Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างรายวิชานาฏศิลป์กับท้องถิ่น 1 ม.ต้น (สายเลือก)

โครงสร้างรายวิชานาฏศิลป์กับท้องถิ่น 1 ม.ต้น (สายเลือก)

Published by อัศนัย กันงาม, 2021-05-06 00:53:06

Description: โครงสร้างรายวิชานาฏศิลป์กับท้องถิ่น 1 ม.ต้น (สายเลือก)

Search

Read the Text Version

การจดั ทาโครงสรา้ งรายวชิ า รายวชิ า นาฏศลิ ป์กับท้องถ่นิ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปศึกษา จัดทาโดย นายอัศนยั กนั งาม ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลชา่ งเคิง่ อาเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ สานกั งานการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คาอธบิ ายรายวชิ า รายวิชา นาฏศิลป์กับทอ้ งถ่ิน 1 ช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 เวลา 40 ช่วั โมง จานวน 1 หน่วยกิต คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษา ประวตั ิความเป็นมาของนาฏศิลป์กับท้องถนิ่ หลกั การจัดการแสดงนาฏศลิ ปใ์ นโอกาสต่างๆใน ชีวิตประจาวนั หลกั การแต่งหน้า แตง่ ผมและแต่งกายเพ่ือการแสดง หลักการประดิษฐ์ทา่ รา ตามรปู แบบของการ แสดงนาฏศลิ ป์ไทย มีทักษะทางด้านนาฏศิลป์ การแต่งหน้า แต่งผมและแต่งกาย เพ่ือการแสดงนาฏศิลป์และประเมิน คุณภาพการแสดงผลงานตามหลักการการสร้างเกณฑ์ประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพการแสดงโดยใช้กระบวนการ กระบวนการสาธติ สบื ค้นขอ้ มูล การฝึกปฏบิ ตั ิ กระบวนการกลุ่ม การสร้างสรรคผ์ ลงาน และการแสดงผลงาน เพ่ือให้นักเรียนสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้กับวิชาอ่ืนและชีวิตประจาวัน มีคุณธรรมจริยธรรม รักความเป็นไทย มีความสามารถในการตัดสินใจ มุ่งมั่นในการทางาน วิพากย์ วิจารณ์คุณค่าและประโยชน์ ด้านการแสดง สืบสาน ชื่นชมความงาม อนุรักษ์ เห็นคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมท้ังท่ีเป็นภูมิปัญญา ท้องถ่ิน ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล ผลการเรียนรู้ 1.นกั เรียนสามารถรู้ประวตั คิ วามเปน็ มาของการแสดงนาฏศิลป์กับท้องถิ่นได้ 2.นกั เรยี นสามารถรหู้ ลักการจัดการแสดงนาฏศิลปใ์ นโอกาสตา่ งๆได้ 3.นกั เรียนสามารถปฏิบัติการแต่งกายเพอื่ การแสดงได้ 4.นักเรียนสามารถปฏิบัติการแต่งหนา้ เพื่อการแสดงได้ 5.นกั เรียนสามารถปฏิบตั ิการแตง่ ผมเพ่ือการแสดงได้

ผงั มโนทศั น์ รายวชิ า นาฏศลิ ปก์ บั ทอ้ งถิ่น 1 ช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 นาฏศลิ ปก์ ับท้องถน่ิ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น จานวน 40 ชั่วโมง หน่วยท่ี 1 ภูมนิ าฏศิลป์ไทย หนว่ ยท่ี 2 ลกั ขณา ภษู า อาภรณ์ นาฏศิลป์ จานวน 10 ชัว่ โมง : 40 คะแนน จานวน 30 ช่วั โมง : 60 คะแนน

ผงั มโนทัศน์ รายวิชา นาฏศลิ ป์กบั ท้องถ่ิน 1 ช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เร่อื ง ภมู นิ าฏศลิ ป์ไทย จานวน 10 ช่วั โมง : 40 คะแนน หน่วยที่ 1 ภูมนิ าฏศิลปไ์ ทย จานวน 10 ชว่ั โมง เร่อื งท่ี 1 ประวตั คิ วามเปน็ มาของการ เร่อื งท่ี 2 หลกั การจดั การแสดง แสดงนาฏศิลป์กบั ทอ้ งถ่นิ นาฏศลิ ป์ในโอกาสต่างๆ จานวน 5 ชั่วโมง จานวน 5 ช่ัวโมง

ผงั มโนทศั น์ รายวิชา นาฏศลิ ป์กบั ทอ้ งถ่นิ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาตอนตน้ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 เร่อื ง ลักขณา ภษู า อาภรณ์ นาฏศิลป์ จานวน 30 ชวั่ โมง : 60 คะแนน เร่อื งที่ 1 การแต่งกายเพอื่ การแสดง จานวน 10 ชั่วโมง หน่วยท่ี 2 ลักขณา ภูษา อาภรณ์ นาฏศิลป์ จานวน 30 ช่ัวโมง เรื่องท่ี 2 การแตง่ หน้าเพื่อการแสดง เร่ืองที่ 3 การแต่งผมเพื่อการแสดง จานวน 10 ชั่วโมง จานวน 10 ชัว่ โมง

โครงสรา้ ง รายวิชา นาฏศิลป์กบั ท้องถนิ่ 1 หน่วย ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ภาคเ ที่ ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ 1 ภูมนิ าฏศิลปไ์ ทย 1. นักเรยี นสามารถรูป้ ระวัติความเปน็ มาของการแสดง - นาฏศลิ ปก์ บั ท้องถ่นิ ได้ 2. นักเรียนสามารถรหู้ ลกั การจัดการแสดงนาฏศิลป์ใน - โอกาสต่างๆได้ - โครงสร้าง รายวชิ า นาฏศลิ ป์กับท้องถิน่ 1 หนว่ ยการเรยี น ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น ภาคเ ท่ี ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ 2 ลักขณา ภูษา อาภรณ์ 3. นกั เรียนสามารถปฏิบตั กิ ารแต่งกายเพอ่ื การแสดงได้ - นาฏศิลป์ 4. นักเรียนสามารถปฏิบัตกิ ารแต่งหนา้ เพื่อการแสดงได้ 5. นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั กิ ารแตง่ ผมเพ่ือการแสดงได้ - - - กลางภาค ปลายภาค รวมทั้งส้ิน

งรายวิชา เวลา คะแนน ยการเรียนรู้ที่ 1 เรือ่ ง ภูมินาฏศิลป์ไทย (ชว่ั โมง) รวม K P A เรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 10 40 10 20 10 สาระสาคญั ประวตั ิความเป็นมาของการแสดง นาฏศลิ ป์กบั ทอ้ งถ่นิ ความสาคญั และประโยชนข์ องวชิ านาฏศลิ ปไ์ ทย หลกั การจดั การแสดงนาฏศิลปใ์ นโอกาสตา่ งๆ ใน ชีวิตประจาวัน งรายวชิ า นร้ทู ่ี 2 เร่อื ง ลักขณา ภูษา อาภรณ์ นาฏศลิ ปะ เรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 สาระสาคัญ เวลา คะแนน (ชั่วโมง) รวม K P A ความสาคัญและประโยชนใ์ นการแตง่ หนา้ ทาผมและ การแต่งกายสาหรับการแสดงนาฏศลิ ป์ การแตง่ กาย 30 60 10 40 10 การแต่งหนา้ การแต่งผม 20 20 40 100 20 60 20

การวเิ คราะห์ผ รายวิชา นาฏศิลป์กับทอ้ งถ่นิ 1 หนว่ ย ช้ันมธั ยมศึกษาตอนตน้ ภาคเ ผลการเรียนรู้ ร้อู ะไร ทาอะไร ภาระงาน/ชน้ิ ง 1. นักเรียนสามารถรปู้ ระวตั ิ รอู้ ะไร 1. ใบงานท่ี 1.1 ความเป็นมาของการแสดง 1. ประวัตคิ วามเปน็ มาของการ เรือ่ ง ความสาคัญและป นาฏศิลปก์ ับท้องถ่ินได้ วิชานาฏศิลปไ์ ทย แสดงนาฏศิลป์กบั ท้องถน่ิ 2. นกั เรยี นสามารถรูห้ ลักการ 2. ความสาคญั และประโยชน์ 2. ใบงานที่ 1.2 เรื่องหลัก จัดการแสดงนาฏศลิ ป์ใน การแสดงนาฏศิลป์ในโ โอกาสตา่ งๆได้ ของวชิ านาฏศิลปไ์ ทย ในชีวิตประจาวัน 3. หลักการจดั การแสดง นาฏศิลป์ในโอกาสต่างๆ ใน ชวี ติ ประจาวนั ทาอะไร 1. ใบงาน

ผลการเรยี นรู้ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 เรือ่ ง ภูมนิ าฏศลิ ป์ไทย เรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 งาน สมรรถนะสาคัญ คณุ ลักษณะ คณุ ลกั ษณะ ของวชิ า อนั พึงประสงค์ ประโยชนข์ อง 1. ความสามารถในการ 1. ความรบั ผดิ ชอบ 1. รบั ผดิ ชอบ กการจัด สื่อสาร 2. ความรอบคอบ 2. ใฝ่เรยี นรู้ โอกาสต่างๆ 3. กระบวนการกลุ่ม 3. มุง่ ม่ันในการทางาน 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้ ทกั ษะชวี ิต

การวเิ คราะห์ผ รายวชิ า นาฏศิลปก์ บั ท้องถ่ิน 1 หน่วยการเรียน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ภาคเ ผลการเรยี นรู้ รู้อะไร ทาอะไร ภาระงาน/ชิน้ ง 3. นักเรียนสามารถปฏิบตั กิ าร รอู้ ะไร 1. ปฏิบัติการแตง่ กายเพื่อ แต่งกายเพื่อการแสดงได้ 1. ความสาคัญและประโยชน์ 2. ปฏิบตั ิการแต่งหน้าเพื่อ 3. ปฏบิ ัตกิ ารทาผมเพื่อกา 4. นักเรียนสามารถปฏบิ ัติการ ในการแต่งหน้า ทาผมและ แต่งหน้าเพื่อการแสดงได้ การแต่งกายสาหรับการ แสดงนาฏศลิ ป์ 5. นกั เรียนสามารถปฏิบัตกิ าร - การแต่งกาย แตง่ ผมเพือ่ การแสดงได้ - การแต่งหนา้ - การแตง่ ผม ทาอะไร 1. ปฏบิ ัติการแตง่ หนา้ ทาผมและการแต่งกาย สาหรบั การแสดงนาฏศิลป์

ผลการเรียนรู้ นรูท้ ่ี 2 เรื่อง ลกั ขณา ภูษา อาภรณ์ นาฏศลิ ป์ เรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 งาน สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะ คุณลักษณะ ของวิชา อนั พงึ ประสงค์ อการแสดง 1. ความสามารถในการ 1. ความรับผิดชอบ 1. รับผิดชอบ อการแสดง ส่ือสาร 2. ความรอบคอบ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ารแสดง 3. กระบวนการกลุ่ม 3. มุ่งมน่ั ในการทางาน 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ ทกั ษะชวี ิต