปริมาณเชื้ อไวรัส อาการแพ้เฉียบพลันรุนแรงต้อง หายแล้ว และแอนติบอดีที่สกัดจากหนู ซึ่งถูกดัดแปลง ในกระแสเลือดและยับยั้งการติด หยุดการให้ยาทันที ทั้งนี้ยาคาซิริวิ พันธุกรรมให้มีระบบภูมิคุ้มกันคล้ายมนุษย์ด้วย เชื้อในร่างกาย อีกทั้งยังลดระยะ แมบและยาอิมดีวิแมบไม่ควรใช้ในผู้ เทคโนโลยี Recombinant DNA โดยแอนติบอดีนี้ออก เวลาการรักษาในโรงพยาบาล และ ป่วยที่มีอาการรุนแรงที่ต้องได้รับ ฤทธิ์ลบล้างฤทธิ์เชื้อไวรัส SARS-CoV-2 โดยการขัด ลดความเสี่ยงจากการเสียชีวิต โดย ออกซิเจนเสริมอัตราการไหลสูง ขวางไม่ให้โปรตีนหนาม (Spike Protein) ของเชื้อจับ ต้องได้รับยาตั้งแต่ระยะแรกในการ (High Flow Oxygen Therapy) กับตัวรับของเซลล์ร่างกาย นำไปสู่การยับยั้งการติดเชื้อ ป่วย นอกจากนี้ยังพบว่ายา หรือต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ เพราะ ภายในร่างกาย แอนติบอดีแบบผสมออกฤทธิ์ต่อ อาจทำให้ผลลัพธ์การรักษาแย่ลง เชื้ อกลายพันธุ์บางชนิดได้ด้วย Health Today | 02

LONG COVID โพสต์โควิด (Post – COVID 19 Condition) หรือ ลองโควิด (Long COVID) เป็นภาวะหรืออาการที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยโควิด-19 หลังจากได้ รับเชื้อนาน 4 สัปดาห์ไปจนถึง 12 สัปดาห์ขึ้นไป ซึ่งอาการที่พบมีหลาก หลายและแตกต่างกัน โดยส่วนใหญ่มักพบในผู้ป่วยโควิด-19 ที่เชื้อลง ปอดและมีโรคเรื้อรังร่วมด้วย และพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ส่งผล ให้ปอดทำงานหนัก ปอดไม่แข็งแรง จากเดิมที่ปอดมีความยืดหยุ่น ปอดจะเริ่มแข็งและอาจเกิดรอยโรคอย่างแผลหรือพังผืดต่าง ๆ ใน เนื้ อปอด ส่งผลให้แลกเปลี่ยนออกซิเจนได้ไม่เต็มที่ เหนื่ อยง่ายกว่า ปกติ หายใจไม่เต็มปอด และมีอาการผิดปกติอื่ น ๆ ขึ้นอยู่กับแต่ละ บุคคล SYMPTOM ระบบทางเดินหายใจ อาการเหนื่ อย หายใจไม่อิ่ม หายใจไม่สะดวก ระบบหัวใจและหลอดเลือด อาการใจสั่น แน่นหน้าอก หัวใจเต้นเร็ว ระบบทางเดินอาหาร ปวดท้อง ท้องเสีย ลดความอยากอาหาร อาการอื่ น ๆ ที่ไม่จำเพาะเจาะจงต่อระบบใด ๆ ปวดเมื่อยตามตัว ปวดตามข้อ ไม่มีแรง อ่อนเพลีย ความผิดปกติที่พบได้จากการตรวจเลือดโดยไม่มีอาการ เช่น ค่า เอนไซม์ตับสูงขึ้นผิดปกติ ค่าการกรองและการทำงานของไตลดลง ค่าการทำงานของฮอร์โมนไทรอยด์ผิดปกติ ความสามารถในการ ควบคุมระดับน้ำตาลลดลงในผู้ป่วยเบาหวาน และค่าระบบการแข็ง ตัวของเลือดที่ผิดปกติ เป็นต้น CAUSE เชื้อไวรัสไปทำลายสมดุลระบบต่าง ๆ ในร่างกาย ทำให้เกิดความผิด ปกติขึ้น ติดเชื้ อไวรัสแล้ วร่างกายถูกกระตุ้นให้สร้างภูมิคุ้มกันและสาร อักเสบมากขึ้นจนไปทำลายการทำงานของระบบอวัยวะต่าง ๆ ผลกระทบหลังการเจ็บป่วยรุนแรง (Post – Critical Illness) ซึ่ง ผู้ป่วยที่มีการเจ็บป่วยรุนแรงจะมีการทำลายของระบบไหลเวียน ขนาดเล็ก (Microvascular Injury) รวมถึงมีความผิดปกติของ สมดุลเกลือแร่และสารน้ำในร่างกาย จึงทำให้ระบบต่าง ๆ ใน ร่างกายมีการทำงานที่ผิดปกติหลังจากผ่านพ้นการเจ็บป่วยดัง กล่าว Health Today | 03

NEURODEGENERATIVE DISEASE จากข้อมูลปัจจุบันพบว่า การมีโรคประจำตัวทางสมอง เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคลมชัก โรคสมองเสื่อม หรือโรค พาร์กินสัน ไม่ถือว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะโพสต์ โควิด (Post – COVID 19 Condition) หรือ ลองโควิด (Long COVID) แต่ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวดังกล่าว หากมี การติดเชื้อโควิด-19 มีความเสี่ยงที่จะกระตุ้นให้โรคกำเริบ และทำให้อาการของตัวโรคแย่ลงเร็วกว่าคนที่ไม่มีการติด เชื้อ ยิ่งไปกว่านั้น มีข้อมูลพบว่าการติดเชื้อโควิด-19 จะ ทำให้มีโอกาสเป็นโรคแทรกซ้อนทางสมอง หรือทำให้ อาการโรคเดิมแย่ลงได้มากกว่าการติดเชื้ อทางเดินหายใจ ชนิดอื่ น โดยพบว่าผู้ป่วยที่ติดเชื้อโควิด-19 นั้นมีความเสี่ยงต่อการ เป็นโรคหลอดเลือดสมอง (สมองขาดเลือดและเลือดออก ในสมอง) โรคสมองเสื่อม และโรคทางจิตเวช (เช่น ซึม เศร้า วิตกกังวล) มากกว่าคนที่ติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ หรือเชื้อไวรัสทางเดินหายใจชนิดอื่ นอย่างมีนัยสำคัญ และ ยังพบว่าคนไข้จะมีความเสี่ยงต่อโรคดังกล่าวมากขึ้น หาก มีประวัติการติดเชื้อโควิด-19 ที่ต้องได้รับการรักษาในโรง พยาบาล หรือได้รับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤติ (Intensive Care Unit, ICU) หรือมีภาวะสับสน (Delirium) ขณะรักษาในโรงพยาบาล ดังนั้นไม่ว่าจะมีโรคประจำตัวทางระบบประสาทมาก่อนหรือไม่ การติดเชื้อโควิด-19 สามารถส่งผลกระทบต่อร่างกายได้ ทั้งหมด หากไม่มีโรคประจำตัวจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรค ต่าง ๆ หลังการติดเชื้อ แต่หากมีโรคประจำตัวมาก่อน การติด เชื้อจะทำให้การดำเนินโรคนั้นแย่ลงเร็วขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้มี อาการต่าง ๆ ในภาวะ Long COVID ตามมาด้วยเช่นกัน และ ถึงแม้ว่าการมีโรคประจำตัวทางระบบประสาทจะไม่ได้เพิ่มความ เสี่ยงต่อการเป็น Long COVID มากกว่าประชากรโดยทั่วไป แต่การที่โรคประจำตัวแย่ลงเร็วกว่าที่ควรจะเป็นย่อมส่งผลอ ย่างมากต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย TREATMENT ส่วนใหญ่การรักษาภาวะโพสต์โควิด (Post – COVID 19 Condition) หรือ ลองโควิด (Long COVID) จะเป็นการรักษา ตามอาการเป็นหลัก ยังไม่มีการรักษาจำเพาะต่อภาวะนี้ อย่างไร ก็ตามมีการศึกษาวิจัยจำนวนมากเพื่อค้นหาการรักษา รวมถึง แนวทางในการป้องกันภาวะนี้ ซึ่งคงต้องรอติดตามผลการ ศึกษาดังกล่าวต่อไป สิ่งที่สามารถทำได้ดีที่สุดในตอนนี้เพื่อ ป้องกันภาวะ Long COVID คือการป้องกันตัวเองให้ไม่เป็นโค วิด-19 ดูแลสุขภาพร่างกาย ออกกำลังกายสม่ำเสมอ นอนหลับ พักผ่อนให้เพียงพอ และหากมีอาการผิดปกติควรรีบพบแพทย์ เพื่อทำการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม นำไปสู่การรักษาที่ถูกต้อง และทันท่วงที Health Today | 04

MIS-C MIS-C หรือ Multisystem Inflammatory Syndrome in Children คือ กลุ่มอาการอักเสบหลายระบบที่เป็นภาวะ แทรกซ้อนรุนแรงหลังเด็กหายจากการติดเชื้อโควิด-19 เริ่มมีอาการได้ตั้งแต่ระยะหายจากโรคจนถึงหลังติดเชื้อ 2 – 6 สัปดาห์ ส่วนใหญ่พบในเด็กผู้ชายมากกว่าเด็กผู้หญิง SYMPTOM อาเจียน DIAGNOSE ลำไส้อักเสบ อาการคล้ายโรคคาวาซากิ ได้แก่ ตับอักเสบ หากพ่อแม่ผู้ปกครองสังเกตเห็นอาการผิดปกติของเด็ก ไข้ อาการคล้ายไส้ติ่งอักเสบ หลังหายจากโควิด-19 ควรต้องรีบพบแพทย์ทันที โดย ผื่ น อาการระบบหัวใจและหลอดเลือด อาจมีการตรวจปอด ตรวจช่องท้อง ตรวจระบบประสาท ตาแดง ได้แก่ ตรวจน้ำไขสันหลัง เป็นต้น นอกจากนี้หากมีอาการรุนแรง มือ เท้าบวมแดง หายใจหอบ เหนื่ อย อาจต้องอยู่ในโรงพยาบาลระหว่างรอผลตรวจ ปากแดง แห้ง แตก หัวใจเต้นเร็ว ต่อมน้ำเหลืองโต หลอดเลื อดอุ ดตั น TREATMENT อาการระบบประสาท ได้แก่ อาการระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ ปวดศีรษะ หัวใจของการรักษา MIS-C คือ ลดการอักเสบและ ปอดอักเสบ เยื่ อหุ้มสมองอั กเสบ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น โดยในการรักษาเด็กจะ ต้องไม่มีภาวะแทรกซ้อนอื่ น แพทย์จะทำการรักษาตาม อาการระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ อาการ เพื่อป้องกันการอักเสบกลับเป็นซ้ำ ควบคุมและ ปวดท้อง ปรับการตอบสนองของภูมิคุ้มกัน และต้องติดตามอาการ ท้องเสีย ถ่ายเหลว ต่อเนื่ องในระยะยาวอย่างน้อย 1 ปี Health Today | 05

Coronary heart disease and vaccination หลายคนกังวลกับการฉีดวัคซีน COVID-19 ในเรื่องของ ผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นในระยะสั้นและระยะยาว โดย เฉพาะผู้ป่วยในกลุ่มโรคเรื้อรังอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจ จะเกิดความกังวลมากเป็นพิเศษ ดังนั้นการเข้าใจให้ถูก ต้องและเตรียมตัวให้เหมาะสมก่อนฉีดวัคซีน COVID-19 จึงเป็นเรื่องสำคัญ ADVANTAGE RISK OF CORONARY HEART DISEASE ถ้าภูมิคุ้มกันสูงมากพอจะสามารถฆ่าเชื้ อได้ ยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อในร่างกาย ทำให้ สำหรับคนที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือด เชื้อไวรัสไม่สามารถแบ่งตัว ไวรัสไม่สามารถ หัวใจ เช่น ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิต เพิ่มจำนวนในร่างกายได้ สูง เบาหวาน ภาวะเหล่านี้หากสามารถ เชื้ อไวรัสไม่สามารถเข้าไปในเซลล์ ได้จึงไม่ ควบคุมได้แล้วและมีความคงที่ ไม่จำเป็น เกิดการติดเชื้อ ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้ว ต้องตรวจสุขภาพก่อนทำการฉีดวัคซีน ว่า ถ้าตนเองมีโรคหัวใจหรือหลอดเลือด COVID-19 แต่ถ้ายังควบคุมได้ไม่ดีหรือ หัวใจอยู่ก่อนแล้ว มีโอกาสติดเชื้อชนิด ยังควบคุมไม่ได้ควรต้องปรึกษาแพทย์เพื่ อ รุนแรงจนต้องเข้า ICU และโอกาสเสียชีวิต ทำการตรวจวินิจฉัยโดยละเอียดก่อนฉีด เพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มคนที่ไม่มีโรคหัวใจและ วัคซีน หากไม่แน่ใจหรือมีอาการผิดปกติอื่ น หลอดเลือด ใดที่คิดว่าอาจจะสัมพันธ์กับโรคที่เป็นอยู่ หากเชื้ อไวรัสไม่สามารถแบ่งตัวในร่างกาย ควรต้องปรึกษาแพทย์ก่อนทำการฉีด เชื้อจะไม่สามารถแพร่กระจายสู่คนอื่ นได้ วัคซีน เป็นการป้องกันและลดโอกาสในการแพร่เชื้ อ ไปสู่ผู้อื่ น หากทุกคนมีภูมิคุ้มกันอยู่ในร่างกาย เชื้อโค วิด-19 จะไม่สามารถเจริญเติบโตและแพร่ พันธุ์ได้อีกต่อไป จึงเป็นการตัดวงจรการ ระบาดและเป็นการตัดวงจรการกลายพันธุ์ ของเชื้ อไปด้วย Health Today | 06

56 PREPARATION Health Today | 07 1. ตรวจสอบอาการของโรคที่เป็นอยู่ว่ามีอาการหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ ต้องพิจารณาว่ามีอาการที่เป็นอันตรายรุนแรงถึงชีวิต หรือไม่ เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ชนิดเฉียบพลันจะมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเจ็บแน่นหน้าอกขณะออกแรงหรือออกกำลัง กายบริเวณกลางหน้าอกหรือร้าวไปแขนซ้าย ฯลฯ และ โรคของหลอดเลือดหัวใจมีอาการภาวะหัวใจล้มเหลว ชนิดเฉียบพลันร่วมด้วย ได้แก่ เหนื่ อย นอนราบไม่ได้ หรือต้องนอนหมอนสูง หรือมีภาวะน้ำท่วมปอดร่วม ด้วย 2. กรณีผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูงชนิดรุนแรง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งถ้าความดันโลหิตสูงตัวบนมากกว่า 160 มิลลิเมตรปรอท จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องควบคุมความ ดันโลหิตให้ดีก่อนฉีดวัคซีน โดยจะต้องควบคุมความ ดันโลหิตตัวบนให้ต่ำกว่า 140 มิลลิเมตรปรอทในวัน ก่อนมารับวัคซีน 3. กรณีที่รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิด Warfarin ถ้าระดับ INR คงที่มาตลอดและ INR ต่ำ กว่า 4.0 ภายใน 1 สัปดาห์ หรือมีผลระดับ INR ก่อน หน้านี้อยูในระดับต่ำกว่า 3.0 มาโดยตลอด (ไม่จําเป็น ต้องหยุดหรือปรับขนาดยาและไม่จําเป็นตองตรวจ INR ก่อนรับวัคซีน) สามารถรับการฉีดวัคซีนโควิด-19 ได้โดยใช้เข็มฉีดยาขนาดเล็ก 25G หรือ 27G ฉีดที่ กล้ามเนื้ อต้นแขน แล้วกดตําแหน่งที่ฉีดไว้นาน ประมาณ 5 นาที จากนั้นอาจประคบเย็นต่อด้วยน้ำแข็ง หรือเจลเย็น 4. สำหรับผู้ป่วยที่รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด กลุ่มใหม่ (NOACs) และยาต้านเกล็ดเลือด เช่น Aspirin, Clopidogrel, Ticaglelor หรือ Prasugrel สามารถฉีดวัคซีนได้โดยไม่ต้องงดยาก่อน ฉีด ควรใช้เข็มขนาดเล็ก 25G หรือเล็กกว่า และไม่ควร คลึงกล้ามเนื้ อหลังฉีดวัคซีน ควรกดตำแหน่งที่ฉีด วัคซีนนานอย่างน้อย 5 นาทีและแน่ใจว่าไม่มีเลือดออก ผิดปกติ

3 ON EUSSI Top 8102 GUA diseases FOR WORKING Health Today | 08

Hyper SYMPTOM CAUSE tension ผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่มัก มากกว่า 90 % เป็นความดันโลหิตสูง ไม่แสดงอาการ แต่บางรายพบว่ามีอาการ ชนิดไม่ทราบสาเหตุ (Essential โรคความดันโลหิตสูง จากการที่พนักงาน ปวดหัว เวียนหัว มึนงง และเหนื่ อยง่ายผิด Hypertension) มักพบได้บ่อยในรายที่มี ออฟฟิศส่วนใหญ่ต้องเผชิญกับความ ปกติ ซึ่งหากมีภาวะความดันโลหิตสูงนานๆ ประวัติครอบครัวเป็นความดันโลหิตสูง กดดันอยู่บ่อยครั้ง โรคนี้ยังเป็นสาเหตุ แต่ไม่ได้รับการรักษาอาจทำให้อวัยวะสำคัญ อายุมากส่วนใหญ่กลุ่มที่ทราบสาเหตุพบได้ สำคัญของโรคหลอดเลือดสมอง ต่างๆ ในร่างกายถูกทำลาย ได้แก่ หัวใจ น้อย ซึ่งเกิดได้ในผู้ป่วยที่มีโรคอยู่แล้ว อัมพฤกษ์ อัมพาต ไตวายอีกด้วย จากการ สมอง ไต หลอดเลือด และตา เนื่ องจากภาวะ เช่น โรคไต หลอดเลือดที่ไตตีบบครรภ์ รายงานขององค์การอนามัยโลกคาด ความดันโลหิตสูงจะทำให้ผนังหลอดเลือด เป็นพิษ เนื้ องอกบางชนิด โรคทางต่อม การณ์ว่าในปี พ.ศ. 2568 จะมีผู้ป่วยโรค แดงหนาตัวขึ้นและรูเล็กลง ทำให้เลือดไป หมวกไตยาบางอย่าง เป็นต้น ความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นเป็น 1.56 พันล้าน เลี้ยงอวัยวะต่างๆ ได้น้อยลง ส่งผลให้อวัยวะ คน เหล่านั้นทำงานไม่เป็นปกติ และหากถูก ทำลายอย่างรุนแรงอาจส่งผลให้ผู้ป่วยเสีย ชีวิตได้ Health Today | 09

DEFENSE จำกัดโซเดียมในอาหารน้อยกว่า EXERCISE WARNING 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ (โซเดียม 2,000 มิลลิกรัม ในระหว่างออกกำลังกาย หาก 1. เจ็บหน้าอกอย่างรุนแรง ปกติหรือใกล้เคียงปกติโดยค่า เทียบเท่าเกลือแกง 1 ช้อน เกิดอาการดังต่อไปนี้ควรหยุด คล้ายมีอะไรมาบีบรัด ดัชนีมวลกาย (Body mass ชา)โซเดียม คือ เกลือแร่ชนิด ออกกำลังกายทันทีเหนื่ อยมาก บริเวณตรงกลางหน้าอก index; BMI) ที่เหมาะสมอยู่ หนึ่งที่มีความจำเป็นต่อร่างกาย ผิดปกติ เช่น ไม่สามารถพูดใน อาจร้าวไปถึงขากรรไกรและ ระหว่าง 18.5 – 22.9 กิโลกรัมต่อ โดยโซเดียมจะทำหน้าที่ควบคุม ระหว่างออกกำลังกายเนื่ องจาก แขนซ้าย อาจมีอาการอื่ นๆ เมตรกำลังสอง หรือรักษาระดับ ความสมดุลของเหลวในร่างกาย หายใจเร็วและลึกเวียนศีรษะ ตา ร่วมด้วย เช่น เหงื่ อออก เส้นรอบเอวให้อยู่ในเกณฑ์ รักษาความดันโลหิตให้อยู่ใน มัวหายใจไม่ออก หายใจไม่ทัน คลื่ นไส้ หายใจลำบาก หน้า มาตรฐาน (ในผู้ชายน้อยกว่า 90 ระดับปกติ ช่วยในการทำงาน เจ็บแน่นหน้าอกชีพจรเต้นผิด มืดคล้ายจะเป็นลมจนถึง เซนติเมตรหรือ 36 นิ้ว ส่วนผู้หญิง ของระบบประสาทและกล้ามเนื้ อ ปกติ ไม่สม่ำเสมอหน้ามืด เป็น หมดสติ น้อยกว่า 80 เซนติเมตรหรือ 32 (รวมถึงกล้ามเนื้ อหัวใจด้วย) ลม หมดสติ หรือคลื่ นไส้หลัง นิ้ว หรือวิธีการคำนวณอย่างง่าย ตลอดจนมีส่วนช่วยในการดูด ออกกำลั งกายพู ดไม่ชัด 2. จ็บบริเวณหน้าอกหรือท้อง ไม่เกินส่วนสูง (เซนติเมตร) หาร ซึมสารอาหารบางอย่างที่ไตและ ตะกุกตะกักเหงื่ อออก ตัวเย็นผิด อย่างเฉียบพลันและรุนแรง สอง) ลำไส้เล็ก หากรับประทาน ปกติแขน ขาไม่มีแรง ควบคุม มีอาการร้าวไปถึงหลัง การรับประทานอาหารเพื่ อสุขภาพ โซเดียมมากเกินไปอาจทำให้ การเคลื่ อนไหวไม่ได้ความดัน (Healthy diet)ควรรับประทาน ความดันโลหิตสูงขึ้น ดังนั้น การ โลหิตมากกว่า 160/110 3. เหนื่ อยง่ายผิดปกติ อาหารให้หลากหลายครบ 5 หมู่ จำกัดโซเดียมไม่เกิน 2,000 มม.ปรอท ควรได้รับยาควบคุม 4. ใจสั่น ชีพจรเต้นไม่เป็น โดยใช้หลักการ อาหารจานสุขภาพ มิลลิกรัมต่อวัน สามารถช่วยลด ความดันโลหิตก่อนออกกำลัง (Plate method) หรือ ทฤษฎี ความดันโลหิตได้ กาย จังหวะ 2:1:1 “ผัก 2 ส่วน : ข้าว 1 ส่วน : 5. ปวดศีรษะเฉียบพลัน ร่วม เนื้ อสัตว์ 1 ส่วน” การรับประทาน ผักผลไม้ในปริมาณที่เหมาะสมจะ กับอาการปวดตึงบริเวณ ช่วยให้ร่างกายได้รับโพแทสเซียม ท้ายทอยและอาเจียนร่วม แมกนีเซียม แคลเซียม และใย ด้วย อาหารที่ช่วยลดความดันโลหิตสูง ได้ Health Today | 10

Office Syndrome ออฟฟิศซินโดรมเป็นโรคที่เกิดขึ้นโดยตรงกับพนักงานออฟฟิศ ด้วยพฤติกรรมส่วนใหญ่ของคนทำงานที่ต้องนั่ง ทำงานอยู่หน้าคอมพิวเตอร์อยู่เป็นเวลานานโดยไม่ได้ขยับตัว จนทำให้กล้ามเนื้ อเกิดอาการตึง ก่อให้เกิดอาการ กล้ามเนื้ ออักเสบได้ จากสถิติของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขระบุว่า “คนวัยทำงานร้อยละ 60 มีภาวะโรค ออฟฟิศซินโดรม” SYMPTOM 1. ปวดกล้ามเนื้ อเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เช่น คอ บ่า ไหล่ สะบัก มักมีอาการปวดเป็น บริเวณกว้าง ไม่สามารถระบุตำแหน่งได้ชัดเจน อาจมีอาการปวดร้าวไปบริเวณใกล้เคียงร่วมด้วย มีลักษณะอาการปวดล้าๆ ความรุนแรงมีได้ตั้งแต่ ปวดเล็กน้อยเพียงรำคาญจนถึงปวดรุนแรง ทรมานอย่างมาก 2. อาการของระบบประสาทอัตโนมัติซึ่งพบร่วมได้ เช่น ซ่า วูบ เย็น เหน็บ ซีด ขนลุก เหงื่ อออก ตาม บริเวณที่ปวดร้าว ถ้าเป็นบริเวณคออาจมีอาการ มึนงง หูอื้ อ ตาพร่า 3. อาการทางระบบประสาทที่ถูกกดทับ เช่น อาการ ชาบริเวณแขนและมือ รวมถึงอาการอ่อนแรง หากมีการกดทับเส้นประสาทนานจนเกินไป TREATMENT 1. การยืดกล้ามเนื้ อที่ถูกวิธีด้วยตัวเอง 2. การรักษาด้วยวิธีทางกายภาพบำบัด ด้วยอุปกรณ์ที่ เพรียบพร้อมและทันสมัย 3. การนวดแผนไทย 4. การฝังเข็ม 5. การรับประทานยา DEFENSE 1. ออกกำลังกายด้วยท่าที่เหมาะสมกับอาการ เช่น การ ยืดกล้ามเนื้ อให้เกิดความยืดหยุ่น การออกกำลังเพื่อ เสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้ อ โดยต้องอาศัย ความใส่ใจและความสม่ำเสมอ 2. ปรับสภาพแวดล้อมในการทำงาน เช่น ปรับระดับความ สูงของโต๊ะและเก้าอี้ ให้สามารถนั่งทำงานในท่าที่สบาย ปรับหน้าจอคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในระดับสายตา 3. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้งานกล้ามเนื้ อให้ เหมาะสม เช่น ในระหว่างทำงานควรมีการยืดเหยียด หรือเปลี่ยนอิริยาบถเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้ ออย่าง น้อยทุกๆ 1 ชั่วโมง Health Today | 11

CAUSE Gastroeso phageal หลอดอาหารส่วนปลายคลายตัวโดยที่ยังไม่กลืน Reflux อาหาร Disease ความดันจากหูรูดของหลอดอาหารส่วนปลายลดลง ต่ำกว่าปกติ หรือเกิดการเลื่ อนของกระเพาะอาหาร โรคกรดไหลย้อนเป็นโรคที่คนทำงานหลายคนมัก เข้าไปในหลอดอาหาร มองข้ามไป แต่ความจริงแล้วโรคดังกล่าวเป็นภัย ความผิดปกติของการบีบตัวของกระเพาะอาหาร เงียบที่หนุ่มสาววัยทำงานควรระวังไว้ เนื่ องด้วยชีวิต หรือหลอดอาหาร ทำให้อาหารค้างอยู่ในกระเพาะ ที่เร่งรีบของคนทำงาน อาจมีตัวเลือกสำหรับอาหาร อาหารนานกว่าปกติ ไม่มากนัก ทำให้คนส่วนใหญ่ต้องบริโภคอาหารรส เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย หรือเกี่ยวข้องกับพันธุกรรม จัด ของมัน ของทอด หรือน้ำอัดลมอย่างหลีกเลี่ยง พฤติกรรมในการดำเนินชีวิต เช่น การรับประทาน ไม่ได้ หรือบางคนที่ทำงานดึกดื่ นจนไม่มีเวลากินข้าว เสร็จแล้วนอนทันที การรับประทานของมันๆ มาก ต้องมากินข้าวก่อนนอน เมื่อกินเสร็จก็นอนทันที นับ เกินไป ได้ว่าพฤติกรรมเหล่านี้เป็นพฤติกรรมที่ส่อให้เกิด ภาวะความเครียด โดยผู้ที่มีความเครียดมักมีภาวะ โรคกรดไหลย้อน หลอดอาหารที่มีความไวเกินต่อสิ่งกระตุ้น หลอดอาหารอ่อนไหวต่อกรด เมื่อมีกรดไหลย้อน SYMPTOM ขึ้นมาแม้เพียงเล็กน้อย จะมีอาการแสดงทันที ปัจจัยอื่ นๆ เช่น โรคอ้วน การตั้งครรภ์ สูบบุหรี่ ดื่ ม แสบร้อนบริเวณหน้าอก ซึ่งจะเป็นมากหลังรับประทาน แอลกอฮอล์ น้ำอัดลม การรับประทานยาบางชนิด อาหารมื้ อหนัก เป็นต้น มีอาการเรอเปรี้ยว มีน้ำรสเปรี้ยวหรือรสขมไหลย้อนขึ้นมา ในปาก ท้องอืด แน่นท้อง คล้ายอาหารไม่ย่อย คลื่ นไส้ อาเจียน หลังรับประทานอาหาร เจ็บหน้าอก จุก คล้ายเหมือนมีก้อนติดอยู่ในลำคอ หืดหอบ ไอแห้งๆ เสียงแหบ เจ็บคอเรื้อรัง DEFENSE รับประทานอาหารปริมาณน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง ไม่ควรนอนทันทีหลังรับประทานอาหาร หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ ดื่ มสุรา หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด อาหารที่มีไขมันสูง หลีกเลี่ยงเครื่องดื่ มชา กาแฟ น้ำอัดลม น้ำผลไม้ รับประทานอาหารมื้อเย็น ก่อนเข้านอนอย่างน้อย 3 ชั่วโมง ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ไม่สวมใส่เสื้ อผ้าที่รัดรูปมากเกินไป Health Today | 12

Heart SYMPTOM 3.อาการของโรคหัวใจที่เกิดจากหัวใจ Disease พิการแต่กำเนิด (Heart Defects) 1.อาการของโรคหลอดเลือดหัวใจ ความบกพร่องของหัวใจพิการแต่กำเนิด โรคหัวใจ มักเกิดขึ้นกับคนวัยทำงาน เพราะคน เจ็บแน่นหน้าอก มักมีอาการแน่น อึดอัด มักจะสังเกตเห็นได้หลังจากคลอดไม่นาน วัยทำงานมีการดำเนินชีวิตที่ต้องทำงานหนัก เหมือนมีสิ่งกดทับกลางอก อาจมีอาการ โดยมักมีสัญญาณและอาการผิดปกติ พักผ่อนน้อย ประกอบกับการรับประทานอาหาร ปวดร้าวไปคาง ไหล่ หรือแขนซ้าย มัก ของหัวใจในเด็กอาจรวมถึง: ที่มีไขมันสูงและรสชาติจัด อีกทั้งไม่มีเวลาออก เป็นมากขึ้ นเมื่ อออกกำลังและหากมี กำลังกาย ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้เกิดโรคหัวใจได้ อาการรุนแรงอาจมีอาการเมื่ออยู่เฉย ๆ สีผิวซีดเทา เขียว อย่างง่ายดาย เหนื่ อยง่ายหายใจถี่ อาการบวมที่ขา หน้าท้อง หรือ นอนราบไม่ได้ บริเวณรอบดวงตา Health Today | 13 บวม ในทารกมักมีอาการหายใจถี่ระหว่าง หัวใจเต้นผิดจังหวะ การให้น้ำนมทำ ให้น้ำหนักตัวไม่เพิ่ม หน้ามืดหมดสติ ขึ้น นิ้วปุ้ม (Clubbing of finger) 2. อาการของโรคหัวใจที่เกิดจากภาวะหัวใจ 4. อาการของโรคหัวใจที่เกิดจากกล้าม เต้นผิดจังหวะ (Heart Arrhythmias) เนื้ อหัวใจ (Cardiomyopathy) อาการบวมที่ขา ข้อ และเท้า หัวใจเต้นสะดุด หรือเต้นเร็วๆ รัวๆ อาการเหนื่ อยล้า เหนื่ อยง่าย หายใจ (Heart Palpitations) ถี่ นอนราบไม่ได เจ็บหน้าอกหรือรู้สึกไม่สบาย (Chest การเต้นของหัวใจผิดปกติ pain or discomfort) เวียนศีรษะ มึนงง และเป็นลม หายใจถี่ , เหนื่ อยง่าย วิงเวียนศีรษะ (Lightheadedness) เวียนหัว (Dizziness) เป็นลมหมดสติ (Syncope)

5.อาการของโรคหัวใจที่เกิดจากการติดเชื้อ (Heart Infection) มีไข้หายใจถี่ อ่อนแอ เหนื่ อยล้า มีอาการบวมที่ขาหรือหน้าท้อง การเต้นของหัวใจผิดปกติ อาการไอแห้ง มีผื่ นขึ้นหรือมีจุดที่ผิวหนัง เล็บ ขึ้นผิดปกติ 6. อาการของโรคหัวใจที่เกิดจากลิ้นหัวใจตีบหรือรั่ว (Valvular Heart Disease) อาการเหนื่ อยล้า หายใจถี่ เหนื่ อยง่าย การเต้นของหัวใจผิดปกติ เท้าหรือข้อเท้าบวเจ็บหน้าอก เป็นลมหมดสติ FACTORS การตรวจคลื่ นไฟฟ้าหัวใจ (ECG หรือ EKG) เครื่องบันทึกคลื่ นไฟฟ้าหัวใจ 24 ชั่วโมง หรือ Ambulatory ECG Monitoring หรือ Holter ECG เพื่อบันทึกจังหวะการเต้นของหัวใจอย่างต่อ เนื่ องโดยปกติจะใช้เวลา 24 ถึง 72 ชั่วโมง การตรวจ สอบ โดยใช้เพื่อตรวจจับปัญหาจังหวะการเต้นของ หัวใจที่ไม่พบในระหว่างการตรวจคลื่ นไฟฟ้าหัวใจ ปกติ การตรวจหัวใจด้วยคลื่ นเสียงความถี่สูง หรือ Echocardiogram เป็นการทดสอบแบบใช้คลื่ น เสียงสะท้อนหัวใจ เพื่อสร้างภาพและตรวจวัด โครงสร้างหัวใจโดยละเอียด ขนาดของหัวใจการ ทำงานของกล้ามเนื้ อหัวใจลิ้นหัวใจผนังกั้นและผนัง หุ้มหัวใจ Stress Test เป็นการทดสอบการเพิ่มอัตราการเต้น และบีบตัวของหัวใจด้วยการออกกำลังกาย หรือยา และวัดการตอบสนองทั้งชีพจรความดันโลหิตความ ผิดปกติของคลื่ นไฟฟ้าหัวใจและบางรายวัดความผิด ปกติของกล้ามเนื้ อหัวใจโดยการตรวจ Echocardiogram (Stress Echocardiogram) ช่วยในการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจภาวะหัวใจ เต้นผิดจังหวะบางครั้งประเมินสมรรถภาพภาวะผนัง หัวใจและหลอดเลือด การสวนหัวใจ เป็นการใส่ท่อสั้น ๆ เข้าไปในหลอด เลือดดำหรือหลอดเลือดแดงบริเวณขาหรือแขน เพื่อ ตรวจวัดภายในหัวใจโดยตรงหรือการวินิจฉัยโรค หลอดเลือดหัวใจโรคลิ้นหัวใจหรือผนังกั้นหัวใจผิด ปกติโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด การสแกนเอกซเรย์คอมพิวเตอร์หัวใจ หรือ CT SCAN เป็นการทดสอบแบบใช้การเอ็กซเรย์เพื่อ สร้างภาพโครงสร้างโดยละเอียด เพื่อวัดคะแนน หินปูนของหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Calcium Score) และหากฉีดสารทึบรังสีด้วย จะได้ภาพของ หลอดเลือดหัวใจหรือหลอดเลือดแดงใหญ่ หลอด เลือดปอด เพื่อวินิจฉัยโรคหลอดเลือดต่าง ๆ ความ ผิดปกติของกล้ามเนื้ อหัวใจ ผนังหัวใจ Health Today | 14

CAUSE สาเหตุของโรคหัวใจขึ้นอยู่กับชนิดของโรคหัวใจนั้น ๆ สำหรับโรคหลอดเลือดหัวใจจากภาวะการเสื่ อมของ หลอดเลือด en มีสาเหตุไม่ชัดเจนแต่พบว่าสัมพันธ์ กับปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ โดยปัจจัยเสี่ยงแบ่งออกเป็น สองประเภท คือ ปัจจัยเสี่ยงที่ควบคุมได้และสามารถปรับเปลี่ยน ได้ ปัจจัยเสี่ยงที่ควบคุมไม่ได้และไม่สามารถ เปลี่ยนแปลง เช่น อายุ เพศ หรือประวัติสุขภาพ ของคนในครอบครัวได้ แต่สามารถชะลอโรคด้วย การควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่กำหนดเองได้ก็จะ ป้องกันปัญหาโรคหัวใจที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ DEFENSE วิธีการป้องกันโรคหัวใจนั้นขึ้นอยู่กับชนิดของโรคหัวใจ สำหรับโรคหลอดเลือดหัวใจแม้ไม่มีสาเหตุเฉพาะเจาะจง ชัดเจน แต่ก็มีปัจจัยสิ่งหลายอย่างที่หากเราควบคุมได้ดี จะช่วยลดโอกาสโรคหลอดเลือดหัวใจลงได้มาก เช่น หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ ควบคุมความดันโลหิตไม่ให้สูงเกินมาตรฐาน ควบคุมคอเลสเตอรอล และเบาหวาน ออกกำลังกายสม่ำเสมอ อย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน รับประทานอาหารที่มีเกลือและไขมันอิ่มตัวต่ำ ควบคุมน้ำหนักไม่ให้เกินมาตรฐาน ลดความเครียด ฝึกสุขอนามัยที่ดี TREATMENT การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต วิธีรักษาโรคหัวใจด้วยวิธีนี้ เป็นวิธีช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจได้ด้วย การรับประทานอาหารสุขภาพ เช่น ลดการรับ ประทานอาหารที่มีน้ำตาลสูง เกลือโซเดียมสูง ไขมัน อิ่มตัวสูง คอเลสเตอรอลสูง รับประทานอาหารที่มี ไขมันไม่อิ่มตัวแทน เพิ่มการรับประทานผักและผล ไม้หลากหลายชนิด ออกกำลังกายสม่ำเสมออย่าง น้อย 150-300 นาทีต่อสัปดาห์ งดสูบบุหรี่และ เครื่องดื่ มแอลกอฮอล์ ยา หากการปรับเปลี่ยงวิถีชีวิตเพียงอย่างเดียวยัง ไม่เพียงพอ แพทย์อาจจ่ายยาเพื่อควบคุมโรคหัวใจ หรือปัจจัยเสี่ยง ซึ่งจะขึ้นอยู่กับประเภทของโรค หัวใจ การรักษาด้วยหัตถการหลอดเลือดหรือการผ่าตัด การรักษาด้วยเวชศาสตร์ฟื้ นฟูและกายภาพบำบัด ช่วยฟื้ นฟูร่างกายให้สามารถกลับมาแข็งแรงใช้ชีวิต ประจำวันได้ และหากเป็นไปได้ให้สามารถออกกำลัง กายได้มากขึ้น Health Today | 15

Cystitis โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ อีกหนึ่งโรคยอดฮิตของคนวัยทำงาน สาเหตุหลัก ๆ ที่ทำให้คนเกิดโรคนี้คือ เมื่อ ปวดปัสสาวะแล้วไม่ยอมลุกไปเข้าห้องน้ำ ดื่ มน้ำน้อย หรือเลือกดื่ มกาแฟแทนน้ำเปล่า ซึ่งพฤติกรรมที่ทำจนเกิด เป็นนิสัยแบบนี้ส่งผลให้เกิดโรคร้ายได้ CAUSE SYMPTOM FACTORS เกิดจากการติดเชื้ อแบคทีเรียในระบบ 1. มีอาการขัดเบา คือ ถ่ายปัสสาวะ การกลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน ทำให้เชื้อ ทางเดินปัสสาวะ โดยเฉพาะเชื้อ กะปริดกะปรอย(ปัสสาวะทีละน้อยๆ แต่ โรคในปัสสาวะเจริญเติบโตได้ดี แบคทีเรีย เอสเชอริเชีย โคไล หรือ อี บ่อยครั้ง) มีอาการคล้ายถ่ายปัสสาวะไม่สุด การดูแลรักษาสุขอนามัยบริเวณอวัยวะ โคไล(Escherichia coli : E. coli), เพศไม่ดี โดยเฉพาะผู้หญิง หากทำความ เคล็บซิลลา(Klebsiella), สูโดโมแนส 2. รู้สึกปวดบริเวณท้องน้อยหรือหัวหน่าว สะอาดไม่ถูกวิธี เช่น เช็ดทำความสะอาด (Pseudomonas), เอนเทอโรแบก ปวดแสบ ขัด ขณะปัสสาวะโดยเฉพาะตอน จากด้านหลังมาด้านหน้า ก็จะทำให้มีโอกาส เตอร์(Enterobacter) ซึ่งเชื้อเหล่านี้ ปัสสาวะสุด ติดเชื้ อจากช่องคลอดและทวารหนักได้ จะมีอยู่มาก ที่บริเวณรอบทวารหนัก การสวนล้างช่องคลอดด้วยยาปฎิชีวนะ สามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง 3. ปัสสาวะขุ่น บางครั้งมีกลิ่นผิดปกติ ในราย ทำให้แบคทีเรียชนิดดีที่ทำหน้าที่ป้องกัน ที่เป็นมากอาจปัสสาวะมีเลือดปน มักไม่มี เชื้อโรคถูกกำจัดออกไป จึงเกิดการติดเชื้อ ไข้(ยกเว้นถ้ามีกรวยไตอักเสบร่วมด้วย ผู้ ง่ายขึ้น ป่วยจะมีไข้สูง หนาวสั่น ปัสสาวะสีขุ่น และ การติดเชื้ อทางเพศสัมพันธ์ มีอาการปวดเอวร่วมด้วย) ในเด็กเล็กอาจ มีอาการปัสสาวะ รดที่นอน และอาจมีไข้ Health Today | 16 เบื่ออาหาร อาเจียนร่วมด้วย

การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในเพศหญิงวัยหมด ประจำเดือน เมื่อฮอร์โมนเพศหญิงลดลง ทำให้ความ ชุ่มชื้ นบริเวณเยื่ อบุ ช่องคลอดและเยื่ อบุ ท่อปัสสาวะซึ่ง ช่วยป้องกันการติดเชื้ อลดลงตามไปด้วย ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หากควบคุมโรคได้ไม่ดีก็มีโอกาส ติดเชื้อได้ง่ายเนื่ องจากร่างกายมีภูมิต้านทานโรคต่ำ อยู่แล้ว ผู้ป่วยต้องรับประทานยากดภูมิต้านทาน8. การใส่สาย สวนปัสสาวะเป็นเวลานาน DEFENSE 1. ควรดื่ มน้ำสะอาดมากๆ ประมาณ 6-8 แก้ว ต่อวัน (เมื่อ ไม่มีโรคที่ต้องจำกัดการดื่ มน้ำ เช่น โรคหัวใจล้มเหลว) ซึ่ง การดื่ มน้ำจะช่วยขับเชื้อโรคออกและลดการปวดแสบปวด ร้อน เวลาปัสสาวะได้ 2. ควรถ่ายปัสสาวะทุกครั้งที่รู้สึกปวด ไม่กลั้นปัสสาวะ 3. หลีกเลี่ยงสารอาหารที่ระคายเคืองต่อกระเพาะปัสสาวะ เช่น กาแฟ แอลกอฮอล์ น้ำอัดลม น้ำผลไม้ใส่น้ำตาล 4. พยายามเคลื่ อนไหวร่างกายเสมอ ไม่ควรนั่งแช่อยู่กับที่ เป็นเวลานานๆ 5. การทำความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศหรือภายหลังการ ขับถ่าย(ในผู้หญิง) ต้องทำความสะอาดจากด้านหน้าไป ด้านหลังเสมอ เพื่อป้องกันเชื้อโรคปนเปื้ อนผ่านเข้าท่อ ปัสสาวะเข้ามาในกระเพาะปัสสาวะ 6. ในผู้หญิงไม่ควรใช้วิธีคุมกำเนิดด้วยการใช้ยาฆ่าอสุจิหรือ การใช้ฝาครอบปากมดลูก เพราะเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิด การระคายเคืองและการบาดเจ็บต่อเนื้ อเยื่อปากท่อ ปัสสาวะและปากช่องคลอด ส่งผลให้เกิดการติดเชื้อได้ ง่ายขึ้น 7. ไม่ควรใช้สเปรย์หรือยาดับกลิ่นตัวในบริเวณอวัยวะเพศ เพราะอาจก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อเนื้ อเยื่อปากท่อ ปัสสาวะและปากช่องคลอด ซึ่งเป็นการเพิ่มโอกาสเกิด การบาดเจ็บและการติดเชื้อของเนื้ อเยื่อ 8. ควรอาบน้ำจากฝักบัว หลีกเลี่ยงการอาบน้ำในอ่าง เพราะ อาจเพิ่มโอกาสในการติดเชื้ อได้ง่ ายขึ้ น 9. ควรรักษาสุขอนามัยพื้นฐาน(สุขบัญญัติแห่งชาติ) เพื่อให้ สุขภาพร่างกายแข็งแรง และลดโอกาสการติดเชื้อรุนแรง 10. ผู้ป่วยไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง เพราะอาจทำให้ได้ยา ที่ไม่ตรงกับชนิดของโรค หรือขนาดและระยะเวลาในการ ใช้ยาไม่ถูกต้อง จึงอาจส่งผลให้โรคไม่หาย และอาจกลาย เป็นกระเพาะปัสสาวะอักเสบเรื้อรังจากเชื้อดื้ อยาได้ Health Today | 17

Healthy 3 ON EUSSI Food8102 GUA FRUIT AND FRESH Health Today | 18

Food for การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม เจริญตา เลือกรับประทานอาหารที่ the ต่อสุขภาพเป็นเรื่องที่จำเป็น โดย อุดมด้วยวิตามิน เอ บี1 บี12 ซี อี ลู Elderly เฉพาะผู้สูงวัยซึ่งเป็นวัยที่ต้องการ ทีน ซีแซนทีน ซิลิเนียม และสังกะสี พลังงานและสารอาหารแตกต่างจาก ซึ่งช่วยในการทำงานของจอประสาท Health Today | 19 วัยทำงาน หรือผู้ที่มีสุขภาพร่างกาย ตา ชะลอการเกิดต้อกระจกและจอ ปกติ เนื่ องจากประสิทธิภาพการ ประสาทตาเสื่อม ซึ่งพบใน ตำลึง ทำงานที่ลดลงของระบบต่างๆ ดังนั้น ฟักทอง กะหล่ำดอก จึงต้องมีความเข้าใจเรื่องอาหารและ พาจำดี บำรุงสมองและระบบ โภชนาการเป็นอย่างดี ซึ่งความ ประสาท ป้องกันการชาตามปลาย ต้องการพลังงานและสารอาหารในผู้ มือปลายเท้า ด้วยการรับประทาน สูงอายุแต่ละรายก็จะแตกต่างกันไป อาหารที่มีกรดไขมันโอเมก้า3 สารสื่อ ขึ้นกับอายุ น้ำหนัก ส่วนสูง และการใช้ ประสาทโคลิน เลซิตินและวิตามินบี พลังงานในแต่ละวัน ต่างๆ ได้แก่ บี1 บี6 และบี12 เป็นต้น ซึ่งพบใน ปลาทะเลน้ำลึก ใบแปะก๊วย KEY WORDS ไข่แดง กล้วย มีพลัง ผู้สูงอายุ ต้องการพลังงาน กินเพลิน สร้างบรรยากาศการรับ 1,400 ถึง 1,800 กิโลแคลอรีต่อวัน ประทานอาหารให้อร่อย ด้วยการรับ ขึ้นอยู่กับอายุ น้ำหนัก ส่วนสูง และ ประทานอาหารพร้อมหน้าพร้อมตา การใช้พลังงานในแต่ละวัน ซึ่งควร ทั้งครอบครัว มีกิจกรรมทำร่วมกัน เสริมสร้างกล้ามเนื้ อและชะลอความ เช่น ร่วมกันปรุงประกอบอาหาร เสื่อมของกระดูก ด้วยการรับ เปลี่ยนบรรยากาศรับประทานอาหาร ประทานอาหารที่ อุ ดมด้วยโปรตี น นอกบ้าน หรือไปเที่ยวทั้งครอบครัว แคลเซียม วิตามินดี เค เป็นบางโอกาส

Blood Nourishing Food การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมต่อสุขภาพเป็นเรื่องที่ จำเป็น โดยเฉพาะผู้สูงวัยซึ่งเป็นวัยที่ต้องการพลังงานและสาร อาหารแตกต่างจากวัยทำงาน หรือผู้ที่มีสุขภาพร่างกายปกติ เนื่ องจากประสิทธิภาพการทำงานที่ลดลงของระบบต่างๆ ดัง นั้น จึงต้องมีความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการเป็นอย่างดี ซึ่งความต้องการพลังงานและสารอาหารในผู้สูงอายุแต่ละราย ก็จะแตกต่างกันไป ขึ้นกับอายุ น้ำหนัก ส่วนสูง และการใช้ พลังงานในแต่ละวัน ANEMIA หนึ่งในสาเหตุของภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก คือ การได้รับธาตุเหล็กน้อย เนื่ องจากการรับประทานอาหารที่มี ธาตุเหล็กไม่เพียงพอ ไม่รับประทานเนื้ อสัตว์ เลือด ตับ เช่น คนที่รับประทานอาหารมังสวิรัติหรือรับประทานผักที่มีสารต่อ ต้านการดูดซึมของธาตุเหล็กเป็นจำนวนมาก ซึ่งความ ต้องการธาตุเหล็กในแต่ละช่วงวัยจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ สรีรวิทยา การสูญเสียทางประจำเดือน และการเจริญเติบโต ดังนั้นปริมาณเหล็กที่ร่างกายควรได้รับ ผู้ใหญ่ชาย 1.04 มิลลิกรัมต่อวัน ผู้ใหญ่หญิง 9.4 – 24.7 มิลลิกรัมต่อวัน IRON-RICH FOODS 1. รับประทานอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็กที่อยู่ในรูปองค์ประ กอบของฮีม ซึ่งมีมากในเนื้ อสัตว์ เลือด ตับ เครื่องในไก่ ปลา กุ้ง หอย เป็นต้น 2. รับประทานเนื้ อสัตว์วันละ 6 – 12 ช้อนกินข้าว เนื่ องจาก เนื้ อสัตว์ต่าง ๆ นอกจากจะมีเหล็กสูงแล้วยังมีผลทำให้ การดูดซึมธาตุเหล็กที่ไม่ใช่ฮีมจากอาหารอื่ นดีขึ้น 3. รับประทานผลไม้วันละ 3 – 5 ส่วน โดยเฉพาะผลไม้ที่มีรส เปรี้ยว เพื่อช่วยให้ร่างกายดูดซึมธาตุเหล็กที่ไม่ใช่ฮีมจาก อาหารได้มากขึ้น 4. รับประทานผักผลไม้สด เพราะความร้อนในการประกอบ อาหารจะทำลายวิตามินซีได้ 5. ไม่ควรดื่ มนมวัวหรือนมถั่วเหลืองพร้อมมื้ออาหาร หรือ พร้อมยาเสริมธาตุเหล็ก เพราะแคลเซียมในนมและไฟเตท ในนมถั่วเหลืองจะทำให้การดูดซึมธาตุเหล็กจากยาลดลง Health Today | 20

3 ON EUSSI 8102 GUA