Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่4การเงินและการคลัง1

หน่วยที่4การเงินและการคลัง1

Published by namtanlovenoozii, 2021-01-28 15:30:49

Description: หน่วยที่4การเงินและการคลัง1

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 การเงินและการคลงั

คำนำ รายงานเล่มน้ีจดั ทาข้ึนเพื่อเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ า เศรษฐศาสตร์ เกี่ยวกบั เรื่องการเงินและการคลงั ซ่ึงหน่วย การเงินและการคลงั การเงิน คือ ส่ิงท่ีสงั คมยอมรับในการ แลกเปล่ียนกบั สินคา้ หรือบริการ การคลงั คือ การดาเนินการ ดา้ นการเงินของภาครัฐท้งั ดา้ นรายรับและรายจ่าย คณะผจู้ ดั ทาจึงไดเ้ ลือกหวั ขอ้ น้ีมาจดั ทา E-Book เน่ืองจากเป็น เร่ืองที่น่าสนใจและเป็นเรื่องใกลต้ วั คณะผจู้ ดั ทาขอขอบคุณ คุณ ครูณฐั รินีย์ สมนึก ผใู้ หค้ วามรู้ และแนวทางการศึกษา หวงั วา่ E- Book เล่มน้ีจะใหค้ วามรู้และเป็นประโยชนแ์ ก่ผอู้ ่านทุกๆท่าน หากผดิ พลาดประการใด คณะผจู้ ดั ทาขออภยั มา ณ ท่ีน้ีดว้ ย คณะผจู้ ดั ทา

สารบญั 3 1. การเงิน 3 1.1 ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั เงิน 6 1.2 เงินเฟ้อและเงินฝืด 12 1.3 นโยบายการเงิน 15 2. การคลงั ภาครัฐ 15 2.1 งบประมาณแผน่ ดิน 21 2.2 อตั ราภาษี 28 2.3 นโยบายการคลงั

1.กำรเงิน การเงิน หมายถึง การศึกษาเก่ียวกบั เงินและการตดั สินใจทางการเงิน ใหเ้ กิดการหมุนเวยี นโดยท่ีเนน้ ไปท่ีการจดั สรรดา้ นการเงินอยา่ งเป็นระบบ โดยสถาบนั ทางการเงินเพ่ือใหเ้ กิดประโยชนท์ ้งั 3ประเภท ไดแ้ ก่ การเงิน สาธารณะ การเงินส่วนบุคคล การเงินธุรกิจ 1.1ควำมรู้เบือ้ งต้นเกยี่ วกบั เงิน ประเภทของกำรเงนิ -กำรเงนิ สำธำรณะ คือ บทบาทและหนา้ ท่ีของรัฐในการวางนโยบาย เกี่ยวกบั การบริหารการเงินของรัฐบาล และเป็นภารกิจหน่ึงของรัฐในการ กาหนดบทบาทและหนา้ ที่ของรัฐวา่ จะมีการดาเนินงานในดา้ นใด -กำรเงนิ ส่วนบุคคล คือ การจดั ระเบียบการเงินของบุคคลอยา่ งมี ประสิทธิภาพ ดว้ ยการรู้จกั จดั หาเงินเขา้ มา และใชจ้ ่ายออกไปอยา่ งถกู ตอ้ ง บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ -กำรเงินธุรกจิ คือ การศึกษาการจดั การทางการเงิน และการตดั สินใจทาง การเงินของบริษทั

ระบบของกำรเงิน ระบบการเงิน หมายถึง ระบบท่ีเอ้ืออานวยความสะดวกใหผ้ อู้ อมและผู้ ลงทุนมาพบกนั โดยมีตลาดการเงินเป็นตวั กลางซ่ึงมีสถาบนั สาคญั คือ นายหนา้ ผคู้ า้ ผปู้ ระกนั การขาย ศนู ยก์ ลางที่ใหบ้ ริการทางดา้ นการขาย ตลอดจนกรอบกฎหมาย ตลาดการเงินจึงมีบทบาทสาคญั ในระบบ เศรษฐกิจ สถำบันทำงกำรเงิน สถาบนั ทางการเงิน คือ สถาบนั ท่ีทาหนา้ ท่ีระดมเงินออม ใหก้ ยู้ มื แก่ผทู้ ี่ ตอ้ งการเงินไปเพ่อื การบริโภคหรือเพอ่ื การลงทุนดาเนินธุรกิจ โดยจ่าย ดอกเบ้ียใหแ้ ก่ผอู้ อม และคิดดอกเบ้ียจากผกู้ ูย้ มื กิจกรรมเหลา่ น้ีเกิดข้ึนเมื่อ คนเราประกอบอาชีพมีรายไดเ้ กิดข้ึน ซ่ึง สถาบนั ทางการเงินแบ่งออกเป็น 2ประเภท -สถำบันกำรเงินทป่ี ระกอบกจิ กำรธนำคำร หมายถึง สถาบนั การเงินที่ ดาเนินงานดา้ นรับฝากเงิน ท่ีถอนคนื ไดโ้ ดยใชเ้ งินสด เชค็ ดราฟต์ หรือ หนงั สือสั่ง ธนาคารแบง่ เป็น 3 ประเภท ดงั น้ี – ธนำคำรกลำง ทาหนา้ ที่ควบคมุ ปริมาณเงินและสินเช่ือในตลาด โดย กาหนดอตั ราเงินสารอง

– ธนำคำรพำณชิ ย์ หมายถึง ธนาคารและสาขาของธนาคารตา่ งประเทศที่ ไดร้ ับอนุญาตใหท้ าหนา้ ที่รับฝากเงินและจ่ายเงินคืนเม่ือถกู ทวงถาม – ธนำคำรเฉพำะกจิ หมายถึงธนาคารท่ีจดั ต้งั ข้ึนโดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ดาเนินกิจการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง เช่น ธนาคารออมสิน สถำบนั กำรเงนิ ทีไ่ ม่ได้ประกอบกจิ กำรธนำคำร เช่น บริษทั เงินทุน บริษทั กองทุนรวม สหกรณ์ ประโยชน์และควำมสำคญั ของกำรเงนิ การเงินเป็นสิ่งสาคญั มาก เพราะมีบทบาทมากในชีวติ ประจาวนั ของ เรา ตอนเราไปซ้ือของการใชเ้ งินนี่แหละในการแลกเปลี่ยน ซ่ึงเงิน เป็นส่ิง ท่ีสังคมยอมรับวา่ เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ความสาคญั จึงมีมาก

1.2เงินเฟ้อเงนิ ฝื ด เงนิ เฟ้อ เงินเฟ้อ หมายถึง ภาวะที่ระดบั ราคาสินคา้ โดยทว่ั ๆ ไปเพมิ่ สูงเรื่อยๆ อยา่ ง ตอ่ เนื่องหากสินคา้ มีระดบั ราคาสินคา้ สูง ณ เวลาใดเวลาหน่ึงก็ยงั ไม่ถือวา่ เกิดเงินเฟ้อ จาเป็นตอ้ งสูงข้ึนเร่ือยๆ โดยอาจมีสินคา้ บางชนิดราคาสูงข้ึน ขณะที่ราคาสินคา้ บางชนิดคงที่หรือลดต่าลง แต่เมื่อรวมราคาสินคา้ ท้งั หมด โดยเฉล่ียแลว้ สูงข้ึน เครื่องมือท่ีใชว้ ดั การเปล่ียนแปลงของราคา คือ “ดชั นี ราคา” ซ่ึงนิยมวดั ในรูปดชั นีราคาผบู้ ริโภค และดชั นีราคาขายส่ง ดชั นีรำคำ คอื เคร่ืองวดั ราคาเฉลี่ยของสินคา้ และบริการจานวนหน่ึงหรือ ตะกร้าหน่ึงของปี ใดปี หน่ึงเปรียบเทียบกบั ราคาเฉลี่ยของสินคา้ และบริการ จานวนหรือตะกร้าเดียวกนั ในปี ที่อา้ งอิง หรือท่ีเรียกวา่ ปี ฐาน

สำเหตุของกำรเกดิ เงนิ เฟ้อ สาเหตุที่ทาใหเ้ กิดเงินเฟ้อที่สาคญั มี 2 ประการ คือ สาเหตุท่ีเกิดจากแรงดึง ของอปุ สงค์ สาเหตุที่เกิดจากแรงผลกั ดนั ทางดา้ นอุปทาน สำเหตุทเ่ี กดิ จำกแรงดึงของอปุ สงค์ ไดแ้ ก่ การที่อปุ สงคม์ วลรวมสาหรับ สินคา้ และบริการมีมากกวา่ อปุ ทานมวลรวมของสินคา้ และบริการ เงินเฟ้อ ท่ีมีสาเหตุมาจากดา้ นอปุ สงคส์ าหรับสินคา้ บางคร้ังเรียกวา่ “เงินเฟ้อท่ีเกิดจากแรงดึงของอุปสงค”์ สำเหตุทเี่ กดิ จำกแรงผลกั ดนั ทำงด้ำนอุทำน ไดแ้ ก่ การท่ีอุปทานมวล รวมสาหรับสินคา้ และบริการลดลง เนื่องจากแรงงานเรียกร้องเอาค่าแรง สูงข้ึน ทาใหต้ น้ ทุนการผลิตเพิม่ ข้ึน เม่ือตน้ ทุนการผลิตเพม่ิ ข้ึน ผผู้ ลิตจะลด ปริมาณการผลิตลง หรือผผู้ ลิตตอ้ งการกาไรสูงข้ึน จึงบวกกาไรเขา้ ไวเ้ ป็น ส่วนหน่ึงของตน้ ทุนการผลิต ซ่ึงทาให้ตน้ ทุนการผลิตเพม่ิ สูงข้ึน และ ผผู้ ลิตจะลดปริมาณการผลิตลง เงินเฟ้อท่ีมีสาเหตุจากดา้ นอุปทานบางคร้ัง เรียกวา่ “เงินเฟ้อจากแรงดนั ของตน้ ทุน” ผลกระทบของเงินเฟ้อ เม่อื เกิดภาวะเงนิ เฟอ้ จะมผี ลกระทบต่อหน่วยเศรษฐกิจในลกั ษณะต่างๆ กนั และผลกระทบจะมีมากนอ้ งเพยี งใด ขนึ้ อยกู่ บั การคาดคะเนเก่ียวกบั

เงินเฟ้อท่จี ะเกิดขนึ้ ถา้ หนว่ ยเศรษฐกิจคาดคะเนเงนิ เฟ้อไดถ้ กู ตอ้ ง ผลกระทบของเงินเฟ้ออาจจะไม่กอ่ ใหเ้ กิดปัญหารุนแรงนกั เพราะวา่ หน่วย เศรษฐกิจอาจจะหาวธิ ีปอ้ งกนั ความสญู เสียท่ีอาจจะเกิดขนึ้ จากภาวะเงิน เฟ้อได้ ในทางตรงขา้ ม ถา้ การคาดคะเนเงนิ เฟ้อของหนว่ ยเศรษฐกิจ ผิดพลาด ผลกระทบของเงินเฟอ้ จะมมี ากจนเกิดการไดเ้ ปรยี บเสียเปรยี บ ขนึ้ ดงั นนั้ ผลกระทบของเงนิ เฟ้ออาจจะเป็นไปไดใ้ นลกั ษณะต่างๆ ดงั นี้ 1. อานาจซ้ือของเงินลดลง 2. การกระจายรายไดเ้ หล่ือมลา้ 3. อตั ราดอกเบ้ียท่ีเป็นตวั เงินสูงข้ึน 4. ผลท่ีมีต่อการคลงั ของรัฐบาล 5. ผลท่ีมีต่อดุลการชาระเงินของประเทศ 6. ผลท่ีมีตอ่ เศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ กำรแก้ไขปัญหำเงนิ เฟ้อ เม่ือเกิดเงินเฟ้อโดยมีสาเหตุมาจากอุปสงคม์ วลรวมเพ่มิ ข้นึ รัฐบาลหรือ ธนาคารกลางอาจแกไ้ ขโดยการใชว้ ิธีทางการเงินตา่ งๆ ดงั น้ี 1. การใชม้ าตรการของนโยบายการเงิน 2. การควบคุมโดยตรง 3. การใชอ้ ตั ราดอกเบ้ียเงินฝากและเงินกูข้ องสถาบนั การเงิน

เงินฝื ด ควำมหมำยของเงินฝื ด เงินฝื ด คือ ภาวะที่ระดบั ราคาสินคา้ และบริการโดยทวั่ ๆ ไปลดลงเร่ือยๆ และตอ่ เนื่องผลของภาวะเงินฝืดจะตรงขา้ มกบั ภาวะเงินเฟ้อ กล่าวคือผมู้ ี รายไดป้ ระจาและเจา้ หน้ีจะไดร้ ับประโยชน์ส่วนพอ่ คา้ นกั ธุรกิจ และผถู้ ือ หุน้ จะเสียเปรียบ ในภาวะเช่นน้ีทาใหผ้ ผู้ ลิตขายสินคา้ ไมอ่ อก การผลิต การลงทุนและการจา้ งงานลดลง ทาใหเ้ กิดการวา่ งงานเพ่มิ ข้ึน การวดั การ เปลี่ยนแปลงของระดบั ราคาจะใชด้ ชั นีราคาเป็นตวั ช้ีวดั เช่นเดียวกบั เงินเฟ้อ สำเหตุทีท่ ำให้เกดิ เงินฝื ด สาเหตุท่ีทาใหเ้ กิดเงินฝืด คือ ความตอ้ งการซ้ือสินคา้ และบริการมีนอ้ ยกวา่ ปริมาณสินคา้ และบริการท่ีผลิตไดห้ รืออปุ สงคม์ วลรวมนอ้ ยกวา่ อุปทาน มวลรวม (AD<AS) ซ่ึงทาใหเ้ กิดอปุ ทานส่วนเกิน (Excess Supply) หรือ สินคา้ ขายไมอ่ อก นอกจากน้ียงั ส่งผลใหธ้ ุรกิจลดปริมาณการผลิต เกิด ปัญหาการวา่ งงาน และทาใหร้ ายไดป้ ระชาชาติลดลงในที่สุด ผลของภาวะเงินฝื ด

ภำวะเงนิ ฝื ด เป็นภาวะที่ประชาชนมีความสามารถที่จะจ่ายเงินซ้ือสินคา้ และบริการไดน้ อ้ ยกวา่ ปริมาณสินคา้ และบริการที่มีอยเู่ ม่ือสินคา้ ที่ผลิตได้ ขายไม่ออก ผผู้ ลิตจะตอ้ งลดราคาสินคา้ และบริการจนขาดทุนหรือไดร้ ับกา ไรนอ้ ยลงไม่คุม้ กบั ทุน ผผู้ ลิตบางส่วนอาจเลิกการผลิตหรือลดปริมาณการ ผลิตลง จนเกิดปัญหาการวา่ งงานจานวนมาก และเม่ือมีคนวา่ งงานจานวน มาก คนเหล่าน้นั ไม่มีรายไดพ้ อที่จะจบั จ่ายใชส้ อยตามปกติได้ สินคา้ และ บริการท่ีผลิตไดก้ ข็ ายไมอ่ อก ทาใหร้ ะดบั การผลิตและการจา้ งงานลดต่าลง ไปอีกในภาวะเช่นน้ี รายไดข้ องคนส่วนรวมจะลดต่าลงกวา่ เป้าหมายท่ี รัฐบาลกาหนดไวใ้ นแผนพฒั นาประเทศภาวะเงินฝืดจึงมผี ลกระทบต่อ ประชาชนแตล่ ะอาชีพ ดงั น้ี 1. เกษตรกร 2. พอ่ คา้ และนกั ธุรกิจ 3. ผมู้ ีรายไดป้ ระจา 4. ลกู หน้ีและเจา้ หน้ี 5. รัฐบาล

กำรแก้ไขภำวะเงินฝื ด เม่ือเกิดภาวะเงินฝืดสามารถแกไ้ ขไดโ้ ดยนโยบายการเงินและนโยบายการ คลงั เช่นกนั เพราะนโยบายท้งั สองน้ี นอกจากจะมีมาตรการในการลดการ ใชจ้ ่ายมวลรวมแลว้ (ในกรณีแกไ้ ขภาวะเงินเฟ้อ) กย็ งั มีมาตรการในการ ช่วยใหก้ ารใชจ้ ่ายมวลรวมเพิ่มข้ึน ซ่ึงสามารถจดั อปุ ทานส่วนเกินใหห้ มด ไปไดภ้ าวะเงินฝืดกจ็ ะสินสุดลง มาตรการท่ีแกไ้ ขภาวะเงินฝืด

1.3 นโยบำยกำรเงนิ นโยบำยกำรเงิน คือ นโยบายท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เคร่ืองมือทางการเงิน ไดแ้ ก่ ปริมาณเงิน อตั ราแลกเปลี่ยน และอตั ราดอกเบ้ีย ทาโดยการปรับลด-เพิม่ ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจท่ีจะมีผลต่อการกาหนดทิศทางของอตั รา แลกเปลี่ยนใหแ้ ขง็ คา่ หรืออ่อนคา่ และการปรับลด-เพ่มิ ของอตั ราดอกเบ้ีย ซ่ึงเป็นหนา้ ท่ีของธนาคารกลาง หรือธนาคารแห่งประเทศไทยในการ กาหนดทิศทางของการดาเนินนโยบายการเงิน

นโยบำยกำรเงินแบบขยำยตวั -กำรเปล่ยี นแปลงอตั รำเงินสดสำรองทต่ี ้องดำรง ของธนาคารพาณิชย์ ซ่ึงหมายถึง เงินฝากที่ธนาคารพาณิชยต์ อ้ ง ฝากไวก้ บั ธนาคารกลาง ซ่ึงอาจกาหนดไวท้ ่ีร้อยละ6 -กำรซื้อขำยหลกั ทรัพย์ หรือพนั ธบตั รของธนาคารกลางกบั ภาคเอกชนการดาเนิน นโยบายการเงินแบบขยายตวั ธนาคารกลางจะซ้ือหลกั ทรัพยจ์ าก ภาคเอกชน เพอ่ื ปลอ่ ยเมด็ เงินเขา้ สู่ระบบเศรษฐกิจ ทาใหป้ ริมาณ เงินในระบบเศรษฐกิจมีมากข้ึนซ่ึงจะสนบั สนุนใหเ้ กิดการ บริโภค การลงทุนและทาใหเ้ ศรษฐกิจขยายตวั ต่อไป

-กำรเปลยี่ นแปลงอตั รำซื้อลด คือการเปลี่ยนแปลงอตั ราดอกเบ้ียเงินกูท้ ่ี ธนาคารกลางคิดจากธนาคารพาณิชย์ การดาเนินนโยบายการเงินแบบ ขยายตวั จะทาโดยการปรับลดอตั ราดอกเบ้ียเงินกยู้ มื ซ่ึงจะมีผลทาใหเ้ งินสด สารองของธนาคารพาณิชยเ์ พมิ่ ข้ึน และทาให้ปริมาณเงินในระบบ เศรษฐกิจเพม่ิ ข้ึน -กำรขอควำมร่วมมือให้ธนำคำรพำณชิ ย์ปฏิบัติตำม เช่นการขอใหธ้ นาคารพาณิชยป์ ล่อยสินเช่ือใหก้ บั กิจกรรมทางเศรษฐกิจ บางประเภทท่ีมีความสาคญั เช่น ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเลก็ -นโยบำยกำรเงนิ แบบหดตวั ทาไดโ้ ดยการลดปริมาณเงินผา่ นช่องทางการเพม่ิ อตั ราเงินสดสารองการ ขายหลกั ทรัพยใ์ หแ้ ก่ภาคเอกชนและการเพิม่ อตั ราซ้ือลดซ่ึงจะเป็นการดูด เงินออกจากระบบเศรษฐกิจซ่ึงธนาคารกลางมกั จะเลือกทาในยามที่ ประเมินวา่ เศรษฐกิจอาจจะร้อนแรงเกินไปจนอาจเกิดผลเสียตามมาใน ภายหลงั เช่นในช่วงท่ีเกิดฟองสบูใ่ นตลาดท่ีอยอู่ าศยั หรือในช่วงท่ีเกิดภาวะ เงินเฟ้อสูงๆในประเทศ

2.กำรคลงั ภำครัฐ การคลงั ภาครัฐ ประกอบดว้ ย การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี พฤติกรรม กิจกรรมการดาเนินงาน ตลอดจนแนวปฏิบตั ิต่างๆเก่ียวกบั การหารายได้ การใชจ้ ่ายสาธารณะ ภาษีอากร การก่อหน้ีสาธารณะ การใชจ้ ่ายของ รัฐบาล บทบาทของรัฐบาลในทางเศรษฐกิจ นโยบายการเงิน นโยบาย การคลงั ระดบั ประเทศ/ทอ้ งถ่ิน รวมท้งั ผลกระทบจากกิจกรรมที่มีผลตอ่ สังคมและประเทศโดยส่วนรวม 2.1งบประมำณแผ่นดนิ งบประมาณแผ่นดนิ คอื อะไร? คอื แผนเก่ียวกบั การใชจ้ า่ ยของรฐั บาลและการจดั หารายรบั ใหเ้ พียงพอ กบั การใชจ้ า่ ยในรอบ ระยะเวลาหน่งึ โดยปกตมิ ีระยะเวลา 1 ปี ดงั นนั้ จงึ เรยี กว่า งบประมาณแผน่ ดินประจาปี ซง่ึ จะเรมิ่ ตน้ ในวนั ท่ี 1 ตลุ าคมของ ปีไปจนถึงวนั ท่ี 30 กนั ยายนของปีถดั ไป สานกั งบประมาณเป็น หน่วยงานที่รบั ผิดชอบจดั ทางบประมาณแผ่นดนิ และนาเสนอเพ่อื พจิ ารณา เม่ือไดร้ บั อนมุ ตั แิ ลว้ จงึ ตราออกมาเป็นพระราชบญั ญตั ิ งบประมาณประจาปีเพ่อื ใชบ้ งั คบั ตอ่ ไปซง่ึ การจดั ทางบประมาณแผ่นดิน เป็นสิ่งจาเป็นเพ่อื ใหร้ ฐั บาลมกี าร วางแผนท่จี ะดาเนนิ การไวล้ ว่ งหนา้ และ

รายจ่ายของรฐั บาลเป็นสว่ นประกอบของอปุ สงคร์ วม การวางแผนการ ใช้ จา่ ยและการหารายรบั จะทาใหส้ ามารถคาดคะเนสภาพเศรษฐกิจในปี ตอ่ ไปได้ นอกจากนีย้ งั ชว่ ยใหร้ ฐั บาล บรกิ ารการคลงั ไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธิภาพภายในขอบเขตของงบประมาณท่ีจดั ทาขนึ้ ประเภทของงบประมำณแผ่นดิน งบประมาณแผน่ ดินแบ่งได้ 2 ประเภท คือ • งบประมาณสมดุล (Balanced budget) หมายถึง งบประมาณท่ีรายไดข้ อง รัฐบาลรวมกนั แลว้ เท่ากบั รายจ่ายของรัฐบาลพอดี ดงั น้นั รัฐบาลไม่ จาเป็นตอ้ งกูเ้ งินมาใชจ้ ่ายหรือนาเงินคงคลงั ออกมาใช้ • งบประมาณไม่สมดุล หมายถึง งบประมาณที่รายไดข้ องรัฐบาลไมเ่ ทา่ กบั รายจ่ายของรัฐบาล ถา้ รายไดข้ องรัฐบาลสูงกวา่ รายจ่ายของรัฐบาลเรียกวา่ งบประมาณเกินดุล ซ่ึงรัฐบาลจะมีรายไดเ้ หลือจากการใชจ้ ่าย เงินคงคลงั ของรัฐบาลจะเพิ่มข้ึน ถา้ รายไดข้ องรัฐบาลกวา่ รายจ่ายของรัฐบาล เรียกวา่ งบประมาณขาดดุล ซ่ึงรัฐบาลตอ้ งกเู้ งินหรือนาเงินคงคลงั ออกมาใชจ้ ่าย อยา่ งไรกต็ าม เม่ือพิจารณาในแง่ของประมาณการรายรับและรายจ่ายของ รัฐบาลแลว้ งบประมาณ แผน่ ดินจะตอ้ งสมดุลเพือ่ มิใหเ้ กิดปัญหาในดา้ น ต่างๆ ตามมา

ควำมสำคญั ของงบประมำณ •เป็นเคร่ืองมือที่ใชค้ วบคุม •เป็ นเคร่ื องมือในการบริ หาร •เป็นเครื่องมือเพอื่ ดาเนินนโยบายเศรษฐกิจ แหล่งที่มำของเงนิ งบประมำณ ตามปกติในแตล่ ะปี งบประมาณ รัฐบาลจะตอ้ งกาหนดงบประมาณข้ึน 2 วงเงิน คือ งบประมาณ รายรับและงบประมาณรายจ่าย การประมาณ การงบประมาณรายรับเป็นสิ่งสาคญั และมีอิทธิพลต่อการ พฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ จึงควรมีการกาหนดงบประมาณรายรับอยา่ ง ละเอียดและรอบคอบ โดยคานึงตวั แปรหลาย ๆ อยา่ งประกอบ เช่น รายได้ ประชาชาติ ระบบและเวลาของการจดั เกบ็ ภาษีอากร ภาวะเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ฯลฯ สาหรับงบประมาณรายรับ มีแหลง่ ที่มา ๓ แหลง่ คือ รายได้ การ กูย้ มื หรือการก่อหน้ีสาธารณะในแต่ละปี และเงินคงคลงั

แหล่งทมี่ ำของเงนิ งบประมำณ รำยได้ 1.1 รำยได้ที่เป็ นภำษีอำกร (TAX REVENUE) - ภาษีอากรทวั่ ไป (GENERAL TAXES) - ภาษีเพื่อวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะอยา่ ง (EARMARKED TAXES) 1.2 รำยได้ท่ีมใิ ช่ภำษอี ำกร (NONTAX REVENUE) - รายไดจ้ ากการประกอบธุรกิจของรัฐบาล ซ่ึงอาจในรูปของรัฐวิสาหกิจ หรือในรูปของหน่วยงานอ่ืน ๆ - เพ่ือดาเนินการผลิตสินคา้ หรือบริการบางอยา่ งท่ีจาเป็นต่อความเป็นอยู่ ของประชาชน - เพ่ือเป็นการใหส้ วสั ดิการแก่ประชาชน โดยรัฐบาลเป็นผผู้ ลิตสินคา้ หรือ บริการบางอยา่ งและ ขายใหแ้ ก่ประชาชนในราคาท่ีต่า - เพ่อื ใชเ้ ป็นเครื่องมือในการหารายได้ รัฐบาลอาจจะทาการผกู ขาดการผลิต หรือจาหน่ายสินคา้ และบริการบางอยา่ งเพอ่ื เป็นเครื่องมอื ในการหารายได้ ของรัฐบาล เช่น การผกู ขาดในการผลิตหรือจาหน่ายสุราและ ยาสูบ เป็น ตน้

- รายไดจ้ ากการบริหารงาน รายไดป้ ระเภทน้ีมีลกั ษณะคลา้ ยคลึงกบั รายได้ ท่ีเกิดจากการประกอบกิจการ โดยรัฐ ไดแ้ ก่ คา่ ธรรมเนียม คา่ ใบอนุญาต และค่าปรับ เป็นตน้ - รายไดจ้ ากการบริจาค รายไดป้ ระเภทน้ี ถือเป็นการใหเ้ ปล่า โดยสมคั รใจ ของผใู้ ห้ ซ่ึงอาจเป็นการ บริจาคของเอกชนในประเทศหรือต่างประเทศ หรือการบริจาคของรัฐบาลต่างประเทศ กำรกู้ยืมหรือกำรก่อหนีส้ ำธำรณะในแต่ละปี หากรัฐบาลจดั เก็บรายไดห้ รือมีรายรับไมเ่ พยี งพอที่จะนามาใชจ้ ่ายใน กิจการตา่ ง ๆ ของรัฐบาลตาม แผนงานและโครงการท่ีจาเป็นและก่อใหเ้ กิด ความกา้ วหนา้ ของประเทศ รัฐบาลจาเป็นที่จะตอ้ งหาเงินมาใชจ้ ่าย อาจจะ โดยการใชว้ ธิ ีกยู้ มื เงินจากประชาชน หรือกูย้ มื เงินจากตา่ งประเทศ เงินคงคลงั คือเงินที่เก็บอยใู่ นคลงั ซ่ึงสะสมและไดม้ าจากหลายทาง อาทิงบประมาณ เหลือจ่ายจากปี งบประมาณ ก่อน จากการรับชาระหน้ีคืน ฯลฯ ซ่ึงรัฐบาลมี สิทธินาออกมาใชไ้ ดต้ ามกฎหมายพระราชบญั ญตั ิเงินคงคลงั แตจ่ ะตอ้ งไม่ ก่อใหเ้ กิดผลเสียหายตอ่ สภาวะการคลงั และการเงินของประเทศ

ควำมแตกต่ำงระหว่ำงงบประมำณแผ่นดินกบั งบประมำณเอกชน 1.ความแตกตา่ งในเรื่องการกาหนดรายรับ 2.ความแตกตา่ งในเร่ืองวตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั ทางบประมาณ 3.ความแตกตา่ งในเรื่องลกั ษณะของสินคา้ และบริการ 4.ความแตกตา่ งในลกั ษณะของการเป็นเจา้ ของกิจการ 5.ความแตกตา่ งในลกั ษณะของการรวมอานาจและการกระจายอานาจ ข้อดีของงบประมำณแผ่นดิน 1.ตอ้ งเป็นศนู ยร์ วมเงินของแผน่ ดิน 2.งบประมาณจะตอ้ งถือหลกั พฒั นา 3.งบประมาณจะตอ้ งถือหลกั ประหยดั 4.งบประมาณจะตอ้ งมีระยะเวลาที่เหมาะสม นโยบำยงบประมำณ 1.งบประมาณสมดุล (Balanced Budget) 2.งบประมาณขาดดุล (Deficit Budget) 3.งบประมาณเกินดุล (Surplus Budget)

2.2อตั รำภำษี ภำษี หมายถึง รายไดห้ รือรายรับของรัฐบาลที่เรียกเก็บจากประชาชนทุก คนที่ทางาน เพือ่ นาไปพฒั นาประเทศ และคุณภาพชีวิตของประชาชนใน ประเทศใหเ้ จริญและดีข้ึน ในการจดั เก็บภาษีตอ้ งมีองคป์ ระกอบ 3 ประการคือ 1. ผ้เู สียภำษอี ำกร คือ บุคคลทุกคนที่ประกอบอาชีพและมีรายได้ ตอ้ งมี หนา้ ที่เสียภาษีโดยไมห่ ลบเล่ียง มิฉะน้นั ถือเป็นความผิดตามกฎหมาย 2. ระบบกำรจัดเกบ็ ภำษี คือ วธิ ีการจดั เกบ็ ภาษีที่มีหลกั เกณฑ์ มี ประสิทธิภาพและไดผ้ ลตามเป้าหมาย 3. ประเภทของภำษี ภาษีแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ภำษีทำงตรง คือ ภาษีท่ีเรียบเก็บจากผทู้ ่ีมีรายได้ เช่น ภาษเี งินไดบ้ ุคคล ธรรมดา ภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล ภาษีมรดก เป็นตน้ ภำษที ำงอ้อม คือ ภาษีท่ีผมู้ ีรายรับผลกั ภาระภาษีไปยงั ผอู้ ื่น เช่น ภาษี สรรพสามิต อากรแสตมป์ คา่ ธรรมเนียมใบอนุญาตตา่ งๆ เป็นตน้

โครงสร้ำงของภำษอี ำกร กฎหมายภาษีอากรทกุ ฉบบั จะแบง่ โครงสร้างไดเ้ ป็น 6 หวั ขอ้ คือ 1. ผู้มีหน้ำท่เี สียภำษีอำกร คือผอู้ ยใู่ นขา่ ยที่ตอ้ งเสียภาษีอากร ตามท่ี กฎหมายแต่ละฉบบั กาหนด โดยทวั่ ไปจะแบง่ ไดเ้ ป็นบุคคลธรรมดา และ นิติบุคคล 2. ฐำนภำษอี ำกร คอื สิ่งท่ีเป็นมลู เหตุใหต้ อ้ งเสียภาษีอากร ข้ึนอยกู่ บั กฎหมายกาหนดไวเ้ ช่น 2.1 ภำษเี งินไดบ้ ุคคลธรรมดา ฐานภาษี คือเงินไดส้ ุทธิ 2.2 ภำษมี ูลค่ำเพม่ิ ฐานภาษี คือมลู คา่ การใชจ้ ่าย/การบริโภค 3. อตั รำภำษอี ำกร คือ ร้อยละท่ีจดั เก็บภาษี จะแบง่ เป็น 3 ประเภท คือ แบบ คงท่ี แบบกา้ วหนา้ แบบถดถอย โดยพิจาณาจากการเปล่ียนแปลงของฐานภาษี ข้ึนอยกู่ บั กฎหมายกาหนดไว้ เช่น 3.1 อตั รำภำษแี บบคงที่ คือ ฐานภาษีเปลี่ยนแปลง แต่อตั ราภาษีคงท่ีเทา่ เดิม เช่น - ภำษเี งินได้นิติบุคคล อตั ราร้อยละ 20 จากฐานกาไรสุทธิ(ไม่ใชอ้ ตั ราลด) - ภำษีมูลค่ำเพม่ิ อตั ราร้อยละ 7 ของมลู คา่ การบริโภค 3.2 อตั ราภาษีแบบกา้ วหนา้ คือ ฐานภาษีเพม่ิ ข้ึนอตั ราภาษีกจ็ ะเพม่ิ ข้ึน เช่น ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา ฐานภาษีคือเงินไดส้ ุทธิ ตามตารางดา้ นลา่ ง

3.3 อตั รำภำษีแบบถดถอย คอื ฐานภาษีเพ่มิ ข้ึน แต่อตั ราภาษีกลบั ลดลง เช่น ภาษีบารุงทอ้ งท่ี ซ่ึงจดั เก็บภาษีที่ดิน อตั ราภาษีแบบน้ีไม่เป็นท่ีนิยมใชเ้ พราะไมส่ อดคลอ้ ง กบั ความเป็นธรรมทางภาษี เนื่องจากเม่ือฐานภาษีเพม่ิ ข้ึน ควรจะทาใหเ้ สีย ภาษีสูงข้ึน แตก่ ลบั เสียลดลง ทาใหร้ ัฐบาลมรี ายไดล้ ดลง ตวั อยา่ งเช่น

4. กำรประเมินจดั เกบ็ ภำษีอำกร แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ 4.1 กำรประเมินตนเอง ผมู้ ีหนา้ ที่เสียภาษีจะตอ้ งประเมินตนเอง และยนื่ แบบแสดงรายการ ชาระภาษีตามหลกั เกณฑท์ ่ีกฎหมายกาหนดไว้ 4.2 กำรประเมนิ ล่วงหน้ำ ผมู้ ีหนา้ ที่เสียภาษีจะถกู ประเมินภาษีลว่ งหนา้ จาก ผจู้ ่ายเงินได้ เรียกวา่ ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่าย ภาษีท่ีถูกหกั ไวถ้ ือเป็นเครดิต ของผมู้ ีหนา้ ที่เสียภาษี สามารถนาไปหกั ออกจากภาษีท่ีตอ้ งชาระได้ รวมท้งั อาจถูกประเมินลว่ งหนา้ จากเจา้ พนกั งานสรรพากรก่อนถึง กาหนดเวลาได้ 5. กำรอทุ ธรณ์ภำษอี ำกร กรณีเกิดปัญหาขอ้ โตแ้ ยง้ กนั ระหวา่ งผเู้ สียภาษี อากรและผจู้ ดั เกบ็ ภาษี อากร เก่ียวกบั จานวนภาษีอากรท่ีตอ้ งชาระหรือ อานาจการประเมินเรียกเกบ็ ภาษีอากร ผมู้ ีหนา้ ที่เสียภาษีอากรมีสิทธิจะยนื่ อทุ ธรณ์ภาษีได้ เพอ่ื ขอใหพ้ ิจารณาใหม่ แตจ่ ะตอ้ งกระทาภายใน 30 วนั นบั แต่วนั ท่ีไดร้ ับแจง้ การประเมินเรียกเกบ็ ภาษีอากร 6. เบยี้ ปรับ เงนิ เพมิ่ และโทษ ผทู้ ่ีไม่ชาระภาษีอากร หรือชาระภาษีอากรไม่ ครบถว้ น ไม่ตรงเวลา ตามที่กฎหมายกาหนด จะตอ้ งชาระเบ้ียปรับ เงินเพิม่ หรือรับโทษ ตามท่ีกฎหมายกาหนดไว้ เช่น ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา การ ยน่ื แบบชาระภาษีสิ้นปี ถา้ ไม่ชาระภาษีภายในเดือนมีนาคม 2558 จะตอ้ ง รับผดิ เสีย เงินเพิม่ อกี ร้อยละ 1.5 ต่อเดือน

(เศษของเดือน ใหน้ บั เป็น 1 เดือน) ของ เงินภาษีที่ตอ้ งชาระและตอ้ ง ระหวา่ งโทษปรับไมเ่ กิน 2,000 บาทอีกดว้ ย วตั ถปุ ระสงค์ในกำรจัดเกบ็ ภำษี มดี ังนี้ 1. เป็นรายไดห้ ลกั ของรัฐบาลในการนาไปใชจ้ ่ายเพอื่ พฒั นาประเทศ สร้าง ปัจจยั มลู ฐาน เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา โรงพยาบาล เขื่อน เป็นตน้ 2. เป็นเครื่องมือส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยการยกเวน้ ภาษีเครื่องจกั รท่ีนาเขา้ จากต่างประเทศและเก็บภาษีสินคา้ ท่ีผลิตจาก ตา่ งประเทศ 3. เป็นเครื่องมือควบคุมการบริโภคของประชาชน รัฐเรียกเก็บภาษีอากรสูง สาหรับสินคา้ ฟ่ ุมเฟื อย เช่น ภาษีรถยนต์ สุรา ยาสูบ เป็นตน้ 4. เป็นเครื่องมือในการกระจายรายไดข้ องประชาชน รัฐเรียกเก็บภาษี รายไดต้ ามระดบั ของรายได้ ผมู้ ีรายไดม้ ากกเ็ สียภาษีมากกวา่ ผมู้ ีรายไดต้ ่า 5. เป็นการสนองนโยบายของประเทศในการนาระบบภาษีมาใชบ้ งั คบั หรือ ชกั นาใหผ้ เู้ สียภาษีปฏิบตั ิตาม เช่น การเก็บภาษีดอกเบ้ียเงินฝากของรัฐบาล เป็ นตน้ หน่วยรำชกำรท่ีจัดเกบ็ ภำษี หน่วยราชการที่จดั เกบ็ ภาษีในประเทศไทย ไดแ้ ก่ 1. กรมสรรพำกร จดั เก็บภาษีเงินได้ ภาษีมูลคา่ เพิม่ อากรมหรสพ อากร แสตมป์

2. กรมสรรพสำมติ จดั เก็บภาษีจากสินคา้ ตา่ ง ๆ เช่น บุหร่ี สุรา เครื่องดื่ม ไพ่ เป็นตน้ 3. สำนักงำนตำรวจแห่งชำติ จดั เกบ็ ภาษีการพนนั 4. องค์กำรบริหำรรำชกำรส่วนท้องถน่ิ ไดแ้ ก่ กรุงเทพมหานคร เทศบาล จดั เก็บภาษี โรงเรือน ท่ีดิน ภาษีป้าย ภาษีบารุงทอ้ งที่ และอากาฆ่าสัตว์ 5. กรมทรัพยำกรธรณี จดั เก็บภาษีเป็นค่าภาคหลวงแร่ 6. กรมประมง จดั เกบ็ อาหารประมง 7. กรมป่ ำไม้ จดั เกบ็ ภำษผี ู้ทำสัมปทำนป่ าไมก้ ารลงโทษผหู้ ลีกเล่ียงภาษี การจดั เกบ็ ภาษีของรัฐจะถกู นามาใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาประเทศ และการสร้างสาธารณสุขข้นั พ้นื ฐานเพ่ือใหก้ ารบริการแก่ประชาชน โดย เรียกเกบ็ จากประชาชนที่ประกอบอาชีพและมีรายไดต้ ามที่กฎหมาย กาหนด การเสียภาษีจึงเป็นหนา้ ที่ท่ีทุกคนตอ้ งปฏิบตั ิตาม จะหลีกเล่ียง ไมไ่ ด้ ผทู้ ี่ฝ่าฝืนหรือหลีกเลี่ยงการเสียภาษีจะไดร้ ับโทษทางอาญา อาจถกู ปรับ หรือท้งั ถูกปรับและถูกจาคุกได้



2.3นโยบำยกำรคลงั นโยบายการคลงั คือ นโยบายที่เก่ียวขอ้ งกบั การหารายได้ และรายจ่ายของ รัฐบาลรายไดส้ ่วนใหญข่ องรัฐบาลมาจากการเกบ็ ภาษีประเภทต่างๆ เช่น ภาษีสรรพาสามิต ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดน้ ิติ บุคคล เป็นตน้ นโยบายการคลงั เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการปรับสมดุล ทางเศรษฐกิจอยา่ งหน่ึง หรือท่ีเรียกวา่ การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เมื่อรัฐบาลตดั สินใจเพ่มิ หรือลดภาษี ยอ่ มก่อใหเ้ กิดผลกระทบทาง เศรษฐกิจ ยกตวั อยา่ ง เช่น การข้ึนอตั ราภาษีมีผลใหเ้ งินสดที่อยใู่ นมือเรา ลดลง เนื่องจากรายไดส้ ่วนหน่ึงตอ้ งนาไปจ่ายภาษีมากข้ึนเงินที่เหลือจะใช้ จ่ายก็จะลดลงทาใหเ้ ศรษฐกิจชะลอตวั นโยบายการคลงั สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท -นโยบายการคลงั แบบขยายตวั คือการท่ีรัฐบาลใชจ้ ่ายมากกวา่ รายไดภ้ าษีท่ีจดั เกบ็ ไดห้ รือท่ีเรียกวา่ “งบประมาณขาดดลุ ” กรณีน้ีจะใชเ้ มื่อเศรษฐกิจถดถอย เพื่อกระตุน้ เศรษฐกิจเปรียบเสมือนการอดั ฉีดเงินเขา้ ไปในระบบเศรษฐกิจ

-นโยบำยกำรคลงั แบบหดตวั คือ การที่รัฐบาลจ่ายนอ้ ยกวา่ รายไดภ้ าษีท่ีจดั เก็บได้ หรือการเพ่ิมภาษีเพอื่ ดูดเงินออกจากระบบเศรษฐกิจอาจจะเรียกวา่ “งบประมาณเกินดุล”จะใชก้ ็ ต่อเม่ือยามที่เกิดปัญหาเงินเฟ้อในระบบเศรษฐกิจ

วตั ถุประสงค์ของนโยบายการคลงั ประการท่ี1 ส่งเสริมการจดั สรรทรัพยากรระหวา่ งภาคเอกชนและ ภาครัฐบาลใหม้ ีประสิทธิภาพสามารถตอบสนองความตอ้ งการของ ประชาชนไดด้ ีจดั สรรทรัพยากรในสดั ส่วนท่ีทาใหส้ งั คมไดร้ ับสวสั ดิการ และมีประสิทธิภาพสูงสุด ประกำรท่ี2 ส่งเสริมการกระจายรายไดท้ ี่เป็นธรรมแตล่ ะกลุ่มจะไดร้ ับ ประโยชน์และภาระที่เป็นธรรมนโยบายการคลงั จะนาไปสู่การปรับปรุง การกระจายรายไดเ้ บ้ืองตน้ ของประชาชนใหท้ ดั เทียมกนั ประกำรท่ี3 เสริมสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจรัฐบาลสามารถใช้ นโยบายการคลงั เพมิ่ การใชจ้ ่ายและขยายการลงทุนในภาครัฐโดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ การพฒั นาดา้ นสาธารณูปโภคเพื่ออานวยความสะดวกแก่การลงทุน และการผลิตของภาคเอกชน ประกำรที่4 รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจนโยบายการคลงั สามารถใชใ้ น การสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเสถียรภาพในตลาดเงินและความสมดุล ในบญั ชีดุลการชาระเงินระหวา่ งประเทศ

บรรณำนุกรม การเงิน https://www.im2market.com/2016/01/01/2269 เงินเฟ้อและเงินฝืด https://sites.google.com/site/ngeinfexlaeangeinfud นโยบายการเงิน https://sites.google.com/site/siriyakr508/nyobay-kar- ngein งบประมาณการเงิน https://sites.google.com/site/kanwangphaen/hna- hlak/ngb-praman นโยบานการคลงั https://sites.google.com/site/hlaksers2582016/bth-thi-3- kar-phathna-sersthkic/3-4-nyobay-kar-khlang

เสนอ คุณครูณัฐรินีย์ สมนึก จัดทาโดย 1.น.ส.นนั ฑิตา แอบกิ่ง ม.4/2 เลขที่16 2.น.ส.พรรณิษา เชิดฉาย ม.4/2 เลขท่ี29 3.น.ส.รัตนาภรณ์ สุพรรณ ม.4/2 เลขท่ี30 4.น.ส.วลิ าวณั ย์ ทองคา ม.4/2 เลขท่ี31 5.น.ส.วิยะดา ทาหาญ ม.4/2 เลขที่32 6.น.ส.ธนภรณ์ แพละออง ม.4/2 เลขท่ี34


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook