Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอน วิชาปฏิบัติงานโครงสร้างอาคาร

เอกสารประกอบการสอน วิชาปฏิบัติงานโครงสร้างอาคาร

Published by 14อรณิชา วาสะรัมย์, 2023-02-12 02:32:37

Description: เอกสารประกอบการสอน
วิชาปฏิบัติงานโครงสร้างอาคาร

Search

Read the Text Version

40 เอกสารอ้างองิ คณะทางานอาสาสมคั ร กรรมการฝา่ ยวิชาชพี สมาคมสถาปนิกฯ. รายการประกอบแบบกอ่ สรา้ ง. กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราช้ปถมั ภ,์ 2549. สมโชค เฉิะการ. เอกสารประกอบการสอนวิชา เขียนแบบก่อสรา้ ง1. ร้อยเอด็ : วทิ ยาลัยเทคนคิ รอ้ ยเอด็ , 2544. สมศรี กาญจนสุิ. การอ่านแบบ. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ประชาชน จากัด, 2537. อนิ ทริ า ศิสขุ . เขยี นแบบช่างเทคนคิ สถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ: หจก.สที องกจิ พิศาล, 2526.

41 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 เรอ่ื ง การวางผังอาคาร สาระสาคญั การวางผังอาคาร เป็นงานที่สาคัญที่ต้องปฏิบัติเป็นข้ันตอนแรก ของงานก่อสร้างอาคาร ผู้ที่ จะวางผังอาคาร ควรศึกษารายละเอียด ตาแหน่งของอาคาร ฐานรากและศูนย์กลางเสา จากแบบ ก่อสร้างและรายการประกอบแบบ เพื่อจัดเตรียมรายการเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ที่จะใช้ในการวาง ผังอาคาร และมกี ารวางแผนการทางาน ลาดับข้ันตอนการทางานซ่ึงจะช่วยให้การวางผังอาคารเป็นไปได้ รวดเรว็ ถกู ต้องและมีขอ้ บกพร่องน้อยท่สี ดุ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ จุดประสงคท์ ั่วไป 1. เพ่อื ใหม้ ีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั แบบผงั บริเวณและแปลนฐานราก 2. เพื่อให้มีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การเตรียมเคร่ืองมือ วสั ดุ อปุ กรณ์ 3. เพือ่ ให้มีทักษะเกยี่ วกับขนั้ ตอน และวธิ ีการ การวางผังอาคาร 4. เพื่อใหม้ ีทกั ษะเกยี่ วกบั การหาศูนย์กลางเสา และกาหนดตาแหนง่ ฐานราก 5. เพ่อื ให้มีเจตคติและกจิ นสิ ยั ที่ดีในการเรียนและการปฏบิ ัตงิ าน 6. เพอ่ื ใหม้ ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบตั ิงานอ่านแบบผงั บริเวณและแปลนฐานรากได้ 2. จัดเตรียมเครื่องมอื วัสดุ อุปกรณ์ในการวางผังอาคารได้ 3. ปฏบิ ัตงิ านวางผงั อาคารตามตามขนั้ ตอน และวธิ กี าร การวางผงั อาคารได้ 4. ปฏิบัตงิ านหาศูนยก์ ลางเสา และกาหนดตาแหน่งฐานรากได้ 5. มเี จตคตทิ ่ีดตี ่อการเรียนและการปฏิบตั งิ าน 6. ปฏบิ ตั งิ านด้วยความรบั ผิดชอบและมีระเบยี บวนิ ยั 7. มีคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 3 ประกอบด้วยหวั ขอ้ สาระการเรยี นรู้ ดงั นี้ 3.1 การอา่ นแบบก่อสร้างก่อนวางผังอาคาร 3.2 การเตรยี มรายการเครอื่ งมอื วัสดุ อปุ กรณ์ 3.3 ขนั้ ตอนการวางผังอาคาร 3.4 การหาศนู ย์กลางเสา กาหนดตาแหน่งฐานรากอาคาร

42 กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. แจ้งจดุ ประสงคใ์ หผ้ ู้เรียนเข้าใจกอ่ นเรียน 2. ให้ผูเ้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยท่ี 3 3. ครูบรรยายนาเขา้ สบู่ ทเรยี น 4. ผเู้ รียนศึกษาเน้ือหาความรูใ้ นเอกสารประกอบการสอน เร่ือง การศกึ ษาแบบก่อสร้าง 5. การอภิปรายและการซักถามเกี่ยวกบั บทเรียนร่วมกนั 6. ผูเ้ รียนแบง่ กลุ่มๆ ละ 6 คน ฝกึ ปฏิบตั งิ านตามใบงานที่ 4 7. ผเู้ รียนและครู รว่ มกนั สรุปเน้อื หาประกอบสื่อ 8. ผเู้ รยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี น ส่อื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชางานก่อสร้างอาคาร 1 2. แผน่ ใสประกอบการบรรยาย 3. แผน่ ภาพ 4. แบบก่อสรา้ งอาคารและรายการประกอบแบบ 5. ชุดฝึกปฏิบตั ิงาน งานกอ่ สร้างอาคาร 1 (งานวางผงั อาคาร) การวดั ผล ประเมินผล 1 วัดผลตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2 วิธีวัด ประเมินผล 2.1 สงั เกต เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ในการเรยี นรู้และปฏบิ ัตงิ าน 2.2 สงั เกต และตรวจผลงาน จากการปฏบิ ัติงานตามใบงาน 2.3 ประเมนิ ผลจากแบบทดกอ่ นหลงั เรยี น 2.4 ประเมินผลจากแบบทดสอบหลังเรยี น 3. เครือ่ งมือวัด ประเมินผล 3.1 แบบประเมิน เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ 3.2 แบบประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน 3.3 แบบทดสอบก่อนเรยี น 3.4 แบบทดสอบหลังเรียน

43 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยที่ 3 เวลา 10 นาที เร่อื งการวางผงั อาคาร คาช้แี จง 1. แบบทดสอบมีท้ังหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน 2. ให้นักศกึ ษาทาเครือ่ งหมาย  ในตวั เลือกทเ่ี ห็นว่าถูกตอ้ งท่สี ดุ ลงในกระดาษคาตอบ 1. โดยท่วั ไปใครเปน็ ผรู้ ับผิดชอบในการวางผงั อาคาร ก. ช่างไม้ ข. ช่างปูน ค. ชา่ งเหล็ก ง. เจา้ ของบา้ น 2. แบบทใ่ี ช้ในการประกอบการวางผังอาคารคอื ก. แบบแปลนพน้ื แบบขยายคาน ข. แบบแปลนพนื้ แบบแปลนโครงหลังคา ค. แบบแปลนผงั บริเวณ แบบแปลนฐานราก คานคอดนิ ง. แบบแปลนผังบริเวณ แบบแปลนพ้ืน 3. ไม้ขนาดใดทีน่ ิยมใชท้ าไม้หลักผงั ในการวางอาคาร ก. ไม้ 1\"1\" ข. ไม้ 2\"2\" ค. ไม้ 11  1 1 22 ง. ไม้ 11  3 2 4. การวางผงั อาคารเพื่ออะไร ก. วางคานคอดนิ ข. ขดุ หลุมฐานราก ค. เทคอนกรีตฐานราก ง. กาหนดแนวอาคารและตวั อาคาร 5. การวางผงั อาคารสามารถทาได้ก่วี ิธี ก. 2 วธิ ี ข. 3 วธิ ี ค. 4 วธิ ี ง. 5 วิธี 6. ถ้าตอ้ งการหาคา่ ระดับหลงั ผังควรใช้เครื่องมือชนิดใด ก. ลกู ดง่ิ ข. สายยางระดับ ค. เทปวดั ระยะ ง. ฉากจันทนั

44 7. เครอ่ื งมือชนิดใดไมม่ ีความจาเป็นที่ใช้ในการวางผงั อาคารโดยวิธกี ารวางเสน้ ฐาน ก. กล้องวดั มมุ ข. เทปวัดระยะ ค. สายางระดับ ง. กลอ้ งระดับ 8. การถา่ ยตาแหน่งศูนย์กลางเสาลงดนิ ใช้เคร่ืองมือชนดิ ใด ก. ลูกด่งิ ข. ฉากจันทนั ค. เทปวดั ระยะ ง. สายยางระดับ 9. การวางผังอาคารโดยวธิ กี ารตไี มผ้ งั ควรให้ระดบั หลงั ผังสงู ประมาณเท่าใด ก. 50 เซนติเมตร ข. 100 เซนติเมตร ค. 120 เซนติเมตร ง. 150 เซนติเมตร 10. การวางผังอาคารโดยวธิ กี ารวางเสน้ ฐาน การกาหนดเส้นฐานควรหา่ งจากแนวอาคารไมน่ ้อยกวา่ เทา่ ไร ก. 1.00 เมตร ข. 2.00 เมตร ค. 3.00 เมตร ง. 4.00 เมตร

45 หนว่ ยที่ 3 การวางผงั อาคาร การวางผังอาคาร คือการกาหนดแนวอาคาร และวางตัวอาคาร ลงในเขตที่ดินจาก การกาหนดตาแหน่งของอาคาร ในแบบแปลนผังบริเวณการวางผังอาคาร จึงเป็นการขยายรูปแบบ ของอาคาร จากแบบแปลน มาเป็นการก่อสร้างอาคารตามขนาดจริงตาม ท่ีผู้ออกแบบกาหนด ผู้ท่ีจะ ทาการก่อสร้างจะต้องลงมือปฏิบัติงาน วัดระยะตาแหน่งศูนย์กลางเสา และตาแหน่งฐานรากของ อาคารลงในบริเวณที่จะทาการก่อสร้างโดยใช้ไม้แปตีหมุดหลักผังและผังนอนให้ได้ระดับ ทาการหา แนวแรก และหาแนวฉากของอาคาร กาหนดศูนย์กลางเสา และกาหนดตาแหน่งฐานรากซ่ึงมีขั้นตอน การทางานดงั น้ี 3.1 การอ่านแบบกอ่ สร้างเพื่อการวางผังอาคาร การอ่านแบบก่อสร้างเพ่ือวางผังอาคาร คือการศึกษาแบบที่เก่ียวกับการวางผังอาคาร ก่อนที่จะทาการวางแนวอาคารจะต้องนาแบบแปลนผังบริเวณ แบบแปลนฐานราก คานคอดิน พื้น และแบบแปลนพื้นชั้น มาประกอบในการที่จะเตรียมงาน เพื่อให้ทราบถึงขนาดของตัวอาคารมีขนาด เท่าไร ระยะตัวอาคารอยู่ห่างจากแนวเขตที่ดินแต่ละด้านเท่าไร อาคารหันหน้าไปไหนของพื้นท่ี และการกาหนดระดับพ้ืนของอาคารอยู่ที่ระดับเท่าไร จึงจะกาหนดความกว้างของแนวผัง และกาหนด ความสูงของผงั นอนไดด้ ้วย จากแบบแปลนผังบริเวณ (ภาพท่ี 3.1) ด้านหน้าของตัวอาคารหันหน้าไปทางทิศตะวันออก เฉียงใต้ ประตูรั้วต่อเชื่อมกับทางเทศบาล มีรางระบายน้าสู่ท่อน้าสาธารณะของเทศบาลเมืองฯ ตัวอาคารมีขนาดกว้าง 7.00 เมตร ยาว 11.00 เมตร ตัวอาคารห่างจากแนวร้ัวด้านหน้าอาคารถึง ศูนย์กลางเสาต้นแรกของอาคาร 8.00 เมตร ด้านข้างซ้ายของตัวอาคารห่างจากแนวรั้วถึงศูนย์กลาง เสา 4.00 เมตร และด้านหลังของอาคารหา่ งจากรว้ั 5.50 เมตร เม่ือศกึ ษารายละเอียดในแบบแปลนท่ีเกี่ยวข้องกับการวางผังอาคารและบันทึกรายละเอียด ของงานที่จะต้องปฏิบัติลงในสมุดสนามพร้อมทั้งเขียนแบบร่าง แบบขยาย หรือแบบรายละเอียด (Shop drawing) เรียบร้อยแล้ว จึงนาข้อมูลดังกล่าวไปปฏิบัติงานการวางผังอาคารในบริเวณงาน กอ่ สรา้ งอาคารตอ่ ไป

46 ภาพที่ 3.1 แสดงแบบ แปลนผงั บรเิ วณ 3.2 การเตรียมรายการเคร่ืองมอื วัสดุ อปุ กรณ์ จากการศกึ ษาแบบแปลนท่ีเก่ียวข้องกับการวางผังอาคารและแบบไม้คอกผัง (ภาพท่ี 3.2) ทาให้ผู้ท่ี จะปฏิบัติงานจัดเตรียมเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์จาเป็นที่จะใช้ในการปฏิบัติงานให้พร้อมก่อน ลงมอื ปฏิบตั งิ าน ดงั ภาพที่ 3.2

47 ภาพที่ 3.2 แสดงแบบ การตีไมผ้ ัง 3.2.1 เครอื่ งมือ ในการวางผังอาคาร ค้อนปอนด์ 8 ปอนด์ ,ค้อนหงอน ,ดินสอช่างไม้ ,ขวานช่างไม้ ,มีดพร้า ,เล่ือยลันดา ,เลื่อยไฟฟ้า ,เทปวัดระยะ ,ฉากจันทัน ,ลูกดิ่ง ,สายยางระดับ ,เชือกเอ็น ,กล้องระดับ ,ไม้สต๊าฟ ,กล้องวัดมุม (Theodolite) ,จอบ ,เสียม ,ชะแลง 3.2.2 การเตรยี มวัสดุ อุปกรณ์ ในการวางผงั อาคาร เครอื่ งมอื วสั ดุอปุ กรณ์ท่ีใช้ มี ตะปูขนาด 1\",3\" และไม้แป คือไม้ท่ีมีขนาดหน้าตัดไม้ 11  3ใช้ทาหลกั ผัง ไม้ผงั นอนและไม้ยึดหลกั ผังกับผังนอน 2

48 จากแบบแปลนฐานราก คานคอดิน พนื้ อาคารมีความกว้าง 7.00 เมตร ความยาว 11.00 เมตร และกาหนดให้ ระยะหา่ งจากศนู ย์กลางเสาถงึ แนวผงั 2.00 เมตร ตวั อยา่ ง การหาไมผ้ ัง ความยาวผังดา้ นกว้างอาคาร = ความกวา้ งอาคาร+ (ระยะจากศนู ย์กลางฐานรากถึงแนวผัง2 ) = 7.00+(2.002) = 11.00 เมตร ความกวา้ งของผงั มี 2 ดา้ น = 11.002 = 22.00 เมตร ความยาวผงั ดา้ นยาวอาคาร = ความยาวอาคาร+ (ระยะจากศนู ย์กลางฐานรากถึงแนวผัง2 ) = 11.00+(2.002) = 15.00 เมตร ความกว้างของผงั มี 2 ดา้ น = 15.002 = 30.00 เมตร ความยาวรวมผงั ทั้งหมด = ความยาวผงั ด้านกวา้ งอาคาร+ ความยาวผังด้านยาวของอาคาร = 22.00+30.00 = 52.00 เมตร(สมมตุ ิ ใช้ไม้แปยาว 3.00 ม= 52/3 = 17.33 ท่อน) การหาจานวนหลักผงั ความยาวรวมผังทั้งหมด 52.00 เมตร ระยะห่างจากหลักผังถึงหลักผัง 2.00 เมตร หลัก ผังสูง 1.00 เมตรต่อท่อน = ความยาวรวมผงั +1 = 52.00 +1 = 27 ท่อน จานวนหลกั ผงั ระยะห่างหมดุ หลกั ผงั 2.00 จะต้องใชไ้ ม้แปความยาว 1.50 เมตร ทาหลักผังจานวน 27 ทอ่ น การหาจานวนไมผ้ งั นอน ความยาวรวมผังท้ังหมด 52.00 เมตร ไม้แปมีความยาว 3.50 เมตรต่อท่อน จานวนไมผ้ งั นอน = ความยาวรวมผงั = 52.00 = 14.85 = 15 ทอ่ น 3.50 ความของไมแ้ ปตอ่ ท่อน จะตอ้ งใชไ้ ม้แปความยาว 3.50 เมตร ทาไม้ผงั นอนจานวน 15 ทอ่ น การหาจานวนไม้ยึดหลกั ผังกับผังนอน ใช้ไมแ้ ปขนาดความยาว 1.00 เมตร ยึดตามมมุ ผัง มมุ ละ 2 ท่อน จานวน 4 มุม ใช้ไม้แปยาว 1.00 เมตร จานวน 8 ทอ่ น ยดึ หลกั ผงั กบั ผงั นอน สรปุ ประมาณการใช้ วสั ดแุ ละอุปกรณส์ าหรบั การวางผงั 1) ตะปูขนาด 1\", 3\" 2) ไมแ้ ปขนาด 11  3  1.00 เมตร 35ทอ่ น 2 3) ไม้แปขนาด 11  3  3.50 เมตร 15 ทอ่ น 2 4) ปูนขาว 3 ถงุ (ใช้โรยเพือ่ กาหนดตาแหน่งและขนาดของฐานราก)

49 3.3 ขัน้ ตอนการวางผงั อาคาร จากการศกึ ษาแบบก่อสร้าง และการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ในการวางผังแล้ว ลาดับต่อไปจะเป็น การปฏิบัติงานวางผัง ซึ่งการวางผัง จะกาหนดตาแหน่งศูนย์กลางเสา และกาหนดตาแหน่งฐานราก สามารถทาได้ 2 วธิ คี ือ 3.3.1 การวางผังโดยวิธีการวางเส้นฐานใช้กล้องวัดมุม (Theodolite) นิยมใช้กับการ กาหนดตาแหน่งของอาคารขนาดใหญ่ ทาให้สะดวกต่อการปฏิบัติงาน ไม่มีแนวผังขัดขวางการ ทางาน และขนย้ายวัสดุ อุปกรณ์เข้าในบริเวณงานก่อสร้าง เช่น พวกป้ันจ่ันและเสาเข็ม การกาหนด ตาแหน่งของอาคารโดยวิธีการวางเส้นฐานที่เป็นคู่ฉาก โดยท่ีกาหนดเส้นฐานข้ึนอย่างน้อยสองเส้นให้ ทามุมฉากกัน เพื่อใช้เป็นเส้นบังคับความกว้างและความยาวของอาคารเส้นแนวอาคารหรือเส้น ศูนย์กลางเสาจะไดร้ บั การวดั ถ่ายออกไปจากเส้นฐานน้ี การกาหนดเส้นฐาน ควรให้ห่างจากแนวอาคารไม่ นอ้ ยกวา่ 2.00 เมตร จากภาพ (ภาพที่ 3.3) แสดงถึงการวางเส้นฐานประธาน กับเส้นฐานประกอบ ให้ ตัง้ ฉากต่อกนั เพอื่ ใช้กาหนดขอบเขตของอาคารและตาแหน่งศูนยก์ ลางเสา ซง่ึ มขี นั้ ตอนปฏิบัตงิ านดังน้ี 1) การกาหนดเส้นฐานประธานเส้น OX และเส้นประกอบ OY ให้ต้ังฉากระหว่างกัน ที่จุด O ด้วยกล้องวัดมุม โดยให้แนวอาคารห่างจากเส้น OX และ OY เท่ากับ 2.00 เมตร โดยทั่วไปเส้น ฐานทั้งสองเส้นน้ีควรกาหนดไว้ก่อนจากแบบแปลนผังบริเวณท่ีมีทิศทางกาหนดอ้างอิงไว้แน่นอน เช่น การกาหนดเส้นฐาน OX ให้ห่างหรือขนานกับเขตที่ดินในระยะที่สะดวกต่อการตั้งกล้องส่องเล็งแนว และส่องระดบั ได้ 2) ตามแนวเส้นฐาน OX ปักหมุดไม้กาหนดจุด A ,B,C,D,E ให้ห่างจากจุด O-A = 2.00 เมตร,A-B = 2.00 เมตร,B-C = 3.50 เมตร,C-D = 3.50 เมตร,D-E = 2.00 เมตร ตามลาดับ และ ตามแนวเส้นฐาน OY กาหนดจุดที่ O-1 = 2.00 เมตร,1-2 = 3.50 เมตร,2-3 = 3.50 เมตร ตามลาดับ หมดุ ที่กาหนดข้นึ คือ ตาแหนง่ ของแนวเสาอาคาร ท่ีกาหนดไวใ้ นแบบแปลนฐานราก 3) ย้ายกล้องต้ังด่งิ ที่ตาแหน่งจุด A เปิดมุมกล้องตั้งฉากกับเส้น OX เล็กเป้าและปักหมุด อ้างอิงที่ A เพ่ือที่จะได้เส้นแนวเส้นตรง A-A1 วัดระยะจากเส้นฐานตรงตาแหน่ง A ตามแนวเส้นตรง A-A1= 2.00 เมตร จะได้ตาแหน่งเสา A-1 วัดจากตาแหน่ง A-1 ถึง A-2 = 3.50 เมตร จะได้ ตาแหน่งเสา A-2 วัดจากตาแหน่ง A-2 ถึง A-3 = 3.50 เมตร จะได้ตาแหน่งเสา A-3 ด้วยวิธีบังคับ แนวด้วยกลอ้ ง และสอบระยะด้วยเทปตามวิธปี ฏบิ ัตเิ ช่นเดียวกับขอ้ 2 4) ย้ายกล้องตั้งดิ่งที่จุด B,C,D และ E ปฏิบัติด้วยวิธีเดียวกัน เพื่อกาหนดตาแหน่งเสา ในแนว เส้นตรง B-B1,C-C1,D-D1และ E-E1 ตามลาดับ 5) ตั้งกล้องท่ีจุด 1,2 ,3 เล็งแนวตรงตั้งฉากกับกับเส้นฐานประกอบ OY ยังหมุดเล็ง ตาแหน่ง 11 ,2 1 ,31 เส้นเลง็ แนวนี้จะต้องผ่านเส้นผ่าศูนย์กลางของหมุดเสาทต่ี อกไว้แตล่ ะแนว 6) ตรวจสอบความถูกต้องของหมุดศูนย์กลางเสาที่ตอกไว้ ด้วยวิธีการใช้วัดเส้นทแยง มุม ของรปู สีเ่ หลยี่ มจตรุ สั เสน้ ทแยงมุมทงั้ สองเส้นจะตอ้ งมคี วามยาวเท่ากนั 7) หมุด A,B,C,D และ E บนเส้นฐาน OX และหมุด 1,2,3 บนเส้นฐาน OY ควรทา เครอื่ งหมายแสดงตาแหน่งไวใ้ หเ้ ห็นชดั เจน เพราะต้องใช้อา้ งองิ กรณที ี่หมุดศนู ย์เสาสูญหาย

50 ภาพท่ี 3.3 แสดงแบบ การวางผังอาคารโดยวธิ ีวางเส้นฐาน

51 3.3.2 การวางผงั โดยวิธกี ารตีไม้ผัง การกาหนดขอบเขตของอาคารและศนู ย์กลางเสาของ อาคารอีกวิธีหนึ่ง ที่นิยมใช้ในงานปักผัง คือ วิธีสร้างไม้ล้อมบริเวณแนวผังอาคาร ซ่ึงอาจจะเรียกว่า การตีไม้ผัง ตัวไม้ผังนอนจะทาหน้าท่ีเหมือนเส้นฐาน เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่ใช้ทาผัง อาจมีเพียง เทป วัดระยะ ฉากจันทัน สายยางระดับ เพื่อใช้ในการถ่ายค่าระดับ นอกจากน้ียังใช้ไม้ผังนอนเป็นระดับ อ้างอิงสาหรับระดับกาหนดระดับความลึกของฐานราก และตรวจสอบหาศูนย์กลางเสา โดยไม่ จาเป็นตอ้ งใชก้ ล้อง 1) หาแนวไม้ผัง พิจารณาแบบแปลนผังบริเวณ แบบแปลนฐานราก คานคอดิน พ้ืน เพ่อื กาหนดตาแหนง่ แนวอาคาร แนวศูนยก์ ลางเสา เมื่อได้ตาแหน่งแนวอาคาร แนวศูนยเ์ สาแล้ว ให้วัด ระยะออกจากตาแหนง่ ศูนย์กลางเสา ประมาณ 2.00 เมตรโดยรอบแนวอาคาร เพอ่ื เปน็ แนวปักผัง 2) การตอกหลักผัง เป็นการตอกหลักรอบแนวไม้ผัง ที่ได้กาหนดและพิจารณาแนวไม้ ผังแล้วโดยนาไม้แปขนาด 11  3x 1.00 เมตร 35ท่อน ที่เตรียมไว้ในขั้นตอนการจัดเตรียมวัสดุ 2 พร้อมทงั้ เสย้ี มปลายหลักผังใหแ้ หลม เพอ่ื ให้ง่ายตอ่ การตอกหลกั มขี ้ันตอนการปฏิบัติดงั น้ี (ภาพท่ี 3.4) (1) นาไม้หลักผังตอกด้วยค้อนปอนด์ ตรงตาแหน่งตามมุมของแนวปักผังโดยรอบทั้ง สมี่ มุ ให้แนน่ และไดแ้ นวดง่ิ (2) ขึงเชือกเอ็นตามแนวหลักที่ตอกไว้ตรงมุมผัง เพ่ือเป็นแนวในการตอกหลัก ในช่วงกลางผัง หลักผังควรมีระยะห่างกันระหว่างหลักผังประมาณ 1.50-2.00 เมตร หลักผังที่ตอก จะตอ้ งไดแ้ นวเชอื กเอ็นและไดด้ ง่ิ ด้วย (3) ระดบั หลงั ผงั นอน ปกติท่วั ไปจะกาหนดระดับหลังผังนอนสูงกว่าระดับดินเดิม ประมาณ 50 เซนตเิ มตร โดยใช้สายยางระดบั ถา่ ยคา่ ระดับ ± 0.00 (ระดับดินเดิม) จากหมุดระดับ มา ที่หลักผังท่ีตอกไว้แล้วทาเครื่องหมายระดับดินเดิมที่หลักผัง จากน้ันใช้ตลับเมตรวัดค่าระดับจาก ตาแหน่ง ± 0.00 ขน้ึ ไป 0.50 เมตรจะไดร้ ะดบั หลังผงั นอน (4) เม่ือได้ระดับหลังผังนอนแล้ว หลักแรก ให้ใช้สายยางระกับถ่ายค่าระดับไปยัง หลกั ผงั มุมผงั ทง้ั ส่มี ุม แล้วใหใ้ ช้เชือกเอน็ ให้ตึง ทาเครอ่ื งหมายค่าระดับท่ีหลกั ผงั ตน้ กลางทุกตน้ (5) ใช้ตะปู 3\" ตอกค่าระดับตรงที่ทาเครื่องหมายค่าระดับตรงหลักผังทุกหลัก แลว้ ถอดเชอื กออก นาไม้วางตามแนวนอน ยกไม้แปให้ได้ระดับชนกับตัวตะปู จึงตอกยึดติดกับไม้หลัก ผงั ยดึ ตะปูใหแ้ น่น ทกุ หลักจนรอบแนวผัง

52 1 ภาพที่ 3.4 แสดงแบบ การวางแนวหลักผัง 3) ความแขง็ แรงของไม้ผัง เป็นการยดึ ไม้หลักผงั กบั ไมผ้ งั นอนเขา้ ดว้ ยกนั โดยใช้ไม้แป ตยี ดึ ไขวต้ ามมุมผงั ทกุ มุม และหากไม้ผังมีความกวา้ งและยาวมาก ควรยึดไม้ชว่ งกลางของผังดัวย

53 ข้อสังเกต งานวางผัง โดยการตีไม้ผัง จะเป็นการใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ธรรมดาในงาน ช่างไม้ทั่วไป ปฏิบัติงานได้ง่าย เป็นที่ยอมรับ แต่ในงานก่อสร้างบางประเภทอาจไม่เหมาะสม จึง อาจเลือกใช้วิธีวางเส้นฐานใช้กล้องวัดมุม ท่ีสะดวกต่อการทางาน แต่ต้องใช้ช่างท่ีมีความรู้เร่ืองกล้อง ระดบั และกลอ้ งวดั มุม วิธีนีจ้ ะนาไปใชก้ ับงานปักผังไดท้ ุกประเภท 3.4 การหาศูนยก์ ลางเสา กาหนดตาแหนง่ ฐานรากอาคาร เมื่อทาการตีไม้ผังเรียบร้อยแล้วก็จะต้องทาการหาศูนย์กลางของเสา หรือศูนย์กลางฐานราก ถึงแม้ จะทราบตาแหน่งก่อนที่จะตีแนวผังแล้วก็ตามแต่ก็เป็นเพียงการประมาณเท่าน้ัน ซ่ึงตอนน้ีต้องหา ระยะจุดตัดศูนย์กลางเสา ที่ต้องวัดอย่างเที่ยงตรง สาหรับคอกผังท่ีตีฉากตอนมุมได้ฉากดี ก็จะทาให้ การวดั ระยะบนแนวผงั ได้งา่ ยข้ึน มีขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านดงั นี้ 3.4.1 การกาหนดเส้นแนวแรก คือการกาหนดเส้นฐานหรือเส้นศูนย์กลางเสาด้านความยาวอาคาร วัดระยะจากผังไม้ถึงจุด1ด้านความกว้างอาคารประมาณ 1.50-2.00 เมตร (ภาพท่ี 3.5) บนแนวผังด้าน ความยาว ใช้ตะปูตอกท่ีหลังผังด้านความกว้างแล้วขึงเชือกเอ็นให้ตึง จะได้เส้นแนวแรกของอาคาร หรือเสน้ แนวศนู ยก์ ลางเสาตามความยาวอาคาร ภาพท่ี 3.5 แสดงแบบ การหาเส้นแนวแรก 3.4.2 การหาเส้นฉาก คือการหาเส้นบังคับฉากอาคารหรือแนวศูนย์กลางเสาด้านความกว้าง อาคารวัดระยะจากแนวผังถึงจุด A ตามความยาวอาคารประมาณ 1.50-2.00 เมตร (ภาพท่ี 3.6) บนแนวผังด้านความยาวอาคารแล้วเปิดแนวให้ทามุมฉากกับเส้นแนวแรก ใช้ตะปูตอกท่ีหลังผังด้าน ความยาวผงั แล้วขึงเชือกเอ็นให้ตึงไปตามความกว้าง จะได้เส้นเชือกเอ็นตัดกับเส้นเชือกเอ็นแนวแรกท่ี

54 จดุ A-1 จะได้เส้นแนวฉากของอาคารหรือเส้นแนวศูนย์กลางเสาตามความกว้างอาคาร ซึ่งมีวิธีในการ หาเส้นฉากได้ 2 วธิ ีคือ วิธที ี่1 ใชฉ้ ากจนั ทนั 1) ขึงเชอื กเอน็ เสน้ แนวแรก (เสน้ แนว1) 2) ขงึ เชือกเอ็นหาเสน้ ฉาก (เส้นแนวA) เชือกเอน็ ตัดกบั เส้นแนวแรกท่ี ตาแหน่ง A-1 (ภาพที่ 3.6) 3) ใช้ฉากจันทันวัดมุมฉากให้ด้านฐานของฉากวางสัมผัสกับเส้นแนวแรก (เส้นแนว1) 4) ขยบั ปลายเส้นเชอื กเอน็ (เสน้ แนวA) ใหเ้ ชือกเอน็ ขนานกบั ด้านข้างฉากจันทนั กจ็ ะได้มมุ ฉากที่ต้องการและตาแหน่งศนู ย์กลางเสา A-1 ภาพท่ี 3.6 แสดงแบบ การหาฉากโดยใช้ฉากจันทัน วิธีท่ี2 ใช้กฎ 3 :4 :5 ของพิธากอรัส (Pythagors’s) คือสามเหล่ียมใดๆท่ีมีระยะเป็น สดั ส่วนด้าน3 หน่วยต่อ 4 หน่วยต่อ 5 หน่วยสามเหลี่ยมน้นั คือสามเหลี่ยมมุมฉากซึ่งการหาเส้นฉากใน การวางผัง ไดด้ ังน้ี 1) ขึงเชือกเอ็นเส้นแนวแรก (เส้นแนว1) 2) ขึงเชือกเอน็ หาเสน้ ฉาก (เส้นแนวA) เชอื กเอ็นตดั กับเสน้ แนวแรกตาแหนง่ A-1( ภาพที่ 3.7)

55 3) วดั ระยะจากเสน้ แนวแรก (เส้นแนว1) 30 เซนติเมตร 4) วดั ระยะจากเส้นแนวฉาก (เส้นแนวA) 40 เซนติเมตร 5) วดั ระยะจากX-Y ใหไ้ ด้ระยะ 50 เซนตเิ มตร กจ็ ะไดม้ ุมฉากที่ ตอ้ งการและ ตาแหนง่ ศนู ย์กลางเสา A-1 (ภาพท่ี 3.7) 1.50-2.00 ม. 3.50 ม. 2.00 ม. 1.50-2.00 ม. 1X X2 A X A-1 40 ซม. Y เสน้ ฉาก เส้นแนวแรก 30 ซม. 50 ซม. BX X 3.50 ม. ไม้ผังนอน CX ภาพท่ี 3.7 แสดงแบบ การหาฉากโดยใช้กฎ 3:4:5 ของพธิ ากอรสั (Pythagors’s) 4.2.3 การกาหนดตาแหน่งศูนยก์ ลางเสา จากการได้เส้นแนวแรกและเส้นฉากแล้ว ให้ใช้ เทปวดั ระยะบนแนวผงั ตามยาวอาคารทง้ั สองด้านของคอกผัง (ภาพท่ี 3.4) 1) ใช้เทปวัดระยะบนไม้ผังด้านความยาวจากจุด A-B = 2.00 เมตร จากจุด B-C= 3.50 เมตร จากจุด C-D= 3.50 เมตรและจากจุด D-E = 2.00 เมตร ตอกตะปูตามตาแหน่งต่างๆ ลง บนไมผ้ ังตามระยะที่วัดไว้ 2) ใช้เทปวัดระยะบนไม้ผังด้านความกว้าง จากจุด 1-2 = 3.50 เมตร และ จาก 2-3 = 3.50 เมตร ตอกตะปูตามตาแหน่งต่างๆ ลงบนไม้ผงั ตามระยะท่ีวดั ไว้ 3) ใช้เชือกเอ็นขึงให้ตึง ตามตะปูท่ีตอกไว้ ตาแหน่งที่เชือกเอ็นตัดกัน ในแนวผังคือ ตาแหนง่ ศนู ยก์ ลางเสาซ่งึ มตี าแหนง่ ศนู ยก์ ลางดังภาพ (ภาพท่ี 3.8)

56 1 2 3 A-1 A-2 A-3 B-2 B-3 A B-1 B C-1 C-2 C-3 C D-1 D-2 D-3 D E-1 E-2 E การตาแหน่งศูนยก์ ลางเสา 1:100 ภาพท่ี 3.8 แสดงแบบ ตาแหน่งศูนย์กลางเสา บทสรปุ การวางผังอาคาร เป็นการกาหนดตาแหน่งของอาคาร ที่จะทาการก่อสร้างอาคารโดยเริ่ม จากการศึกษาแบบผังบริเวณ แบบแปลนฐานราก ตอม่อ คานคอดิน นารายละเอียดจากแบบมา ประกอบ การกาหนดแนวการวางผงั ดาเนินการวางผังตามขั้นตอน การวางผังทาได้ 2 วิธีคือ การวาง ผงั โดยวิธกี ารวางเส้นฐานใช้กล้องวัดมุมในการวางผัง ซ่ึงนิยมใช้ในงานก่อสร้างขนาดใหญ่ กับการวาง ผังโดยวิธีการตีไม้ผัง เหมาะสาหรับงานก่อสร้างทั่วๆไป เมื่อวางผังแล้วจะเป็นการกาหนด ศูนย์กลางเสา กาหนดตาแหน่งฐานราก เพ่ือท่ีจะปฏิบัติงานฐานรากอาคารในข้ันตอนก่อสร้างต่อไป

57 แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยที่ 3 เวลา 10 นาที เร่อื งการวางผังอาคาร คาชีแ้ จง 1. แบบทดสอบมีทงั้ หมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน 2. ให้นกั ศกึ ษาทาเครอ่ื งหมาย  ในตัวเลอื กทีเ่ หน็ ว่าถูกต้องท่ีสดุ ลงในกระดาษคาตอบ 1. แบบทีใ่ ช้ในการประกอบการวางผังอาคารคือ ก. แบบแปลนพื้น แบบขยายคาน ข. แบบแปลนผังบรเิ วณ แบบแปลนพนื้ ค. แบบแปลนพน้ื แบบแปลนโครงหลงั คา ง. แบบแปลนผงั บรเิ วณ แบบแปลนฐานราก คานคอดนิ 2. ไมข้ นาดใดท่ีนิยมใชท้ าไมห้ ลกั ผัง ในการวางอาคาร ก. ไม้ 11  1 1 22 ข. ไม้ 11  3 2 ค. ไม้ 1\"1\" ง. ไม้ 2\"2\" 3. โดยทั่วไปใครเปน็ ผ้รู ับผดิ ชอบในการวางผังอาคาร ก. ช่างปนู ข. ชา่ งไม้ ค. ช่างเหลก็ ง. เจา้ ของบ้าน 4. การวางผงั อาคารเพ่ืออะไร ก. เทคอนกรีตฐานราก ข. ขดุ หลุมฐานราก ค. วางคานคอดนิ ง. กาหนดแนวอาคารและตวั อาคาร 5. การวางผงั อาคารสามารถทาได้ก่ีวิธี ก. 2 วิธี ข. 3 วิธี ค. 4 วิธี ง. 5 วิธี 6. เครื่องมือชนดิ ใดไมม่ ีความจาเป็นท่ีใช้ในการวางผังอาคารโดยวธิ กี ารวางเสน้ ฐาน ก. เทปวัดระยะ ข. กลอ้ งระดับ ค. เสายางระดบั ง. กล้องวดั มมุ

58 7. ถ้าต้องการหาคา่ ระดบั หลงั ผงั ควรใช้เคร่อื งมือชนิดใด ก. ลกู ด่งิ ข. สายยางระดับ ค. ฉากจันทนั ง. เทปวัดระยะ 8. การถา่ ยตาแหนง่ ศูนยก์ ลางเสาลงดนิ ใช้เครือ่ งมือชนดิ ใด ก. สายยางระดบั ข. ฉากจันทนั ค. ลกู ด่งิ ง. เทปวดั ระยะ 9. การวางผงั อาคารโดยวิธกี ารวางเสน้ ฐาน การกาหนดเสน้ ฐานควรหา่ งจากแนวอาคารไมน่ ้อยกวา่ เท่าไร ก. 1.00 เมตร ข. 2.00 เมตร ค. 3.00 เมตร ง. 4.00 เมตร 10. การวางผงั อาคารโดยวธิ กี ารตไี มผ้ ัง ควรให้ระดบั หลงั ผังสงู ประมาณเท่าใด ก. 50 เซนติเมตร ข.100 เซนติเมตร ค.120 เซนตเิ มตร ง.150 เซนตเิ มตร

59 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เฉลยแบบทดสอบ หน่วยท่ี 3 10. ข 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. กค ง งกขคกก 10. ก แบบทดสอบหลังเรยี น 4. 5. 6. 7. 8. 9. งกคขคข 1. 2. 3. งงข

60 เอกสารอ้างอิง พภิ พ สนุ ทรสมยั . เทคนิคการก่อสร้างอาคารเบ้ืองต้น. กรงุ เทพฯ: โปรเฟรสชนั่ แนลพบั ลิชช่ิง, 2524. พิภพ สุนทรสมัย. การซ่อมและตกแต่งอาคาร. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุ่น), 2534. มนสั กลอ่ งเพช็ ร. เทคนิคก่อสร้าง 1. พมิ พ์คร้งั ท่ี 1. กรุงเทพฯ: เอมพันธ,์ 2543. สุโขทัยธรรมาธริ าช, มหาวิทยาลัย. เอกสารงานสอนชุดวิชา 31303 งานสนาม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพ: มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2542.

61 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 4 เรือ่ ง งานฐานรากอาคาร สาระสาคญั งานฐานรากอาคาร เป็นงานโครงสร้างอาคารที่อยู่ใต้ดิน รับน้าหนักจากโครงสร้างอาคาร แล้วถ่ายนา้ หนักทังหมดลงสู่หัวเสาเข็ม หรือดินท้องฐานราก การปฏิบัติงานฐานรากอาคาร เริ่ม งานจาก การก้าหนดหลุมฐานราก ขุดหลุมฐานราก ก้าหนดระดับท้องฐานราก เทคอนกรีตหยาบ การ ก้าหนดศูนย์กลางเสาและฐานราก ประกอบแบบฐานราก การวัด ตัด ดัด เหล็กตะแกรงฐานราก การผูก เหล็ก การผสมคอนกรีต การล้าเลียง คอนกรีต การเทคอนกรีตฐานราก การถอดแบบฐานรากและบ่ม คอนกรตี จุดประสงค์การเรยี นรู้ จุดประสงคท์ ั่วไป 1. เพื่อให้มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกับฐานรากอาคาร 2. เพ่ือใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั การงานฐานรากคอนกรีตเสรมิ เหลก็ 3. เพ่ือใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั แยกรายการวสั ดุ อุปกรณ์ ในงานฐานราก 4. เพ่อื ใหม้ ีทักษะในงานเตรยี มหลมุ ฐานรากและแบบหล่อคอนกรตี ฐานราก 5. เพ่ือใหม้ ีทักษะในงานเหล็กเสริมคอนกรตี และงานคอนกรีตฐานราก 6. เพื่อให้มีเจตคติและกิจนิสยั ท่ีดีในการเรยี นและการปฏบิ ตั งิ าน 7. เพอ่ื ให้มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. อธบิ ายขนั ตอนการปฏบิ ัตงิ านฐานรากอาคารได้ 2. จดั เตรียม รายการวสั ดุ อปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมืองานฐานราก ได้ 3. ปฏิบัตงิ านเตรียมหลมุ ฐานรากและงานแบบหล่อคอนกรีตได้ 4. ปฏิบัตงิ านเหลก็ เสรมิ ฐานรากและงานคอนกรตี ฐานรากอาคารได้ 5. มีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนและการปฏบิ ตั งิ าน 6. ปฏิบตั งิ านด้วยความรับผิดชอบและมีระเบียบวินัย 7. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สาระการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประกอบดว้ ยหวั ขอ้ สาระการเรียนรู้ ดงั นี 4.1 ประเภทฐานราก 4.2 การเตรยี มหลมุ ฐานราก 4.3 งานแบบหล่อคอนกรตี ฐานราก 4.4 งานเหล็กเสรมิ ฐานราก 4.5 งานคอนกรีตฐานราก

62 กจิ กรรมการเรียนการสอน 1. แจ้งจุดประสงค์ใหผ้ ู้เรียนเข้าใจก่อนเรยี น 2. ใหผ้ ู้เรียนท้าแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยที่ 4 3. ครบู รรยายน้าเข้าสู่บทเรยี น 4. ผูเ้ รียนศึกษาเนือหาความรู้ในเอกสารประกอบการสอน เร่ือง การศึกษาแบบก่อสรา้ ง 5. การอภปิ รายและการซักถามเกย่ี วกับบทเรยี นร่วมกัน 6. ผเู้ รียนแบ่งกลมุ่ ๆ ละ 6 คน ฝึกปฏบิ ตั งิ านตามใบงานที่ 5 7. ผูเ้ รียนและครู รว่ มกนั สรปุ เนอื หาประกอบสื่อ 8. ผู้เรยี นท้าแบบทดสอบหลังเรยี น สื่อการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชางานกอ่ สร้างอาคาร 1 2. แผน่ ใสประกอบการบรรยาย 3. แผน่ ภาพ 4. แบบก่อสร้างอาคารและรายการประกอบแบบ 5. ชดุ ฝกึ ปฏิบตั งิ าน งานกอ่ สรา้ งอาคาร 1 (งานฐานรากคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ) การวัดผล ประเมินผล 1 วัดผลตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2 วธิ ีวดั ประเมนิ ผล 2.1 สงั เกต เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ในการเรยี นรแู้ ละปฏิบัตงิ าน 2.2 สังเกต และตรวจผลงาน จากการปฏิบัติงานตามใบงาน 2.3 ประเมนิ ผลจากแบบทดกอ่ นหลงั เรยี น 2.4 ประเมินผลจากแบบทดสอบหลังเรยี น 3. เครอื่ งมือวัด ประเมนิ ผล 3.1 แบบประเมิน เจตคติ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 3.2 แบบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน 3.3 แบบทดสอบก่อนเรียน 3.4 แบบทดสอบหลงั เรียน

63 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยท่ี 4 เรือ่ งงานฐานรากอาคาร เวลา 10 นาที คาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทังหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน 2. ให้นักศกึ ษาท้าเคร่ืองหมาย ในตวั เลือกท่เี หน็ วา่ ถูกตอ้ งทีส่ ุดลงในกระดาษค้าตอบ 1. ฐานรากอาคารมหี นา้ ท่ีอะไรในโครงสร้างอาคาร ก. รบั นา้ หนกั คานคอดิน ข. รับน้าหนกั ผนงั อาคาร ค. รับน้าหนกั แรงในแนวดง่ิ จากเสาตอม่อแลว้ กระจายแรงสู่พืนดิน ง. รับนา้ หนักแรงในแนวดงิ่ จากพืนอาคารแล้วกระจายแรงสู่พนื ดนิ 2. งานฐานรากอาคารเปน็ งานโครงสร้างประเภทใด ก. งานโครงสร้างผสม ข. งานโครงสร้างบนดิน ค. งานโครงสรา้ งใกลผ้ วิ ดิน ง. งานโครงสร้างที่อยู่ใตด้ นิ 3. ฐานรากท่มี เี สาอยู่ต้นเดยี วทีจ่ ุดกึง่ กลางเรียกว่า ก. ฐานรากแผ่ ข. ฐานรากรว่ ม ค. ฐานรากแผ่เด่ยี ว ง. ฐานรากแผ่รว่ ม 4. ฐานรากแผท่ ี่มีเสาสองตน้ เรยี งชดิ ติดกันเรยี กว่า ก. ฐานรากแผ่ ข. ฐานรากร่วม ค. ฐานรากแผ่เดย่ี ว ง. ฐานรากแผ่ร่วม 5. วสั ดุทนี่ ยิ มใชท้ ้าฐานรากอาคารคือ ก. เสาไม้ ข. คอนกรีตหยาบ ค. คอนกรตี เสรมิ เหล็ก ง. คอนกรีตผสมเสรจ็ 6. ไมแ้ บบปกตทิ ่ัวไปจะใช้ไม้หนาขนาดเท่าไร ก. 1 2 ข. 1 ค. 11 2 ง. 2

64 7. การขดุ หลมุ ฐานรากบริเวณทเ่ี ป็นดนิ เหนยี วมมี ุมลาดเอียงปากหลุมเทา่ ไร ก. 15 องศา ข. 30 องศา ค. 45 องศา ง. 60 องศา 8. คอนกรตี หยาบ หมายถึงคอนกรตี ที่มีอัตราส่วนผสมเทา่ ไร ก. 1:1:2 ข. 1:2:3 ค. 1:2:5 ง. 1:3:5 9. การผูกเหล็กตะแกรงฐานรากให้แน่นควรใช้การผกู เหลก็ แบบใด ก. แบบทแยง ข. แบบกากบาท ค. แบบสาแหรก ง. แบบมว้ นเกลยี ว 10. ลวดผูกเหล็กในงานเหล็กเสริมคอนกรตี ใชล้ วดอะไร ก. ลวดเบอร์ 12 ข. ลวดเบอร์ 14 ค. ลวดเบอร์ 16 ง. ลวดเบอร์ 18

65 หน่วยที่ 4 งานฐานรากอาคาร ฐานราก เป็นโครงสรา้ งของอาคารท่ีอยใู่ ต้ผวิ ดิน ซึ่งนอกจากจะท้าหน้าท่ีรับน้าหนักแรงในแนวด่ิง ของอาคารส่วนบนจากเสาตอม่อ กระจายสู่พืนดินส่วนล่าง ยังช่วยกระจายแรงทางด้านข้างที่เกิดจาก แรงลม แรงดันของดิน แรงดันของน้า หรือแรงที่เกิดขึนจากแผ่นดินไหว ที่มากระท้าต่อโครงสร้าง อาคารไปสู่ดิน ป้องกันไม่ให้อาคารเกิดการลื่นไถลหรือพลิกคว่้า ส้าหรับวัสดุท่ีใช้ก่อสร้างของฐานราก ส่วนมากจะเป็นงานคอนกรตี เสรมิ เหลก็ 4.1 ประเภทของฐานราก ฐานรากแบง่ ได้เปน็ 2 ประเภทตามแบบของการถ่ายนา้ หนักของอาคารลงส่ฐู านราก คอื 4.1.1 ฐานรากแผ่ เป็นฐานรากท่ีใช้กับอาคารที่ก่อสร้างในบริเวณดินแข็ง เช่นพืนที่ใกล้ภูเขา ท่ีดนิ เปน็ ดนิ ลูกรัง มีคณุ สมบัตริ บั แรงกดหรือรับน้าหนักได้ดี งานก่อสร้างอาคารจะวางฐานรากบนพืนดิน นา้ หนักอาคารถ่ายน้าหนักผา่ นฐานราก กระจายลงสู่ดนิ แบ่งออกเป็น 4 ชนดิ คอื 1) ฐานรากแผ่เดี่ยว เป็นฐานรากที่นิยมใช้ท่ัวไปในการก่อสร้าง มีลักษณะในหน่ึงฐานราก จะมเี สาอยตู่ ้นเดยี วทจี่ ุดศนู ย์กลางฐานราก ตัวฐานรากอาจเป็นรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมพืนผ้า หรือรูป อ่ืนๆ กไ็ ด้ ภาพที่ 4.1 แสดงแบบ ฐานรากแผเ่ ดีย่ ว 2) ฐานรากตีนเป็ด เป็นฐานรากท่ีออกแบบ มาเพื่อรับน้าหนักบรรทุกของเสาตอม่อ หรือ ก้าแพงที่อยู่ริมขอบฐานราก ท้าให้น้าหนักที่ถ่ายลงสู่ฐานเยืองศูนย์กับจุดศูนย์ถ่วงของฐาน เช่นฐาน รากที่อยใู่ กล้กบั แนวเขตทีด่ ินหรอื ฐานรากชดิ กบั แนวอาคารเดมิ

66 ภาพท่ี 4.2 แสดงแบบ ฐานรากตีนเป็ด 3) ฐานรากร่วม เป็นฐานรากแผ่ท่ีมีเสาตังแต่ 2 ต้นขึนไปเรียงชิดติดกันเป็นแถวมีเสาอยู่ ใกลก้ นั มีการถา่ ยน้าหนกั ท่ใี กล้เคยี งกนั จงึ ใชฐ้ านรากรว่ มกันได้ ภาพที่ 4.3 แสดงแบบ ฐานรากร่วม 4) ฐานรากแผ่ร่วม หรือฐานรากแพเป็นฐานรากแผ่ขนาดกว้างให้เต็มพืนที่อาคารเพียงฐาน รากเดียว มีเสาหลายๆ ต้น ฐานรากชนิดนีเหมาะส้าหรับอาคารขนาดใหญ่ใช้ในกรณีท่ีดินมี ความสามารถรับนา้ หนักได้น้อย เมื่อเปรียบเทียบระยะห่างระหว่างเสาหลายๆ ต้นที่วางกันอยู่ และ สะดวกในการขดุ ดนิ เป็นหลมุ รวมหลุมเดียวทังอาคารหรือกรณีท่ีเสาตอม่อใกลก้ นั ทังอาคาร

67 ภาพท่ี 4.4 แสดงแบบ ฐานรากแผร่ ่วม 4.1.2 ฐานรากแบบเสาเข็ม เป็นฐานรากที่ใช้กับอาคารที่ก่อสร้างในท้องที่ดิน เหนียว หรือที่ลุ่ม คุณภาพของดินไม่มีคุณสมบัติรับน้าหนักของอาคารได้ งานก่อสร้างอาคารจึงต้อง สร้างให้ฐานรากวางอยู่บนเสาเข็ม เพื่อถ่ายน้าหนักของอาคารผ่านฐานราก ลงสู่เสาเข็มและกระจาย น้าหนกั ลงชันดนิ แบ่งออกเปน็ 2 ชนิดคอื 1) เสาเข็มความฝืด คือ เสาเข็มที่ใช้หลักการของแรงพยุงผิวหรือแรงเสียด ทานรอบตัวของเสาเข็มช่วยรับน้าหนัก จึงใช้เสาเข็มสันได้ เหมาะส้าหรับงานก่อสร้าง อาคาร ทั่วไป ภาพท่ี 4.5 แสดงแบบ เข็มความฝดื 2) เสาเข็มรับน้าหนักปลายเข็ม คือเสาเข็มที่ใช้ปลายเสาเข็ม น่ังบนชันระดับ ดินแขง็ จึงเป็นลกั ษณะของเสาเข็มยาว เหมาะส้าหรับงานก่อสร้างอาคารสูงและอาคารขนาดใหญพ่ ิเศษ

68 ภาพที่ 4.6 แสดงแบบ เข็มรับนา้ หนักปลายเข็ม 4.2 การเตรียมหลุมฐานราก เป็นงานขุดดินฐานราก ให้มีขนาดความกว้าง ความยาว ความลึก และปรับดินก้นหลุมรองทราย หยาบ เทคอนกรีตหยาบรองก้นฐานรากให้พร้อมก่อนงานประกอบไม้แบบ ผูกเหล็ก และเทคอนกรีต ฐานราก ทม่ี ีขันตอนการปฏิบตั ิงานดังนี 4.2.1 งานขุดดนิ หลุมฐานรากอาคาร ท่ีมีความลึกไม่เกิน 2 เมตรการขุดดินควรใช้วิธีการขุดดิน แบบปากหลุมมมี มุ ลาดเอยี ง ซง่ึ มขี ้อมลู ในการพิจารณาดังนี 1) ชนิดของดินขุด ให้พิจารณาว่าบริเวณที่จะขุดดิน เป็นดินชนิดใด เช่น เป็นดินปน ทรายท่ัวๆ ไปการขุดดินต้องมีมุมลาดเอียงประมาณ 30 องศาหรือประมาณ 1:3 ถ้าเป็นดินเหนียวมี มุมลาดเอียงประมาณ 45 องศา หรอื ประมาณ 1:1 ดังภาพท่ี 4.7 2) การกองเก็บดินขุดหลุมฐานราก ปริมาณของดินขุดออกมา มีจ้านวนมาก น้อย เพยี งใด มที กี่ องเกบ็ ดินเพียงพอหรอื กีดขวางการท้างานหรือไม่ ซ่ึงอาจจะก่ออุบัติเหตุได้ หากกองดินติด กบั ปากหลมุ มากเกนิ ก็จะทา้ ให้ดนิ ตกลงในก้นหลุมฐานรากขณะปฏบิ ตั ิงานได้ 3) การเปรียบเทียบคา่ ใช้จ่ายงานขุดหลุมฐานราก ระหว่างการท้าระบบป้องกันดินพังโดย วิธีการอื่น กับการขุดดินแบบมุมลาดเอียง ว่างานขุดหลุมวิธีใดมีความเหมาะสมกว่ากัน ทังค่าใช้จ่าย และระยะเวลาการทา้ งาน

69 ภาพที่ 4.7 แสดงแบบ การขุดดินฐานรากแบบปากหลุมมีมมุ ลาดเอียง 4.2.2 การปรบั ดินกน้ หลมุ รองทราย เป็นการท้าให้ก้นหลุมฐานรากมีความเรียบและดินก้นหลุม แน่น เนอ่ื งจากดนิ กน้ หลุมท่ถี กู ขุดจะเป็นดินเสียสภาพและเสยี กา้ ลัง จึงตอ้ งปรับสภาพดินก้นหลุม ด้วย การโกยหรือขุดออก หรือถ้าก้นหลุมมีน้าซึมขังให้วิดน้าออก แล้วใช้ทรายหยาบแห้งใส่แทนดินท่ีขุดขึน ท้าการบดอัดตบทรายให้แนน่ ปรบั ระดับทรายให้ไดร้ ะดับทีท่ ้องคอนกรตี หยาบ 4.2.3 การเทคอนกรีตหยาบ เป็นคอนกรีตที่มีอัตราส่วนผสมของวัสดุมวลคละหิน และทราย หยาบ มากกวา่ คอนกรีตโครงสร้าง มอี ตั ราสว่ นผสม 1:3:5,1:3:6 ประโยชน์ของการเทคอนกรีตหยาบใต้ฐาน ราก มหี ลายประการ เชน่ 1) เพื่อรัดหวั เสาเข็มให้อยู่เปน็ กลุ่ม และอยู่ในต้าแหน่ง 2) เพ่ือกนั ไมใ่ ห้คอนกรีตของฐานรากไหลปนกับทรายหยาบกน้ หลมุ ฐานราก 3) เพ่ือท้าใหร้ ะดับใต้ฐานราก และสะดวกต่อการทา้ ไม้แบบ และเหล็กเสริม 4) เพื่อให้การทา้ งานในฐานรากง่ายขึนเมือ่ เทคอนกรีตหยาบแล้ว 4.3 งานแบบหล่อคอนกรีตฐานราก งานแบบหล่อคอนกรีตฐานราก คือ แบบหล่อที่ประกอบขึนเพื่อใช้ในการหล่อคอนกรีตฐานราก ให้มีรูปร่าง ลักษณะ ขนาด ต้าแหน่งของคอนกรีตตามที่ก้าหนดในแบบงานก่อสร้าง ซึ่งผู้ที่ท้าการ ก่อสร้าง จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในงานแบบหล่อตังแต่การเตรียมแบบหล่อคอนกรีต การ ประกอบตดิ ตังแบบหล่อ การตรวจสอบต้าแหน่ง ขนาด ระดบั ของฐานราก 4.3.1 การเตรียมแบบหล่อคอนกรีต ในการเตรียมแบบหล่อคอนกรีตผู้ที่มีหน้าที่เตรียมแบบ หลอ่ ตอ้ งมีความรู้เกยี่ วกับแบบหลอ่ คอนกรตี รจู้ กั หน้าท่ี คณุ สมบตั ิของแบบหล่อ และการเลือก ใช้วัสดุ ท้าแบบหลอ่ ทีจ่ ะนา้ มาใช้ในงานก่อสรา้ ง 1) แบบหลอ่ คอนกรตี มีหนา้ ท่ีสา้ คญั ดงั นี (1) ทา้ หนา้ ท่ีขนึ รูปร่างคอนกรีตใหไ้ ด้ขนาด ตามแบบก่อสร้างที่ก้าหนด (2) ท้าหนา้ ท่เี ป็นนงั่ ร้านส้าหรับงานผกู เหล็กเสรมิ คอนกรีต

70 (3) ทา้ หนา้ ทเี่ ปน็ โครงสรา้ งชัว่ คราวรบั น้าหนกั คอนกรตี ขณะท้าการหล่อคอนกรีตและบ่ม คอนกรีต 2) คณุ สมบัติของแบบหล่อ (1) มรี ูปร่างชดั เจน แบบหล่อขึนรูปชัดเจน มีเหลียมมุมหรือสว่ นโค้ง (2) การประกอบแบบหล่อ ถูกตอ้ งตรงตามต้าแหนง่ และระดับของอาคาร (3) มผี ิวเรียบ ไมบ่ ิดงอ ไมม่ รี อยรวั่ เมอ่ื ประกอบแบบแลว้ (4) ถอดแบบง่าย ขณะทา้ การถอดแบบไม่ทา้ ให้ผิวคอนกรีตเกิดการเสยี หาย สามารถ นา้ ไปใช้งานอีกได้ 3) การเลือกใช้วัสดุท้าแบบหล่อ วัสดุที่ใช้ท้าแบบหล่อคอนกรีต ปกติจะใช้ แบบไม้ หรือ แบบเหล็ก แต่ในท่ีนีจะกล่าวเฉพาะแบบไม้ แต่การเลือกใช้แบบหล่อปกติจะขึนอยู่กับลักษณะอาคาร และความช้านาญของช่างผู้ท้าการก่อสร้างอาคารไม้แบบ และไม้เคร่า มีลักษณะ และการบอกขนาด ดงั นี (1) ไม้แบบ มีลักษณะเป็นไม้แผ่นไม่บิดงอไม่มีตาไม้ รอยแตก รอยแยก ไม่ผุ การ บอกขนาดไม้แบบจะมีขนาดตามมาตรฐาน หนา 1\" หรือ 2.5 เซนติเมตร และความกว้างจะบอกตาม หน้าไม้ เช่น ไม้แบบหน้า 6\" ไม้แบบหน้า 8\" และไม้แบบหน้า 10\" ส่วนความยาวของไม้แบบจะบอก เป็นเมตรโดยทั่วไปไม้แบบจะมีความยาวตังแต่ 3.00 เมตร และความยาวเพ่ิมครังละ 50 เซนติเมตรจนถึง 5.00 เมตร (2) ไม้เคร่า มีลักษณะเป็นไม้ท่อนสี่เหลี่ยมพืนผ้า ตรงไม่บิดงอ ไม่ผุ ไม่มีตาไม้ ไม่ ต้องไส เพราะส่วนมากน้ามาท้าเป็นไม้โครงเคร่าของไม้แบบ โดยทั่วไปจะใช้ไม้ยาง เพราะเป็นไม้ที่ดี ไม้เคร่าโดยทั่วไปเขาจะเรียกว่า ไม้แปหรือไม้หน้าสาม ซึ่งมีขนาดตามมาตรฐาน หนา 11  3 ความยาว 2 มที ุกขนาดตงั แต่ 1.00 เมตรและความยาวเพ่ิมครังละ 50 เซนติเมตร จนถงึ 5.00 เมตร 4.3.2 ข้ันตอนการประกอบติดต้ังแบบหล่อ หลังจากเทคอนกรีตหยาบก้นหลุมฐานราก ทา้ ความสะอาดล้างผิวคอนกรีตหยาบฐาน ประกอบติดตังไม้แบบฐานรากควรปฏิบัติดังนี 1) การถ่ายแนวศูนย์กลางฐานราก วัดระยะขนาดฐานราก จากผังอาคารได้ต้าแหน่ง ศูนย์กลางเสา ศูนย์กลางฐานรากแล้ว ตามหมุดตะปูบนไม้หลังผัง การหาศูนย์กลางฐานรากในหลุม ฐานราก ให้ขึงเชือกเอ็นที่ไม้หลังผัง ทังด้านความกว้างผังและด้านความยาวผัง เชือกเอ็นที่ขึงจะท้า มุมตัดกัน ต้าแหน่งที่เชือกเอ็นตัดกันทุกจุด เป็นต้าแหน่งศูนย์กลางของฐานราก ให้ท้าการถ่ายแนว ศูนย์กลางฐานรากใช้ ลูกดง่ิ ทิงดง่ิ ตามแนวเชือกเอน็ ไม้หลงั ผงั ลงไปที่ก้นหลุมฐานราก ท้าเครื่องหมายตรง จดุ ดง่ิ และตีเส้นตามต้าแหนง่ ด่งิ กจ็ ะเกิดจุดตัดเหมือนกับเชือกเอ็นบนผัง จุดตัดผิวคอนกรีตหยาบ เป็น ต้าแหน่งศูนย์กลางฐานรากท่ีก้นหลุม จากจุดศูนย์กลางฐานราก ให้วัดระยะเป็นแนวขอบฐานรากทังสี่ ด้านโดยใช้ระยะครึ่งหนึ่งของความกว้างฐานราก เช่น ฐานรากกว้าง 1.001.00 เมตร ระยะจาก ศูนย์กลางถึง แนวขอบฐานรากเท่ากับ 0.50 เมตรทังสี่ด้าน ใช้บักเต้าตีเส้นให้รอบ จะได้แนวขอบ ฐานรากท่ีมขี นาด 1.001.00 เมตร ตามทกี่ า้ หนด

71 2) การประกอบไมแ้ บบ จากแบบฐานรากมขี นาด 1.00 1.00 เมตร หนา 0.20 เมตร ไม้ที่ใช้ใน การท้าแบบ คือไม้แบบขนาด 1\"8\" ยาว 1.00 เมตร 2 แผ่นไม้แบบ 1\"8\" ยาว 1.25 เมตร 2 แผ่น ไม้ เครา่ 11  3 ยาว 0.50 เมตร 8 ทอ่ น มีขันตอนการปฏิบัตงิ านดังนี 2 (1) นา้ ไม้แบบ 1\"8\" มาตดั ให้ได้ความยาว 1.00 เมตรจ้านวน 2 แผน่ แล้วนา้ ไมเ้ ครา่ มาตี ตะปูตดิ ไม้แบบทงั 2 แผ่น ดังภาพที่ 4.8 ภาพที่ 4.8 แสดงแบบ การตีไม้เคร่าติดไม้แบบ (2) น้าไม้แบบ 1\" 8\" มาตัดให้ได้ความยาว 1.25 เมตร จ้านวน 2 แผ่นน้าไป ประกอบกับไม้แบบท่ีตีไม้เคร่าไว้แล้ว โดยวัดระยะไม้แบบมีความกว้าง 1.00 เมตรซึ่งจะได้ไม้แบบรูป สเี่ หลี่ยมจตุรัสขนาด 1.001.00 เมตร ดังภาพที่ 4.9 ภาพที่ 4.9 แสดงแบบ การยึดไมแ้ บบ

72 (3) น้าไม้แบบฐานรากที่ประกอบไว้แล้วลงไปวางให้ตรงต้าแหน่ง ตามแนวฐานรากท่ีตีเส้น ไว้บนคอนกรีตหยาบก้นหลุม แล้วใชไ้ มเ้ คร่าตอกรดั ชว่ งกลางไม้แบบใหแ้ นน่ ดงั ภาพที่ 4.10 ภาพท่ี 4.10 แสดงแบบ การประกอบตดิ ตังไม้แบบฐานราก (4) ก้าหนดระดับฐานรากให้วัดระดับจากเชือกเอ็นหลังผัง ถึงระดับไม้แบบฐานราก ใช้ ตะปตู อกระดับหลังฐานรากไว้ทดี่ า้ นข้างไม้แบบ ในกรณีทค่ี วามหนาของคอนกรีตฐานรากเท่ากับขนาด ความกว้างของไมแ้ บบ ระดบั ฐานรากจงึ เปน็ ระดบั ที่ปากไมแ้ บบฐานราก 4.4 งานเหล็กเสริมฐานราก เหล็กเสริมฐานรากเป็นเหล็กท่ีใช้เสริมคอนกรีตฐานรากเพื่อท้าหน้าที่รับน้าหนักจากเสาตอม่อ และกระจายน้าหนักลงดนิ หรือเสาเข็มท่ัวๆ ไปเรียกว่าเหล็กตะแกรงฐานราก เพราะเม่ือผูกขึนรูปเสร็จ แล้วมลี ักษณะคล้ายรูปตะแกรง

73 ภาพท่ี 4.11 แสดงแบบ การเสริมเหลก็ ฐานราก 4.4.1 หาเหล็กและตะแกรงฐานราก จากรายละเอียดแบบฐานราก ก้าหนดขนาดและระยะห่างของ เหล็กตะแกรงเอาไว้เช่น Ø 12 มม.@ 0.20 ม. หมายถึงใช้เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 มลิ ลเิ มตรวางเหลก็ เสริมห่างกัน 0.20 ม. วางเหล็กสลับซอ้ นทบั กนั ทงั สองด้านแถวละ 6 เสน้ และผูกยดึ เหลก็ ให้แน่นโดยใชล้ วดผกู เหลก็ (ลวดเบอร1์ 8) ซึ่งมีวิธีหาจ้านวนเหล็กเสริมฐานราก ดังนี 1) หาจา้ นวนเหล็กตะแกรงฐานราก จ้านวนเหลก็ ตะแกรง = 100..0.26102ท+2อ่ 1รนะต=ย=คอ่ะว5เหาห1่มา+2ลงกเ็กหวท1ตา้ล่องะก็ ฐนแต=านกะ=แรรกางกร1ง6+ฐท1า่อนนรตาก่อดา้ น แต่เหลก็ ตะแกรงมี 2 ดา้ น = จะใชเ้ หลก็ Ø 12 มม. = = 2) หาความยาวเหล็กตะแกรงต่อท่อน จากแบบ ฐานรากมีความกว้าง 1.00 เมตร การวัดเหล็กเสริมคอนกรีตจะต้องเว้นระยะ ให้คอนกรีตหุ้มเหล็กเสริมอย่างน้อย 2.5 เซนติเมตร โดยรอบ การของอหัวท้ายเหล็กเสริม เม่ือดัดงอขอแล้วให้มีส่วนย่ืนขอต่อไปอีก 4 เท่าของ เสน้ ผ่าศูนย์กลางเหล็กเสริมแต่ไม่น้อยกว่า 5 เซนตเิ มตร ความยาวเหล็กตะแกรง = (ความกวา้ งฐานราก-ระยะคอนกรีตหุ้มเหลก็ หัวทา้ ย)+(ระยะงอขอ 2) = (1.00 – 0.05) + (0.05  2) = 0.95 + 0.10 จะใชเ้ หลก็ Ø 12 มม. มีความยาว = 1.05 เมตรต่อทอ่ น สรุปการวัดตัดเหลก็ และดดั เหลก็ ได้ ดงั นี 1) นา้ เหลก็ เส้น Ø 12 มม.มายดื ออกให้เป็นเสน้ ตรง

74 2) วัด ตดั เหลก็ ความยาว 1.05 เมตรจ้านวน 12 ท่อนตอ่ 1ฐานราก 3) นา้ เหลก็ ท่อนความยาว1.05 เมตรมาดดั งอขอหัวท้าย 4) ตรวจสอบทอ่ นเหลก็ ทงี่ อขอใหไ้ ด้ความยาวเท่ากบั 0.95 เมตร/ ท่อน 4.4.2 การผูกเหล็กฐานราก เหล็กฐานราก มีส่วนประกอบของเหล็กเสริม บ่งออก เป็นสองส่วน คือ ส่วนทเ่ี ป็นเหล็กตะแกรงฐานราก กับสว่ นทเี่ ป็นเหล็กแกนเสาตอม่อ มขี ันตอนการปฏบิ ัตงิ านดังนี 1) การผกู เหลก็ ตะแกรงจากการเตรียมเหล็กตะแกรง การผูกเหล็กตะแกรงจะใช้ลวดผูกเหล็ก ผูกแบบสาแหรกใช้มือผูกลวดไขว้สาแหรกยึดเหล็กไว้ แล้วบิดด้านปลายลวดพอเป็นเกลียวด้วยมือ จากนันใช้คมี ผูกลวด บิดลวดเป็นเกลียวให้แนน่ ซึ่งมีขันตอนการปฏบิ ตั ิงานดังนี (1) ใช้ไม้แปที่ยาวกว่าเหล็กตะแกรงเล็กน้อยจ้านวน 2 ท่อน มาวางตังให้มีระยะห่างของ ท่อนไม้แปพอประมาณ (2) น้าเหล็กตะแกรงด้านความกว้าง และด้านความยาวมาอย่างละ 2 ท่อน วางบนไม้แปโดย ใหด้ า้ นทง่ี อขอคว่า้ ลง ใชล้ วดผกู เหลก็ ผกู เหลก็ ให้รอบทังส่ีมมุ ใหแ้ นน่ (3) น้าเหล็กตะแกรงทเี่ หลือ ด้านกว้างและด้านยาว มาวางเรียงให้มีระยะ ห่างของเหล็ก ตะแกรงเฉลี่ยเท่าๆกัน ผกู เหล็กโดยใชล้ วดผูกเหลก็ ใหค้ รบทกุ รอยตัดของเหล็ก 2) การผกู เหล็กเสาตอม่อมีขันตอนการปฏบิ ัตงิ านดังนี (1) จากแบบหล่อฐานราก หาศูนย์กลางเสาตอม่อ และหาศูนย์กลางฐานรากแล้ว ผูก เหลก็ ตะแกรงไว้แลว้ แบบฐานราก (2) น้าเหล็กแกนเสาตอม่อ มาวางติดตังบนเหล็กตะแกรงฐานราก จัดต้าแหน่งเหล็กเสา ตอมอ่ ให้ตรงกบั ศนู ย์กลางเสาตอมอ่ หรอื ศนู ย์กลางเสาในแบบฐานราก (3) ใช้ลวดผูกเหลก็ ผกู ยึดเหล็กตะแกรงกบั เหล็กเสาตอม่อให้แน่นครบทุกจุดตัด เก็บเศษ ลวดในแบบหลอ่ ฐานรากและทา้ ความสะอาด ให้พรอ้ มท่จี ะเทคอนกรีตฐานราก 4.5 งานคอนกรีตฐานราก งานคอนกรีตฐานราก เป็นขันตอนของการท้างานคอนกรีตหล่อแบบฐานรากอาคาร ที่เริ่มจาก การผสมคอนกรีต การล้าเลียงคอนกรีต และการเทคอนกรีตลงในแบบหล่อฐานราก การท้าให้เนือ คอนกรีตแนน่ ตัว การบ่มคอนกรีต และการถอดไมแ้ บบ มีขนั ตอนการปฏิบตั งิ าน ดังนี 4.5.1 การผสมคอนกรีต คือ ขันตอนการผสม น้าปูนซิเมนต์ ทรายหยาบ หิน น้า มาผสม คลกุ เคล้าให้เขา้ ด้วยกนั ตามอัตราส่วนของคอนกรตี โครงสรา้ ง มวี ิธีการผสมคอนกรีต ดงั นี 1) การผสมคอนกรีตด้วยมือ ใช้กับงานก่อสร้างขนาดเล็ก ใช้แรงงานคน 3-4 คน ท้าการ ผสมคอนกรีต เครื่องมือท่ีใช้เป็นเครื่องมือพืนฐาน เช่น จอบ พลั่ว ถังปูน บุ้งกี๋ และกระบะผสมปูน (กระบะผสมปูนท้าด้วยไม้แบบตีกันยกขอบสี่ด้าน ความกว้างพอประมาณ) ซึ่งมีขันตอนการ ปฏบิ ตั งิ าน ดงั นี (1) เร่ิมจากการตวงทรายหยาบในอตั ราสว่ นผสมตอ่ ปูนซิเมนต์ 1 ถงุ (2) น้าปูนซิเมนต์ 1 ถงุ มาเทลงกองรวมกับทรายหยาบ (3) ใชจ้ อบ โกยปนู ซิเมนต์กับทรายหยาบคลกุ เคลา้ ให้ เขา้ กัน (4) เปดิ กองปนู ทราย ตรงกลางเปน็ ใหเ้ ปน็ แอง่ (5) ตวงหินในอตั ราสว่ นผสมต่อปนู ซิเมนต์ 1 ถงุ ลงในกองปูนทรายให้ทัว่ (6) ตักน้าพอประมาณราดให้ท่ัวกองวสั ดผุ สมบ่มแชไ่ วป้ ระมาณ 10 นาที

75 (7) ใช้จอบโกยวัสดุผสม คลกุ เคล้าให้เขา้ กนั ดี (8) ตักคอนกรีตใส่ถังปูนดว้ ยพลว่ั และลา้ เลยี ง และเทคอนกรีต 2) การผสมคอนกรีตด้วยโม่ผสมปูน ใช้กับงานก่อสร้างอาคารคอนกรีตขนาดเล็กถึง ปานกลาง นอกจากจะใช้ผสมคอนกรีตแล้วยังใช้ผสมปูนก่อ ปูนฉาบได้ด้วย โม่ผสมปูนมีขนาดความ จุในการผสมคอนกรีต ต่อปูนซิเมนต์ 1 ถุงโม่ผสมปูนมีทังชนิดที่เคร่ืองยนต์ดีเซลและชนิดที่ใช้มอเตอร์ ไฟฟา้ การผสมคอนกรตี มีขนั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน ดังนี (1) ใส่น้าลงจ้านวนหน่ึงและใสห่ ินลงไป ครง่ึ หน่งึ ของ (2) ใสป่ ูนซเิ มนต์ จ้านวน 1 ถงุ (3) ใสท่ รายลงไป จ้านวนครึ่งหนึง่ ของ อตั ราส่วนผสม (4) สงั เกตความขน้ เหลวของคอนกรตี (5) ใสห่ นิ และทรายให้ครบตามอัตราส่วนและน้าลงไป (6) สังเกตความขน้ เหลว การคลกุ เคลา้ เข้ากนั ของคอนกรีต (7) เทคอนกรีตลงกระบะ ตักคอนกรตี ใสถ่ ังปูน ลา้ เลยี งและเทคอนกรีต 4.5.2 การเทคอนกรีต เป็นงานท่ีต้องน้าคอนกรีตที่ผสมแล้วมาเทลงในแบบหล่อ และมีการท้าให้ คอนกรีตแน่น ป้องกันไม่ให้คอนกรีตแยกตัว ในการเทคอนกรีตฐานรากมีขันตอนการปฏบิ ัติงานดังนี 1) ราดนา้ ไมแ้ บบฐานรากใหช้ ุม่ โดยท่วั ตรวจดรู อยร่ัวของไม้แบบ 2) เทคอนกรตี ลงในแบบหล่อฐานราก ทีละชนั อยา่ งสม้่าเสมอ 3) การเทคอนกรีตฐานราก ควรเทคอนกรีตจากมุมแบบฐานราก 4) กระทุ้งหรือใชเ้ ครอื่ งสนั่ คอนกรตี เพ่ือไล่ฟองอากาศ 5) ใชเ้ กรียงไม้ปาดแตง่ หนา้ คอนกรตี ฐานรากใหไ้ ด้ระดบั 4.5.3 การถอดแบบหล่อคอนกรีต เป็นงานที่ท้าต่อจากการเทคอนกรีตแล้วงานถอดแบบหล่อ ตอ้ งคา้ นึงถงึ อายุของคอนกรตี หลงั จากเทคอนกรีตแล้ว 12 ชั่วโมงใหใ้ ช้นา้ ราดหรือน้ากระสอบปอป่าน ชุบน้าคลมุ ปิดไว้ ทงิ คอนกรีตอยู่ในแบบหล่ออย่างน้อยเป็นเวลา 2 วัน จึงท้าการถอดแบบด้านข้างออกได้ การถอดแบบควรท้าเป็นล้าดับ โดยเริ่มจากการถอดไม้รัดแบบโดยรอบออกก่อน ระวังอย่าให้ค้อน หรือชะแลงท่ีใช้งัดไม้แบบ กระทบกระเทือนกับคอนกรีตฐานรากท่ีเทคอนกรีตไว้ และถอนตะปูที่ตอกยึด ตอนมุมไม้แบบออก ไม้แบบก็จะหลุดจากการประกอบเพียงสองด้านที่ฝั่งตรงข้ามเท่านัน ให้ใช้ค้อน เคาะข้างบนของไม้แบบที่เหลือ ไม้แบบก็จะหลุดออกมาทังหมด เก็บไม้แบบขึนจากหลุมฐานราก ท้า การขนยา้ ยไมแ้ บบไปประกอบแบบฐานรากตน้ ตอ่ ไป 4.5.4 การบ่มคอนกรีต หมายถึง การป้องกันรักษาความชืนของเนือคอนกรีต ไม่ให้ความชืนระเหย เร็วเกินไป เพราะคอนกรีตที่ผสมและเทลงในแบบหล่อ ก้าลังท้าปฏิกิริยาทางเคมีระหว่างปูนซิเมนต์ กับน้า จึงจ้าเป็นต้องมีการบ่มคอนกรีต เพื่อให้คอนกรีตมีคุณสมบัติในการรับแรงตามท่ีออกแบบ ในงาน คอนกรีตโครงสร้างการบ่มคอนกรีตให้กระทา้ อย่างต่อเน่ือง อย่างน้อย 7- 4 วัน ส่วนการบ่มคอนกรีต ฐานราก หลังจากถอดแบบหล่อแล้ว ใช้วัสดุเปียกชืนปกคลุม เช่น กระสอบปอป่านราดน้าปกคลุมให้ ทว่ั ฐานราก ฉีดนา้ ใหช้ ุม่ ตลอดเวลา

76 บทสรปุ งานฐานรากอาคาร เป็นงานโครงสร้างอาคารที่อยู่ใต้ผิวดิน ฐานรากอาคารแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื ฐานรากแผ่ เปน็ ฐานรากท่รี ับนา้ หนักจากเสาแล้วถ่ายน้าหนกั ลงสู่ผิวดินใต้ท้องฐานราก กับ ฐานรากแบบเสาเข็ม เป็นฐานรากที่รับน้าหนักจากเสาแล้วถ่ายน้าหนักลงสู่หัวเสาเข็ม การ ปฏิบัติงานก่อสร้างฐานรากอาคาร เร่ิมจากขันตอน การเตรียมหลุมฐานราก ขุดหลุมฐานราก ก้าหนด ระดับท้องฐานราก เทคอนกรีตหยาบ การก้าหนดศูนย์กลางเสาและฐานราก ประกอบแบบฐานราก การวัด ตัด ดัด เหล็กตะแกรงฐานราก การผูกเหล็ก การผสมคอนกรีต การลา้ เลียงคอนกรีต การเท คอนกรตี ฐานราก การถอดแบบฐานรากและบม่ คอนกรีต

77 แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยท่ี 4 เวลา 10 นาที เรือ่ งงานฐานรากอาคาร คาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทงั หมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน 2. ให้นกั ศึกษาท้าเคร่ืองหมาย ในตัวเลือกที่เหน็ ว่าถูกต้องทีส่ ดุ ลงในกระดาษค้าตอบ 1. งานฐานรากอาคารเป็นงานโครงสรา้ งประเภทใด ก. งานโครงสรา้ งทอี่ ยู่ใตด้ ิน ข. งานโครงสรา้ งใกล้ผวิ ดิน ค. งานโครงสร้างบนดนิ ง. งานโครงสร้างผสม 2. ฐานรากอาคารมีหนา้ ท่ีอะไรในโครงสรา้ งอาคาร ก. รบั น้าหนักผนงั อาคาร ข. รบั นา้ หนกั คานคอดนิ ค. รบั น้าหนักแรงในแนวดง่ิ จากเสาตอม่อแล้วกระจายแรงสู่พืนดนิ ง. รับน้าหนกั แรงในแนวด่งิ จากพืนอาคารแลว้ กระจายแรงสู่พืนดิน 3. วัสดทุ ่นี ยิ มใช้ท้าฐานรากอาคารคอื ก. เสาไม้ ข. คอนกรีตเสริมเหลก็ ค. คอนกรีตหยาบ ง. คอนกรีตผสมเสรจ็ 4. ฐานรากทมี่ ีเสาอยู่ต้นเดยี วท่จี ดุ ก่งึ กลางเรยี กว่า ก. ฐานรากแผ่ ข. ฐานรากแผเ่ ด่ยี ว ค. ฐานรากร่วม ง. ฐานรากแผร่ ว่ ม 5. ฐานรากแผ่ท่ีมีเสาสองตน้ เรยี งชดิ ติดกันเรยี กว่า ก. ฐานรากแผ่ ข. ฐานรากแผเ่ ด่ยี ว ค. ฐานรากรว่ ม ง. ฐานรากแผร่ ่วม 6. การขดุ หลุมฐานรากบริเวณท่เี ปน็ ดินเหนียวมีมมุ ลาดเอยี งปากหลุมเทา่ ไร ก. 15 องศา ข. 30 องศา ค. 45 องศา ง. 60 องศา

78 7. คอนกรตี หยาบ หมายถงึ คอนกรตี ที่มอี ัตราสว่ นผสมเทา่ ไร ก. 1:1:2 ข. 1:2:3 ค. 1:2:5 ง. 1:3:5 8. ไม้แบบปกตทิ ว่ั ไปจะใช้ไม้หนาขนาดเทา่ ไร ก. 1 2 ข. 1 ค. 11 2 ง. 2 9. ลวดผกู เหล็กในงานเหลก็ เสรมิ คอนกรีตใช้ลวดอะไร ก. ลวดเบอร์ 12 ข. ลวดเบอร์ 14 ค. ลวดเบอร์ 16 ง. ลวดเบอร์ 18 10. การผูกเหลก็ ตะแกรงฐานรากให้แนน่ ควรใชก้ ารผกู เหล็กแบบใด ก. แบบทแยง ข. แบบมว้ นเกลียว ค. แบบสาแหรก ง. แบบกากบาท

79 แบบทดสอบก่อนเรยี น เฉลยแบบทดสอบ หนว่ ยท่ี 4 10. ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. คง ค ขคขคงค 10. ค แบบทดสอบหลังเรยี น 4. 5. 6. 7. 8. 9. ขงคงขง 1. 2. 3. กค ข

80 เอกสารอา้ งองิ พิภพ สุนทรสมยั . เทคนคิ การกอ่ สรา้ งอาคารเบ้ืองตน้ . กรุงเทพฯ: โปรเฟรสชั่นแนล พับลชิ ชงิ่ , 2524. พิภพ สนุ ทรสมัย. เทคนคิ การกอ่ สรา้ งอาคารคอนกรีตเสรมิ เหลก็ (ปรบั ปรุง). พิมพ์ครังที่ 2. กรุงเทพฯ: สมาคมสง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ุ่น), 2538. บุญเลศิ น้อยสระและประเสริฐ ธงไชย. เทคนคิ งานคอนกรตี เสรมิ เหล็ก. พมิ พ์ครงั ท่ี 1. กรงุ เทพฯ: เอมพันธ์,2544. มนสั กล่องเพ็ชร. เทคนิคก่อสร้าง 1. พิมพค์ รังท่ี 1. กรุงเทพฯ: เอมพันธ์, 2543. เริงศกั ดิ์ นนทเิ มธากลุ และอภศิ ักดิ์ จุฑาศิรวิ งศ์. ปนู ซิเมนตแ์ ละการประยุกต์ใชง้ าน. พมิ พ์ครังที่ 2. กรุงเทพฯ: ปนู ซเิ มนต์ไทยอุตสาหกรรม, 2548. วนิ ติ ชอ่ วเิ ชียร.คอนกรีตเทคโนโลย.ี กรุงเทพฯ: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2544. สทิ ธิโชค สุนทรโอภาส. เทคโนโลยีอาคาร. กรงุ เทพฯ: สกายบ๊กุ ส,์ 2543. เอกสทิ ธ์ิ ลิมสวุ รรณ. แบบหล่อคอนกรีต.กรุงเทพฯ: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั , 2529.

81 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่อื ง งานโครงสรา้ งอาคาร สาระสาคัญ โครงสรา้ งอาคาร เป็นสว่ นท่สี าคญั ของอาคาร ประกอบด้วยโครงสร้างเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก คานคอนกรีตเสริมเหล็ก และพ้ืนคอนกรีตเสริมเหล็ก ในการปฏิบัติงานมีข้ันตอนการทางานและ ประกอบด้วยช่างไม้แบบ ช่างเหล็ก และช่างปูน เมื่อตั้งแบบและผูกเหล็กเสริมแล้วจะต้องผสม คอนกรตี ลาเลยี งคอนกรีต การเทคอนกรีตลงในแบบหล่อคอกรีต การทาให้คอนกรีตแน่นตัว การถอด แบบไม้ และบ่มคอนกรีต ผู้ที่ปฏิบัติงานจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในงานคอนกรีตโครงสร้าง และควร ปฏบิ ตั งิ านใหถ้ ูกต้องตามหลกั วชิ าการด้วย จุดประสงค์การเรียนรู้ จดุ ประสงคท์ ั่วไป 1. เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับงานโครงสรา้ งอาคาร 2. เพ่ือให้ความรู้ความเข้าใจในการจัดเตรยี ม เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ งานโครงสรา้ งอาคาร 3. เพอ่ื ใหม้ ีทกั ษะเกีย่ วกบั งานแบบหลอ่ งานเหล็กเสริม งานคอนกรีตเสา 4. เพอื่ ใหม้ ีทักษะเกี่ยวกบั งานแบบหล่อ งานเหลก็ เสริม งานคอนกรีตคาน 5. เพื่อให้มที ักษะเกี่ยวกับงานแบบหลอ่ เหล็กเสริม งานคอนกรีตพ้ืน 6. เพอื่ ให้มีเจตคติและกิจนิสัยทด่ี ีในการเรยี นและการปฏิบตั ิงาน 7. เพอื่ ใหม้ ีคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 1. อธบิ ายรายละเอียดเกย่ี วกับงานโครงสรา้ งอาคารได้ 2. บอกส่วนประกอบของงานโครงสร้างคอนกรตี เสริมเหล็กได้ 3. จาแนก เครื่องมือ วสั ดุ อุปกรณง์ านโครงสร้างอาคารได้ 4. ปฏบิ ตั ิงานแบบหล่อ งานเหล็กเสริม งานคอนกรตี เสาได้ 5. ปฏิบตั ิงานแบบหล่อ งานเหล็กเสรมิ งานคอนกรีตคานได้ 6. ปฏิบตั ิงานแบบหล่อ งานเหลก็ เสรมิ งานคอนกรีตพ้นื ได้ 7. มีเจตคตทิ ด่ี ีต่อการเรียนและการปฏิบัตงิ านโครงสรา้ ง 8. ปฏบิ ัติงานดว้ ยความรับผิดชอบและมีระเบียบวินยั 9. มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สาระการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 5 ประกอบดว้ ยหวั ข้อสาระการเรียนรู้ ดังนี้ 5.1 งานเสาคอนกรตี เสรมิ เหล็ก 5.2 งานคานคอนกรตี เสริมเหล็ก 5.3 งานพนื้ คอนกรีตเสริมเหล็ก

82 กจิ กรรมการเรียนการสอน 1. แจง้ จุดประสงคใ์ ห้ผู้เรียนเข้าใจก่อนเรยี น 2. ใหผ้ ู้เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 5 3. ครบู รรยายนาเขา้ สู่บทเรียน 4. ผู้เรยี นศึกษาเน้ือหาความรู้ในเอกสารประกอบการสอน เรือ่ ง การศึกษาแบบก่อสร้าง 5. การอภปิ รายและการซกั ถามเกี่ยวกบั บทเรียนร่วมกัน 6. ผูเ้ รยี นแบ่งกลุ่มๆ ละ 6 คน ฝึกปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 6 ,ใบงานที่ 7 ,ใบงานที่ 8 7. ผเู้ รียนและครู ร่วมกันสรปุ เน้ือหาประกอบสือ่ 8. ผเู้ รยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน สือ่ การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชางานก่อสรา้ งอาคาร 1 2. แผน่ ใสประกอบการบรรยาย 3. แผน่ ภาพ 4. แบบก่อสรา้ งอาคารและรายการประกอบแบบ 5. ชดุ ฝึกปฏบิ ตั งิ าน งานกอ่ สร้างอาคาร 1(งานโครงสร้างอาคาร) การวดั ผล ประเมนิ ผล 1 วดั ผลตามจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2 วิธีวัด ประเมนิ ผล 2.1 สงั เกต เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ในการเรยี นร้แู ละปฏบิ ตั ิงาน 2.2 สงั เกต และตรวจผลงาน จากการปฏบิ ตั งิ านตามใบงาน 2.3 ประเมนิ ผลจากแบบทดกอ่ นหลงั เรยี น 2.4 ประเมนิ ผลจากแบบทดสอบหลงั เรียน 3. เครอื่ งมือวัด ประเมินผล 3.1 แบบประเมนิ เจตคติ คณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ 3.2 แบบประเมินผลการปฏิบตั งิ าน 3.3 แบบทดสอบก่อนเรยี น 3.4 แบบทดสอบหลังเรียน

83 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยที่ 5 เวลา 10 นาที เรอ่ื งงานโครงสร้างอาคาร คาชแี้ จง 1. แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน 2. ใหน้ ักศกึ ษาทาเครือ่ งหมาย  ในตวั เลอื กทเ่ี ห็นวา่ ถูกตอ้ งท่สี ุดลงในกระดาษคาตอบ 1. ปกตกิ ารเสริมเหล็กแกนเสาต้องเสริมเหล็กแกนอย่างน้อยก่เี ส้น ก. 2 เส้น ข. 3 เสน้ ค. 4 เส้น ง. 5 เส้น 2. ในงานเสาคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ควรมรี ะยะคอนกรตี ห้มุ เหลก็ เสรมิ เทา่ ไร ก. 1.00 เซนตเิ มตร ข. 1.50 เซนตเิ มตร ค. 2.00 เซนติเมตร ง. 2.50 เซนติเมตร 3. การหักมุมเหล็กคอม้า หกั มมุ เท่าไร ก. 15 องศา ข. 30 องศา ค. 45 องศา ง. 60 องศา 4. เมือ่ เทคอนกรตี เสริมเหลก็ เสาเสร็จแล้วควรทาการบ่มคอนกรตี อยา่ งน้อยกวี่ นั ก. 3 วนั ข. 7 วัน ค. 14 วนั ง. 21 วัน 5. การประกอบไมแ้ บบเสาคอนกรตี เสรมิ เหล็กขนาด 0.15  0.15 ม.จะใชไ้ ม้แบบขนาดใดบา้ ง ก. 1\"  6\" จานวน 4 แผ่น ข. 1\"  8\" จานวน 4 แผ่น ค. 1\"  6\" จานวน 2 แผน่ และ 1\"  8\" จานวน 2 แผ่น ง. 1\"  6\" จานวน 4 แผน่ และ 1\"  8\" จานวน 4 แผ่น 6. ขอ้ ใดไมใ่ ชก่ ารปฏบิ ัติงานก่อนการเทคอนกรตี เสรมิ เหล็กคาน ก. การตรวจเหล็กเสริม ทาความสะอาดหัวเสา เก็บเศษลวดผกู เหล็ก ข. ราดนา้ และน้าปนู ทรายในแบบคาน ค. การเทคอนกรตี ควรเริม่ จากมุมคานและควรเทคอนกรตี อย่างต่อเนื่อง ง. เม่ือประกอบไม้แบบเสร็จแลว้ ใหร้ บี เทคอนกรีต

84 7. วนั การบ่มคอนกรีตโครงสรา้ งอาคารควรบม่ คอนกรตี กีว่ ัน ก. 7 วนั ข. 14 วัน ค. 21 วัน ง. 28 วัน 8. เมือ่ เทคอนกรตี คานคอนกรีตเสรมิ เหลก็ แลว้ กี่วนั ถึงจะถอดแบบท้องคานได้ ก. 10 วัน ข. 14 วัน ค. 18 วัน ง. 20 วนั 9. นา้ ปูนทรายใชอ้ ตั ราส่วนผสมเทา่ ไร ก. 1:1 ข. 1:2 ค. 1:3 ง. 1:4 10. หลงั จากถอดแบบท้องคานแล้วให้เอาไมต้ ๊กุ ตาค้าใต้ท้องคานอีกก่วี ัน ก. 7 วนั ข. 14 วัน ค. 21 วัน ง. 28 วนั

85 หน่วยที่ 5 โครงสรา้ งอาคาร โครงสร้างอาคาร เปน็ ส่วนสาคญั ของอาคาร ที่มีความแข็งแรงรบั นา้ หนกั และรบั แรงที่มา กระทากับตัวอาคาร ถ่ายน้าหนักและแรงลงสู่ฐานรากอาคาร เป็นสว่ นโครงสร้างบนดินที่มีการ ก่อสรา้ งต่อเนื่องจากงานฐานราก ได้แก่งานเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก งานคานคอนกรตี เสริมเหลก็ งานพนื้ คอนกรีตเสริม และงานคานรับโครงหลงั คา ซึ่งถือเปน็ โครงสร้างหลกั ของอาคาร 5.1 เสาคอนกรีตเสรมิ เหลก็ เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นงานโครงสร้างอาคารที่รับแรงในแนวด่ิง จากน้าหนักของคาน พ้ืน ผนัง และโครงหลังคา จากแบบแปลนฐานราก คานคอดิน เสา มีเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก F และจาก แบบรูปตัด รูปขยายเสา เป็นเสาคอนกรีตเสริมเหล็กหน้าตัด 0.200.20 เมตร ใช้เหล็กเสริมแกน เสา Ø 12 มิลลิเมตรจานวน 4 เส้น เหล็กปลอกเสา Ø 6 มิลลิเมตร @ 0.15 เมตร ซ่ึงจะต้องปฏิบัติงาน ดังนี้ 5.1.1 งานเหลก็ เสรมิ เสาคอนกรตี ใช้เหลก็ เสรมิ เสา 2 ชนดิ คือ 1) เหลก็ เสรมิ แกนเสา ใชเ้ หล็กเสริม Ø 12 มลิ ลิเมตร จานวน 4 เส้น งอขอหวั ท้าย ปลาย เหลก็ (ความยาวเท่ากับความสงู ของเสาแตล่ ะชน้ั รวมระยะต่อทาบ) 2) เหลก็ ปลอกเสา ใช้ เหล็ก Ø 6 มลิ ลิเมตร @ 0.15 เมตร (1) หาจานวนเหลก็ ปลอกเสา เสาสูง 3.00 เมตร ความสูงเสา จานวนเหลก็ ปลอก = ระยะห่างเหลก็ ปลอก + 1 = 3.00 +1 = 20 + 1 0.15 ใชเ้ หลก็ จานวน = 21 ปลอกตอ่ เสา 1 ตน้ (2) หาความยาวเหล็กปลอก = 2(A + B) + 10 เซนตเิ มตร = 2(0.15 + 0.15) + 10 ความยาวปลอก = 0.70 เมตรต่อเหล็กปลอก 1 ปลอก เมอ่ื A เทา่ กบั ระยะกว้างปลอก ด้านหนง่ึ B เท่ากบั ระยะกว้างปลอกอกี ดา้ นหนงึ่ 10 เผื่อระยะการงอปลายเหลก็ ปลอก (เซนติเมตร) 3) การดัดเหล็ก จากการเตรียมเหล็กเสริมโดยตัดเหล็กตามความยาวและตาม จานวนทีท่ าการประมาณการ นาเหล็กมาดดั ตามแบบท่ีกาหนด ดงั นี้ (1) เหล็กเสริมแกนเสา การดดั เหลก็ เสรมิ แกนงอขอหวั เหล็ก ดังภาพท่ี 5.1

86 ภาพที่ 5.1 แสดงแบบ การดัดเหล็กเสริมแกนตอนงอหัวเหล็ก

87 (2) การดัดเหล็กปลอกเสา ดังภาพท่ี 5.2 ภาพท่ี 5.2 แสดงแบบ การดัดเหลก็ ปลอกเสา 4) การผูกเหล็กเสริมเสา เหล็กเสริมเสามีลักษณะยาว มีน้าหนักพอสมควรจึงต้อง ประกอบนั่งร้าน เพ่ือรองรับเหล็กแกน นาเหล็กแกนที่ดัดงอปลายแล้วมาวางบนน่ังร้าน 2 เส้น แล้ว นาเหล็กปลอกมาผูกที่ตีนเสาเป็นปลอกแรก และวัดระยะห่างเหล็กปลอกแต่ละปลอกให้ห่างกัน 0.15 เมตร ผูกเหล็กปลอกให้ครบตามจานวน กลับด้านแล้วสอดเหล็กแกนที่เหลืออีก 2 เส้นแล้วผูกเหล็กจน ครบทกุ ปลอกดงั ภาพท่ี 5.3

88 ภาพท่ี 5.3 แสดงแบบ การผูกเหล็กเสรมิ เสา 5) การประกอบติดตั้งเหล็กแกนเสา เริ่มจากการหาตาแหน่งศูนย์กลางเสาบน หลังคานคอดิน ขีดเส้นศูนย์กลางเสาเพ่ือตั้งเหล็กเสริมเสา จัดเหล็กแกนเสาให้ได้ตาแหน่งโดยเหล็ก แกนเสาทั้ง 4 เส้นจะอยู่ตอนมุมสดุ ของเหลก็ ปลอก ถ้าเหล็กแกนผิดตาแหน่งควรจัดตาแหน่งโดยการดุ้ง เหล็กแกนให้ตรงตาแหน่ง และยกเหล็กเสริมเสาที่ทาการผูกแล้วมาประกอบติดตั้ง ใช้ไม้ค้าเหล็ก เสริมให้ตั้งตรงตามตาแหน่งเสา และนาลูกปูนมาผูกติดกับเหล็กเสา เพื่อบังคับระยะคอนกรีตหุ้ม เหล็ก ดังภาพท่ี 5.4

89 ภาพท่ี 5.4 แสดงแบบ การประกอบเหล็กเสรมิ เสา 5.1.2 งานแบบหล่อเสาคอนกรีต จากแบบกาหนดให้เสาคอนกรีต สาหรับอาคารมีขนาด 0.200.20 เมตร สงู 2.70 เมตร 1) การเตรียมไม้แบบและเครื่องมือ (1) การเตรียมไม้แบบตอ่ แบบหลอ่ 1 ชุด - ไม้แบบขนาด 1\"8\"3.00 เมตร 2 แผ่น - ไม้แบบขนาด 1\"10\" 3.00 เมตร 2 แผน่ (ไม้แบบหน้า 10\" อาจจะใชไ้ ม้แบบหน้า 6\" มาเพลาะกบั กบั หน้า 4\" กไ็ ด้) - ไมเ้ คร่า 11  3 0.50 เมตร 20 ท่อน 2 - ไม้รดั ตีนแบบ11  3  0.45 เมตร 4 ทอ่ น 2 - ไม้หลักคา้ ยันตนี แบบ 11  3x 1.00 เมตร 4 ท่อน 2 - ไมเ้ คร่าคา้ ยนั เสาตอนบน 11  3x3.00-3.50 เมตร 2 ท่อน 2 - ไมย้ าวรดั ปากแบบยึดไม้แบบเสากบั ตน้ อื่น 11  3 4.00 เมตร 2 - ตะปู 2\", 3\" ตะปูคอนกรตี 2\", 3\"