Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานกลุ่ม

งานกลุ่ม

Published by Channarongmai04, 2021-09-24 07:27:42

Description: กลุ่มงาน

Search

Read the Text Version

ปีท่ ่ี 19 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-มถิ ุนายน 2555 การส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรูเ้ พอ่ื การพง่ึ ตนเอง: กรณศี ึกษาการทำ� นาโยนอินทรยี ์ของชมุ ชนหินแร่ ตำ� บลท่ากระดาน อำ� เภอสนามชยั เขต จงั หวัดฉะเชิงเทรา บทคัดยอ่ สดุ ารตั น์ ตรีเพชรกลุ 1 ธีรวุฒิ ลาภตระกลู 2 แสงชยั เอกประทุมชัย3 ทรงพล คูณศรีสุข4 การวิจัยเชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม (Participatory Action Research) ในการ ท�ำนาโยนอินทรีย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อการพึ่งตนเองของ ชมุ ชนบา้ นหนิ แร่ ต.ทา่ กระดาน อ.สนามชยั เขต จ.ฉะเชงิ เทรา ในมติ ดิ า้ นเศรษฐกจิ ทรพั ยากร สิ่งแวดล้อม และสังคม/วัฒนธรรม และเปรียบเทียบการท�ำนาโยนอินทรีย์และนาหว่าน อนิ ทรยี ใ์ นดา้ นการเจรญิ เตบิ โต การเกิดโรค และผลผลติ ขา้ ว กระบวนการที่ใช้ในการศกึ ษา ประกอบด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม การแลกเปล่ียนเรียนรู้ การร่วมตัดสินใจ การจัดการ ตนเองของสมาชกิ และการแลกเปลยี่ นทรพั ยากรและผลติ ภณั ฑ์ เทคนคิ หลกั ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา คอื A-I-C (Appreciation Influence Control) การประชมุ กลมุ่ การสงั เกต การสมั ภาษณ์ และการจดบันทกึ ข้อมลู ผลการศกึ ษาเปรยี บเทยี บการปลกู ขา้ วอนิ ทรยี แ์ บบนาโยนกบั นาหวา่ นพบวา่ ขา้ วท่ี ปลูกแบบนาโยนอินทรีย์มีอัตราการเจริญเติบโตที่วัดในรูปความสูงของต้นข้าว จ�ำนวนการ แตกกอและระดบั การเกดิ โรค ในชว่ งระยะ 4 เดอื นรวมทงั้ ผลผลติ ขา้ วเปลอื กประมาณ 33-40 เซนติเมตร/เดอื น, 27.0±7.7 ตน้ /กอ, 0-40% และ 485-545 กก./ไร่ ตามลำ� ดับ ซง่ึ สงู กวา่ ขา้ วทป่ี ลกู แบบนาหวา่ นอนิ ทรยี อ์ ยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ (P≤0.05) นอกจากนก้ี ารทำ� นาโยน 1 ผู้ช่วยศาตราจารย์ คณะทรัพยากรชวี ภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 2 3 ผู้ชว่ ยนักวิจยั คณะทรพั ยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี อาจารย์ คณะทรพั ยากรชวี ภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี 4 ผู้ช่วยนกั วิจัย สถาบันพฒั นาและฝกึ อบรมโรงงานตน้ แบบ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี 1

วารสารการจดั การภาครัฐและภาคเอกชน อนิ ทรยี ม์ ตี น้ ทนุ การผลติ ขา้ วเปลอื กประมาณ 2.7-3.7 บาท/กก.ขา้ วเปลอื ก ซงึ่ ตำ�่ กวา่ การทำ� นาหวา่ นอนิ ทรยี ท์ ม่ี คี า่ ประมาณ 4.3-7.2 บาท/กก.ขา้ วเปลอื ก ดงั นน้ั ในมติ ดิ า้ นเศรษฐกจิ ของ ชุมชนท่ีเกิดจากกิจกรรมเศรษฐกิจการปลูกข้าวนาโยนอินทรีย์ของสมาชิกจ�ำนวน 31 คน ทำ� ให้ชุมชนมีเงินออมในพ้นื ทสี่ งู ทสี่ ุดประมาณ 7.56-8.67 ลา้ นบาท/ปี ในขณะทก่ี ารทำ� นา หวา่ นอนิ ทรีย์และเคมมี เี งนิ ออมประมาณ 3.67-5.24 ลา้ นบาท/ปี และ 0.45-1.8 ล้านบาท/ ปี ตามล�ำดับ ในมิตดิ า้ นสงิ่ แวดลอ้ ม พบวา่ การปลกู ข้าวแบบนาโยนอินทรยี ช์ ว่ ยลดการใช้ปุ๋ย เคมีในการปลูกข้าวประมาณ 100 กก./ไร่/ปี หรือ 40 ตัน/ปี ส�ำหรับการเปล่ียนแปลง พฤตกิ รรมทางสังคม จากการทีส่ มาชกิ เขา้ ร่วมเรียนรู้การทำ� นาโยนอินทรยี ์ พบว่า สมาชกิ มี พฤตกิ รรมพงึ่ ตนเองไดใ้ นเชงิ สงั คมมากข้นึ โดยสมาชกิ มกี ารแบ่งปนั ทรพั ยากรเพ่อื ใช้ในการ ท�ำกจิ กรรมและการผลิตผลิตภณั ฑ์ การนัดหมายรวมกลมุ่ ในการท�ำกจิ กรรมต่างๆ การสร้าง กฎกตกิ าในการทำ� งานรว่ มกนั และดแู ลรกั ษาทรพั ยากรในทอ้ งถนิ่ จากขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษข์ อง ขอ้ ดขี องการทำ� นาโยนและการเรยี นรขู้ องสมาชกิ ทำ� ใหส้ มาชกิ รอ้ ยละ 35.5 ไดเ้ ปลยี่ นวธิ กี าร ท�ำนาหว่านเคมีเป็นการท�ำนาโยนอินทรีย์และมีการชักชวนสมาชิกใหม่เข้ากลุ่มการเรียนรู้ เพ่ิมขึ้น ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการท�ำนาโยนอินทรีย์สามารถช่วยให้ชุมชนพ่ึงตนเอง ทางภาคการเกษตรได้ คำ� สำ� คัญ: การเรยี นร้,ู การพ่งึ ตนเอง, การวิจยั แบบมสี ่วนร่วม, นาโยน, เศรษฐกจิ ชุมชน 2

ป่ีที่ 19 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-มิถุนายน 2555 Learning Process to Self-Reliance: A Case Study of “Parachute” Organic Rice Farming Sudarut Tripetchkul Teerawut Laptrakoon Saengchai Akeprathumchai Songpon Koonsrisuk Abstract Objectives of the present participatory action research were firstly to develop the learning process of self-reliance through “parachute” organic rice cultivation for Hinrae village, Sanamchaikhet district, Chachoengsao province in the economics, natural resources and social/cultural aspect and, secondly, to compare “parachute” organic rice farming against wet seeded organic rice farming in terms of growth, incidence of disease outbreak and rice yield. Studying processes employed in this study were participation, learning and knowledge sharing, collaborative decision making, self-management, resource and product sharing. The main techniques adopted were Appreciation Influence Control (A-I-C), group meeting, observation, interviews and data collection. Results obtained on comparative study on parachute and wet seeded organic rice farming showed that, during the first 4 months of cultivation of “parachute” organic rice, growth rate (height), tiller number/bunch, incidence of disease outbreak and rice yield were 33-40 cm/month, 27.0±7.7 shoots/plant, 0-40% and 485-545 kg/rai, respectively, which are significantly higher than those of the wet seeded organic rice planting (p≤0.05). In addition, it was found that production cost of “parachute” organic rice was approximately 2.7 to 3.7 baht/ kgpaddy which is lowered than that of the wet seeded organic rice farming, 4.3 to 7.2 3

วารสารการจดั การภาครฐั และภาคเอกชน bcoamhtm/kugpnaditdyy. Economically, the “parachute” organic rice farming led to the highest saving of 7.56-8.67 million baths/year whilst wet seeded organic and chemical rice farming rendered, respectively, the saving of 3.67-5.24 and 0.45-1.8 million baths/year. It was found further that application of parachute transplanting method in organic rice farming could alleviate environmental impact as less chemical fertilizers of approximately 100 kg/rai/year or 40 tons/year was employed. For social behavior dimension, it was found that participants partaking in the learning process of “parachute” organic rice farming were more self-reliant in that members are more inclined to sharing resources necessary for the learning activities, scheduling of group activities, creating rules on team working and resource conservation. Observable results on advantages of the “parachute”organic rice farming and knowledge learnt indicated that 35.5% members has adopted the “parachute” organic rice practice instead of the wet seeded chemical rice farming. Results further showed that participants have encouraged new members to join the learning group. This study showed that parachute’s organic rice cultivation enable self- reliance of agricultural community. Keywords: Learning Process, Self-reliance, Parachute Rice Cultivation, Community’s Economic 4

สดุ ารตั น์ ตรีเพชรกุล ธีรวฒุ ิ ลาภตระกูล แสงชยั เอกประทุมชัย และทรงพล คณู ศรสี ขุ บทที่ 1 บทนำ� ในการลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และลดการอพยพย้าย ถน่ิ ฐานของคนชนบทในการเขา้ สตู่ วั เมอื งเพอ่ื ขายแรงงาน ในแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม แห่งชาติฉบับที่ 8 ถึงฉบบั ท่ี 11 (2540-2559) ไดเ้ นน้ เร่อื งการพัฒนาสงั คมซึ่งมี “คน” เป็น ศนู ยก์ ลางและนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ล อดลุ ยเดชมหาราชมาปรบั ใช้ เพอ่ื ใหค้ นในสงั คมมภี มู คิ มุ้ กนั และชว่ ยใหส้ งั คมไทยสามารถยนื หยัดอยู่ไดอ้ ยา่ งม่ันคงท่ามกลางกระแสการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว (ส�ำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2546) การพ่ึงตนเองถือเป็นแนวทางการปฏิบัติที่ ลดการน�ำเข้าปัจจัยภายนอกท�ำให้ชุมชนหรือบุคคลสามารถด�ำรงชีวิตอยู่ได้ภายใต้การ เปลยี่ นแปลงตา่ งๆ แตก่ ารทจ่ี ะทำ� ใหช้ มุ ชนสามารถพง่ึ ตนเองไดน้ น้ั จำ� เปน็ ตอ้ งเรม่ิ เปลยี่ นจาก ภายใน คอื “วธิ คี ิด” ซึง่ มกี ารเน้นทีก่ ระบวนการด�ำเนนิ หรอื ศกึ ษาวจิ ัยมากกว่าผลลัพธข์ อง งานวิจยั ในการพัฒนาชมุ ชนให้เขม้ แข็งและพง่ึ ตนเองได้ กระบวนการเรียนรูน้ บั ได้วา่ เป็นส่งิ ส�ำคัญประการหน่ึงนอกเหนือจากการจัดการความรู้ เทคนิค/วิธีการที่ส�ำคัญในการสร้าง กระบวนการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ การมีสว่ นรว่ มของชุมชน การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ การฟนื้ ฟู ผลติ ซำ้� และสรา้ งใหม่ การใชก้ ฎขอ้ บงั คบั ของชมุ ชน การตดั สนิ ใจรว่ มกนั ของชมุ ชน การสรา้ งเครอื ข่ายในการพัฒนา และการจัดการตนเอง เป็นต้น (วรรณธรรม กาญจนสุวรรณ, 2553) ทัง้ น้ี วธิ กี ารทใี่ ชข้ นึ้ กบั บรบิ ทของแตล่ ะชมุ ชน เชน่ การสนบั สนนุ การพงึ่ ตนเองทางดา้ นอาหารของ เกษตรกรในจังหวัดมุกดาหาร ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม กิจกรรม การเรยี นรใู้ นชว่ ง 1-3 ปแี รกจงึ เนน้ การพงึ่ ตนเองในระดบั ครอบครวั โดยการทำ� เกษตรทฤษฎี ใหม่ หลังจากน้ันจึงเน้นเร่ืองการมีส่วนร่วมและการรวมกลุ่มเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ท่ีใช้วัตถุดิบ ในพื้นที่ (ปิยะพร สุริโยตระกูล, 2548) แต่จากการศึกษาการพึ่งตนเองของชุมชนไม้เรียง อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช โดยอภินันท์ ยอดมณี (2546) พบว่าชุมชนมีปัญหาเรื่อง กระบวนการผลิตและผลผลิตน้�ำยางพารา ในกระบวนเรียนรู้ของชุมชนจึงเน้นในเร่ืองของ การมสี ่วนรว่ มและการแลกเปลีย่ นเรียนรเู้ พื่อพฒั นาคนให้สามารถคิด วเิ คราะหใ์ นการแกไ้ ข ปญั หาได้ เชน่ เดยี วกบั การศกึ ษาของ ปรญิ ญารตั น์ ภศู ริ ิ (2549) ไดใ้ ชก้ ระบวนการมสี ว่ นรว่ ม ของคนในชุมชนและกระบวนการจัดการองค์ความรู้ในการผลิตผลิตภัณฑ์จักสานใบลานซ่ึง เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพของคนในชุมชนเป็นกระบวนการหลักในการสนับสนุนการ พ่ึงตนเองของกลุ่มแมบ่ า้ นเกษตรกรทบั ลาน จ.ปราจนี บุรี (ผลติ ภัณฑจ์ ักสานใบลาน) 5

การสง่ เสริมกระบวนการเรียนรเู้ พอื่ การพงึ่ ตนเอง: กรณีศึกษาการท�ำนาโยนอินทรยี ข์ องชมุ ชนหินแร่ ต.ท่ากระดาน อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชงิ เทรา ชุมชนหินแร่ ต.ท่ากระดาน อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชงิ เทรา พน้ื ที่ตงั้ มลี กั ษณะเป็นที่ ลมุ่ และดอนสลบั กนั และมกี อ้ นหนิ ขนาดใหญอ่ ยภู่ ายใตพ้ น้ื ดนิ ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถปรบั ระดบั ของ พืน้ ดินได้ และดนิ มลี ักษณะเปน็ ดนิ รว่ นปนทราย คนในชมุ ชนมากกวา่ ร้อยละ 90 ประกอบ อาชีพเกษตรกรรมเชิงเด่ียว ได้แก่ การท�ำนา (นาปี) และการปลูกมันส�ำปะหลัง (นอกเขต ชลประทาน) (ส�ำนักชลประทานท่ี 9) โดยมีการท�ำการเกษตรแบบเคมีและเพาะปลูกพืช เชิงเดีย่ วมาเป็นเวลานานมากกวา่ 15 ปี ด้วยระบบการเพาะปลกู แบบเกษตรเคมสี ง่ ผลกระ ทบตอ่ คณุ ภาพของดนิ ผลผลติ ทลี่ ดลง และต้นทนุ ทสี่ งู ขึ้น ท�ำให้คนในชุมชนหนิ แร่ส่วนใหญ่ มีหนี้สิน จากปัญหาหนี้สินดังกล่าวหน่วยงานของรัฐหลายหน่วยงานได้เข้ามาช่วยเหลือโดย การใหท้ นุ สนบั สนนุ ในการรวมกลมุ่ ประกอบอาชพี เสรมิ เชน่ กลมุ่ วสิ าหกจิ นาขา้ ว กลมุ่ เพาะ เหด็ กลมุ่ เล้ียงไหม เปน็ ตน้ เนือ่ งจากกิจกรรมต่างๆ ดงั กลา่ วไมไ่ ดเ้ กดิ จากความต้องการของ คนในชมุ ชนอยา่ งแทจ้ รงิ และขาดกระบวนการมสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ วเิ คราะห์ วิจารณ์ และแลกเปล่ยี นเรยี นรปู้ ระสบการณ์ ทรพั ยากร และผลติ ภัณฑ์ จงึ ทำ� ใหโ้ ครงการไม่ ประสบผลส�ำเร็จ ส่งผลให้ชุมชนยังคงมีหน้ีสินและไม่สามารถจัดการทุนทางเศรษฐกิจ ทุน ทางสังคม ทุนทางทรพั ยากร และทุนความรู้/ภูมปิ ญั ญา ของตนเองไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ เมอ่ื เกิดปญั หาตา่ งๆ ชุมชนกจ็ ะคอยทางภาครัฐหรือหน่วยงานต่างๆ ท่ีจะเขา้ มาใหก้ ารชว่ ย เหลือสนับสนุน การช่วยให้ชุมชนหินแร่พึ่งตนเองได้ควรมีกระบวนการท่ีช่วยสนับสนุนให้ สมาชิกสามารถคิดเปน็ ท�ำเป็น และสามารถประยุกตใ์ ชไ้ ด้ เพอ่ื กา้ วไปส่กู ารพึง่ ตนเองอย่าง ย่ังยืน และให้คนในชุมชนหลุดพ้นจากวธิ คี ดิ แบบพงึ่ พาและรอความช่วยเหลือจากภายนอก เพียงอยา่ งเดยี ว เสรี พงศพ์ ิศ, 2546 กล่าวว่า ในการแกไ้ ขปัญหาความยากจนและการมีหนสี้ นิ ของ ชุมชนควรท�ำเร่ืองที่ใกล้ตัว เนื่องจากเป็นสิ่งที่ชุมชนสามารถก�ำหนดได้ไม่ต้องพึ่งพิงคนอ่ืน สามารถใชท้ รพั ยากรทม่ี อี ยใู่ นพน้ื ทเ่ี ปน็ ทนุ ได้ สำ� หรบั การทำ� นานบั ไดว้ า่ เปน็ วถิ ชี วี ติ และอาชพี หลักของชุมชนหินแร่ ดังนั้นในการศึกษาน้ีจึงเลือกกิจกรรมการท�ำนาเป็นกิจกรรมหลักใน การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เพื่อการพึ่งตนเอง รูปแบบการท�ำนาที่คนในชุมชนหินแร่ท�ำ คอื นาปรี ปู แบบนาหวา่ น แมก้ ารทำ� นาหวา่ นมขี อ้ ดคี อื ใชแ้ รงงานนอ้ ยกวา่ การทำ� นาดำ� แตน่ า หวา่ นให้ผลผลิตขา้ วต่อไรต่ �่ำกว่า เนือ่ งจากนาหวา่ น (นาน�้ำตม) ข้าวมีการแตกกอนอ้ ย เมลด็ ขา้ วเนา่ เสยี ไดง้ า่ ยในพน้ื ทนี่ ำ้� ขงั วชั พชื ในแปลงนา ความโปรง่ ภายในแปลงนามนี อ้ ยทำ� ใหเ้ กดิ โรคและแมลงศัตรูพืชไดง้ า่ ย ทำ� ใหต้ อ้ งมกี ารใชส้ ารเคมมี ากนอกจากนย้ี งั ทำ� ใหผ้ ลผลติ ทไ่ี ดล้ ดลง 6

สุดารัตน์ ตรีเพชรกุล ธีรวุฒิ ลาภตระกูล แสงชัย เอกประทุมชยั และทรงพล คณู ศรีสุข (พรรณภทั ร ใจเออื้ , 2552) ทผี่ า่ นมานกั วชิ าการในประเทศไทยหลายๆ ทา่ นไดพ้ ยายามแกไ้ ข ปัญหาดังกล่าวท่ีเกิดข้ึนจากการท�ำนาหว่าน โดยการน�ำนวัตกรรมการท�ำนารูปแบบใหม่ท่ี เรยี กวา่ การทำ� นา “โยนกลา้ ” มาทดลองใชใ้ นหลายๆ พน้ื ทท่ี มี่ รี ะบบชลประทาน เชน่ จงั หวดั สุพรรณบุรี ปทุมธานี เป็นต้น ซ่ึงพบว่าได้ผลดีท้ังในด้านผลผลิตและการลดการเกิดโรค (สำ� ราญ อนิ แถลง, 2553) สำ� หรับการประยุกตใ์ ชก้ ารท�ำนาโยนในพน้ื ท่ีนานำ�้ ฝนยงั ไมไ่ ดม้ ีผู้ ศึกษา ดังน้ันงานวิจัยน้ีจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้านการ ท�ำนาโยนอินทรีย์ในพ้ืนที่นาน�้ำฝนเพื่อการพ่ึงตนเองของชุมชนหินแร่ในด้านเศรษฐกิจของ ชมุ ชน พฤตกิ รรมดา้ นสงั คมของคนในชมุ ชน และสง่ิ แวดลอ้ ม ตลอดจนศกึ ษาผลของการปลกู ขา้ วแบบนาโยนอนิ ทรยี ์ ต่อการเจรญิ เติบโตของขา้ ว การเกิดโรค และผลผลิต 1. วธิ กี ารศึกษา พ้นื ทีศ่ ึกษา พื้นท่ีศึกษาคอื หมูบ่ า้ นหินแร่ ต.ท่ากระดาน อ.สนามชยั เขต จ. ฉะเชงิ เทรา สถานที่ ใชใ้ นการดำ� เนินงานการวิจยั ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรหนิ แรพ่ ฒั นาจ�ำกดั ใช้เป็นสถานที่นัด หมายและเวทีสรุปบทเรียน แปลงสาธิตทดลองขนาดประมาณ 1 ไร่ ซึ่งเป็นพ้ืนท่ีที่ใช้ปลูก ข้าวของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ และโรงผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งเป็นโรงเรือนของนายสุเรียน วงศ์เมอื ง (สมาชิกกลมุ่ การเรยี นรู้) เพ่ือใช้เปน็ แหลง่ ผลิตปยุ๋ หมกั และนำ้� หมกั ชีวภาพ ลกั ษณะภมู อิ ากาศและภมู ิประเทศของพ้นื ทศี่ กึ ษา หมบู่ า้ นหนิ แรเ่ ปน็ ทร่ี าบสงู มภี เู ขาและมปี ่าไม้ล้อมรอบ อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งปีอยู่ ในช่วงประมาณ 22-36 องศาเซลเซียส และมีปริมาณน�้ำฝนเฉล่ียประมาณ 1,200 – 1,300 มิลลิเมตรต่อปี (องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่ากระดาน, 2553; นภารัตน์ นนทกิจนพเก้า และคณะ, 2552) มีแหล่งน�้ำธรรมชาติ 2 แหล่ง ได้แก่ คลองกะพง และคลองกะตกั ขนาด ความจปุ ระมาณ 35,000 และ 4,800 ลบ.ม. ตามลำ� ดบั แตค่ นสว่ นใหญก่ ไ็ มไ่ ดใ้ ชน้ ำ้� ธรรมชาติ จากแหล่งน�้ำในการท�ำการเกษตรเน่ืองจากอยู่ห่างจากพ้ืนที่ท�ำการเกษตรและระดับน�้ำใน คลองตำ่� กวา่ พ้นื ที่ท�ำการเกษตรมาก ลกั ษณะดินเป็นดนิ รว่ นปนทราย (กลุ่มชุดดนิ ท่ี 35) มี ค่าความเป็นกรด-ด่างประมาณ 4.5-5.5 (ส�ำนักส�ำรวจดินและวางแผนการใช้ท่ีดิน, 2548) และมีธาตุอาหารหลกั ไดแ้ ก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และโปแทสเซียมประมาณรอ้ ยละ 0.10- 7

การส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรูเ้ พ่ือการพึ่งตนเอง: กรณศี กึ ษาการท�ำนาโยนอินทรียข์ องชมุ ชนหินแร่ ต.ท่ากระดาน อ.สนามชยั เขต จ.ฉะเชิงเทรา 0.14, 0.01-0.05 และ 0.0005-0.001 ตามล�ำดับ (จากการตรวจสอบในห้องปฏิบัติการ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร)ี ประชากรทใี่ ชใ้ นการศึกษา เกษตรกร ณ หมบู่ า้ นหนิ แร่ ต.ทา่ กระดาน อ.สนามชยั เขต จ.ฉะเชงิ เทรา ซงึ่ ประกอบ อาชพี เกษตรกรรมและเปน็ สมาชกิ สหกรณก์ ารเกษตรหนิ แร่ จำ� นวน 31 คน เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการด�ำเนนิ งานวิจัย การปฏิบตั ิการแบบมีส่วนรว่ ม การประชมุ เสวนา การสัมภาษณเ์ ชิงลึก (Indepth Interview) การบรรยาย และการสาธิต การดำ� เนนิ การศกึ ษา การศกึ ษานีเ้ ป็นการศึกษาเกย่ี วกบั บริบทของกลมุ่ สมาชิกหินแร่ และการประยกุ ต์ ใช้การท�ำนาโยนอินทรีย์เพ่ือการพึ่งตนเองทางด้านการเกษตรของสมาชิกชุมชนบ้านหินแร่ ระยะเวลาในการทำ� วจิ ยั คอื ชว่ งเดอื น มกราคม-ธนั วาคม พ.ศ. 2554 ขนั้ ตอนการศกึ ษาดงั แสดงตอ่ ไปน้ี 1) การแนะน�ำตัวและการสร้างความค้นุ เคย (เดือนที่ 1-3) คณะวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ได้เดินทางเข้า พน้ื ทเ่ี พอ่ื สรา้ งความคยุ้ เคยกบั เครอื ขา่ ยและชมุ ชนหนิ แร่ โดยการเขา้ รว่ มกจิ กรรมของชมุ ชน เป็นระยะๆ เม่ือชุมชนมีความคุ้นเคยกับผู้วิจัย ผู้วิจัยจึงได้อธิบายเหตุผลและวัตถุประสงค์ ของการเข้าวจิ ัยคร้ังน้ี 2) การดำ� เนินการวจิ ยั คณะผู้วิจัยได้เข้าไปอยู่ในชุมชนอย่างน้อย 1-2 วัน ต่อเดือน โดยคณะผู้วิจัยและ ตวั แทนเครอื ขา่ ยปา่ ตะวนั ออกไดเ้ ขา้ รว่ มทำ� กจิ กรรมทกุ อยา่ งเชน่ เดยี วกบั สมาชกิ ในชมุ ชนหนิ แร่ ผวู้ จิ ยั ใช้วิธีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การสงั เกตแบบมสี ่วนร่วมและไมม่ สี ่วนรว่ ม ในระหวา่ ง การทำ� กจิ กรรมรว่ มกันของสมาชกิ เพือ่ สงั เกตพฤตกิ รรมทางดา้ นสงั คมและการทำ� งานร่วม 8

สดุ ารัตน์ ตรเี พชรกลุ ธีรวฒุ ิ ลาภตระกูล แสงชยั เอกประทุมชยั และทรงพล คณู ศรสี ขุ กนั ของกลมุ่ สมาชกิ การสมั ภาษณอ์ ยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการกบั สมาชกิ ใชก้ ารสนทนากลมุ่ (Focus Group) ในการประชุมเสวนา และใชเ้ ทคนิค A-I-C (Appreciation Influence Control) ในการวางแผนกจิ กรรมเพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ปญั หาและความตอ้ งการของสมาชกิ ตลอดจนมี การเสริมทักษะทางดา้ นการสังเกตและการจดบันทกึ ระหว่างข้ันตอนการด�ำเนนิ งาน ในการ ทำ� งานมีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี (มจธ.) และเครอื ขา่ ยปา่ ตะวนั ออกท�ำ หนา้ ท่ีชว่ ยเหลอื ข้อมลู เชิงวิชาการและเทคนิค/ความรดู้ า้ นการพึง่ ตนเองทางภาคการเกษตร การเกบ็ และวเิ คราะหข์ ้อมูล 1) ขอ้ มลู พนื้ ฐานชมุ ชนทงั้ ในดา้ นโครงสรา้ งประชากรประกอบดว้ ย เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษา จำ� นวนสมาชิกในครอบครัว เช้ือชาติ การประกอบอาชพี ลกั ษณะการประกอบ อาชพี เน้ือทใ่ี นการประกอบอาชพี และลักษณะการถอื ครองทดี่ นิ ดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม วัฒนธรรม ได้แก่ รายรับ-รายจ่ายเฉล่ียของสมาชิกด้านการเกษตร ลักษณะของประเพณี และการมปี ฏสิ มั พนั ธข์ องคนในชมุ ชน และดา้ นทรพั ยากรสง่ิ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ แหลง่ นำ�้ เปน็ ตน้ ข้อมลู ท่ไี ด้แสดงในรูปคา่ เฉล่ยี ร้อยละ ชว่ ง และการบรรยาย 2) ข้อมลู ดา้ นเศรษฐกิจของชุมชนทีเ่ กิดจากกิจกรรมการปลกู ขา้ ว 2 แบบ คอื นา โยนอินทรยี ์ และนาหวา่ นอินทรยี ์ ซึง่ เป็นกิจกรรมหลกั ที่ใช้ในการศกึ ษาคร้ังน้ี เปรียบเทยี บ กบั นาหวา่ นเคมซี ง่ึ เปน็ รปู แบบการทำ� นาดง้ั เดมิ ในพน้ื ทศ่ี กึ ษา ขอ้ มลู การศกึ ษาประกอบดว้ ย ตน้ ทนุ ปัจจยั การผลิตและเสน้ ทางการไหลเวียนของเงินภายในชุมชนและออกนอกสู่ชุมชน ในการท�ำนา 3) ข้อมูลด้านสังคม/วัฒนธรรม และส่ิงแวดล้อม โดยใช้การสังเกตแบบมีสวนร่วม และไมม่ สี ว่ นรว่ ม และการสมั ภาษณอ์ ยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการกบั สมาชกิ ตวั ชวี้ ดั การเปลย่ี นแปลง คอื การมปี ฏสิ มั พนั ธข์ องคนในชมุ ชน ความรว่ มมอื ในการทำ� งานและการขยายกลมุ่ (อรวรรณ ฉตั รสีรุง้ และคณะ, 2552) และการเปล่ยี นแปลงแนวทางการจดั การทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ในท้องถ่ิน 4) ข้อมลู การเจริญเตบิ โต ระดบั การเกดิ โรค และผลผลิตของข้าว ในแปลงนาโยน และนาหว่านท่รี ะยะเวลา 2 เดือน และ 4 เดือน โดยใหส้ มาชกิ ได้สงั เกต ตรวจวัดและจด บันทึกด้วยตนเอง พารามิเตอร์ที่ตรวจวัด ได้แก่ ความสูงต้นข้าววัดจากโคนต้นถึงปลายใบ 9

การส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้เพอ่ื การพ่ึงตนเอง: กรณศี ึกษาการทำ� นาโยนอนิ ทรีย์ของชุมชนหินแร่ ต.ท่ากระดาน อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา จ�ำนวนการแตกกอต่อต้นข้าวและระดับการเกิดโรคต่อต้น โดยใช้วิธีการสังเกตการเกิดโรค ของตน้ ขา้ วในแตล่ ะตน้ และประเมนิ ผลในหนว่ ยรอ้ ยละของพนื้ ทข่ี องตน้ ขา้ วทเ่ี กดิ โรคตอ่ ตน้ ส�ำหรับผลผลิตข้าวเปลือก กลุ่มสมาชิกช่วยกันเก็บเก่ียวผลผลิตข้าวเปลือกและช่ังน้�ำหนัก ผลผลิตข้าวเปลือกที่ได้ (กก./ไร)่ 3 ผลการศึกษา 3.1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานชุมชน ขอ้ มลู พน้ื ฐานของชมุ ชนทงั้ ดา้ นโครงสรา้ งประชากร การศกึ ษา เศรษฐกจิ และสงั คม ดงั แสดงในตารางท่ี 1 สมาชิกมที งั้ หมด 31 คน เป็นเพศชายมากกวา่ เพศหญิง และอายุเฉลย่ี อยใู่ นชว่ งวยั กลางคนคอื มากกวา่ 40 ปขี นึ้ ไป ลกั ษณะของครอบครวั ขนาดเลก็ คอื มปี ระมาณ 5 คน/ครอบครวั สมาชิกมีการศึกษาสว่ นใหญอ่ ยใู่ นระดบั ประถมตน้ ประมาณร้อยละ 58.1 และไมไ่ ดเ้ รยี นหนงั สอื ประมาณรอ้ ยละ 32.3 สมาชกิ ทกุ คนประกอบอาชพี การทำ� เกษตรเคมี ได้แก่ การปลูกข้าว และมันส�ำปะหลัง เป็นหลัก รายได้หลักและรายจ่ายหลักมาจากภาค การเกษตรประมาณปลี ะ 175,000-205,000 และ 105,000-130,000 บาท/ปี/ครอบครัว ตามลำ� ดับ สมาชิกกลุ่มการเรียนรู้ทุกคนท�ำเกษตรเคมีและเพาะปลูกพืชเชิงเด่ียว ได้แก่ การ ปลูกข้าวและมันส�ำปะหลัง ท�ำให้เกิดความเส่ียงทางภาคการเกษตรหากเกิดวิกฤตทางสิ่ง แวดลอ้ มหรอื แมลงศตั รพู ชื โดยปรมิ าณนำ้� ขนึ้ อยกู่ บั ฤดกู าลซงึ่ มปี รมิ าณนำ้� ฝนเฉลยี่ ประมาณ 1,200-1,300 มลิ ลลิ ติ ร/ปี ซง่ึ เพยี งพอกบั การปลกู ขา้ วแตใ่ นชว่ งฤดฝู นทฝ่ี นตกหนกั เกษตรกร ไม่สามารถกักเก็บนำ้� ไวใ้ นนาได้ เพาะจะทำ� ใหข้ ้าวท่ปี ลกู เกดิ ความเสียหายเนือ่ งจากดินเปน็ ดนิ ร่วนปนทราย (กลุม่ ชดุ ดนิ ที่ 35 อ้างองิ โดยจากกรมพัฒนาทดี่ ิน) ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถกกั เก็บ น�ำ้ ไว้ไดน้ านจึงมคี วามยากในการจดั การนำ้� เพื่อการปลูกข้าวในพน้ื ที่ นอกจากนสี้ มาชิกกลุม่ การเรียนรู้มีสมาชิกในครอบครัวน้อยอาจท�ำให้ขาดแคลนแรงงานในการประกอบอาชีพ มี ความหลากหลายทางภาษาและวฒั นธรรมทำ� และสมาชกิ ประมาณรอ้ ยละ 32.3 ไมส่ ามารถ เขียนหนงั สือไดใ้ ห้เกิดความยากลำ� บากทางดา้ นการสอื่ สารใหเ้ ข้าในตรงกนั 10

สุดารตั น์ ตรีเพชรกลุ ธรี วฒุ ิ ลาภตระกูล แสงชยั เอกประทุมชัย และทรงพล คูณศรีสขุ อย่างไรก็ตามสมาชกิ ทกุ คนประกอบอาชีพเกษตรกรรม (ปลกู ขา้ ว) และมที ดี่ นิ เปน็ ของตนเอง โดยรายได้และรายจ่ายทสี่ ำ� คัญของสมาชกิ สว่ นใหญ่มาจากภาคการเกษตร ผ้นู �ำ กลุ่มท่ีเข้มแข็งและจริงใจต่อการแก้ปัญหารวมท้ังสมาชิกจึงเล็งเห็นถึงปัญหาทางภาค การเกษตร ดังนั้นในการเสรมิ สร้างการเรียนรขู้ องกลุ่มสมาชิกนี้จงึ เน้นเรื่องการปลกู ขา้ ว 11

การสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรู้เพ่อื การพ่งึ ตนเอง: กรณีศกึ ษาการท�ำนาโยนอินทรีย์ของชุมชนหนิ แร่ ต.ท่ากระดาน อ.สนามชยั เขต จ.ฉะเชิงเทรา ตารางท่ี 1 ขอ้ มูลพื้นฐานของสมาชิกกลมุ่ เรยี นรู้ จำ�นวนสมาชิก (คน) ขอ้ มลู ชมุ ชน ผลการศกึ ษา ร้อยละ - เพศชาย 31 100 24 77.4 - เพศหญงิ 7 22.6 อายเุ ฉล่ีย (ป)ี 56 29.0 - เพศชาย 46 32.3 - เพศหญิง 9.7 5 29.0 จำ�นวนสมาชกิ ครอบครัวเฉลี่ย (คน/ครอบครัว) 9 32.3 เชือ้ ชาตขิ องกลุ่มสมาชิก (คน) 10 58.1 - ไทย-อีสาน 3 0 - ไทย-เขมร 9 3.2 - ไทย-พวน 0 - ไทย-ส่วย 10 3.2 18 3.2 ระดบั การศึกษา (คน) 0 - ไม่ได้เข้าเรียน 1 29 0 0 - ประถมต้น 1 71 1 - ประถมปลาย 0 9 100 - มธั ยมตน้ 0 22 0 - มัธยมปลาย 100 0 100 - อนุปรญิ ญา 31 66.1 33.9 - ปรญิ ญาตรีหรอื สงู กวา่ 0 22 การประกอบอาชีพ (คน) 1,711 - ทำ�นา (การปลกู ข้าว) อย่างเดยี ว 1,131 - ทำ�ไร่ (ปลกู มันสำ�ปะหลัง) อยา่ งเดียว 580 - ทำ�นาและทำ�ไร่ ลักษณะการประกอบอาชีพในการทำ�นา (คน) - ทำ�นาอนิ ทรยี ์ - ทำ�นาเคมี ลกั ษณะการประกอบอาชีพในการทำ�ไรม่ ันสำ�ปะหลงั (คน) - ทำ�ไรม่ ันสำ�ปะหลงั อินทรีย์ - ทำ�ไร่มนั สำ�ปะหลังเคมี เนื้อท่ใี นการประกอบอาชีพ (ไร)่ - ทำ�นา - ทำ�ไร่มนั สำ�ปะหลัง 12

สุดารตั น์ ตรีเพชรกลุ ธีรวฒุ ิ ลาภตระกูล แสงชยั เอกประทุมชยั และทรงพล คณู ศรสี ุข ตารางท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานของสมาชิกกลุม่ เรยี นรู้ (ต่อ) หวั ข้อการศกึ ษา ผลการศึกษา ร้อยละ ลกั ษณะการถือครองทดี่ ิน (ไร่) 1,711 100 - สปก. 0 0 - นส.3 0 0 - โฉนด 237,000-305,000 67.2-73.8 รายได้เฉลยี่ ของสมาชิกกลุ่ม (บาท/ครอบครวั /ป)ี 175,000-205,000 3.8-4.9 - ภาคการเกษตร (ขา้ วและมันสำ�ปะหลงั ) 1.3-1.6 - คา้ ขาย 9,000-15,000 21.1-26.2 - รบั ราชการ 3,000-5,000 - รับจา้ ง 50,000-80,000 0 รายจ่ายเฉลีย่ ของสมาชกิ (บาท/ครอบครวั /ปี) 0 47.4-55.3 - ภาคการเกษตร (ขา้ วและมันสำ�ปะหลัง) 190,000-274,000 38.4-43.8 - ค่าเครอ่ื งอุปโภคบรโิ ภค 105,000-130,000 3.7-4.4 - คา่ การศกึ ษาบุตรหลาน 73,000-120,00 2.6-4.4 - อนื่ ๆ 7,000-12,000 ลกั ษณะความเปน็ อยู่ของสมาชิกกลุ่ม 5,000-12,000 - ครอบครัวขนาดเลก็ (ประมาณ 5 คน/ ลกั ษณะทางประเพณที ี่ยงั คงยึดถอื ปฏิบตั ิ ครอบครวั ) ผทู้ ีม่ ีบทบาทในชุมชน - เป็นสังคมชนบทท่ีมีการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ทอ้ งถิ่นอยู่ ความรว่ มมือภาคภาคีต่างๆในการดำ�เนินงานรว่ มกบั กลุม่ สมาชกิ - ลอยกระทง - สงกรานต์ - เขา้ พรรษา-ออกพรรษา - บุญขา้ วเปลือก - บุญบ้งั ไฟ - วันสารท 1. นาย วชิ ยั จติ สำ�ราญ (ผใู้ หญ่บ้าน) 2. นายเกง่ิ มงุ คำ�ภา (ผนู้ ำ�วฒั นธรรม ไทย-ลาว) 3. นายสเุ รยี น วงศเ์ มือง (ผู้นำ�วัฒนธรรม ไทย-เขมร) - นายกิจเจรญิ บุญรอด (ประธานสหกรณ์ การเกษตรหนิ แรพ่ ัฒนา จำ�กัด) 4. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี - เครือข่ายปา่ ตะวนั ออก 13

การสง่ เสริมกระบวนการเรียนรู้เพอื่ การพงึ่ ตนเอง: กรณศี ึกษาการทำ� นาโยนอนิ ทรยี ข์ องชุมชนหนิ แร่ ต.ท่ากระดาน อ.สนามชยั เขต จ.ฉะเชงิ เทรา 3.2 วางแผนการท�ำกจิ กรรมการเรียนรูด้ า้ นการท�ำนาโยนอนิ ทรยี เ์ พอื่ การพ่ึงตนเอง จากการศกึ ษาขอ้ มลู พนื้ ฐานของกลมุ่ สมาชกิ ในขอ้ 3.1 รว่ มกบั การจดั กจิ กรรมใชส้ มาชกิ รจู้ กั ตนเองโดยใชก้ ระบวนการมสี ว่ นรว่ ม กระบวนการตดั สนิ ใจรว่ มกนั และกระบวนการแลก เปลี่ยนเรียนรโู้ ดยใช้เทคนิค focus group เพือ่ ใหส้ มาชกิ เขา้ ใจข้อมูลพ้ืนฐานของชุมชนท้งั ด้านเศรษฐกิจ สังคม/วัฒนธรรม และทรัพยากรทอ้ งถน่ิ ตลอดจนวิเคราะหป์ ญั หาและความ ต้องการของกลุ่มสมาชิกเพื่อสร้างกิจกรรมในการเรียนรู้ร่วมกัน ในการศึกษาน้ีกลุ่มสมาชิก ไดเ้ ลือกใช้กิจกรรมการทำ� นาโยนและนาหวา่ นอนิ ทรีย์เป็นกิจกรรมหลกั ในการเรยี นรู้ จากการประยุกต์ใช้เทคนิค A-I-C ในการวางแผนกิจกรรมของชุมชนหินแร่ โดยใช้ กระบวนการมีส่วนรว่ ม กระบวนการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ การประชมุ เสวนา และการสนทนา กลุม่ สมาชิกสามารถสร้างแผนกิจกรรมการเรียนรู้ไดด้ ังตารางที่ 2 แผนกิจกรรมการเรยี นรู้ แบ่งเปน็ 3 ส่วนหลกั คือ กิจกรรมการรจู้ กั ตนเอง การวางแผนกจิ กรรมการดำ� เนนิ งานและ ตดิ ตามผลการด�ำเนินงาน 14

สุดารตั น์ ตรีเพชรกลุ ธีรวุฒิ ลาภตระกูล แสงชยั เอกประทมุ ชยั และทรงพล คณู ศรีสขุ ตารางท่ี 2 แผนกจิ กรรมการเรยี นรดู้ า้ นการพึง่ ตนเองของชุมชนบ้านหินแร่ แผนกจิ กรรม กจิ กรรม ระยะเวลา (เดอื น กจิ กรรมร้จู กั ตนเอง โดยใช้การประชุมเสวนากล่มุ ท)ี่ 1 สมาชกิ รู้จักตนเอง - การสะท้อนข้อมลู พ้ืนฐานของชุมชน ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม/วฒั นธรรม ส่ิง แวดล้อม 2-3 - การวเิ คราะหป์ ัญหาความตอ้ งการของสมาชิก กิจกรรมแลกเปลยี่ นความร/ู้ ประสบการณ์ในการปลกู ข้าวอนิ ทรีย์และคดั เลือก 4-12 กจิ กรรมในการเรยี นรู้ การสรา้ งแผนกจิ กรรม กิจกรรมการร่วมวางแผนการเรียนรู้ - การคดั เลือกรูปแบบและวธิ กี ารปลูกข้าวอนิ ทรีย์ - การวางแผนในการเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ในการปลูกข้าว, การเตรียมดิน - การกำ�หนดตวั ชวี้ ดั เพ่อื ใช้ในการติดตามผล - การร่วมสรปุ และวเิ คราะห์ผล - กิจกรรมปลูกข้าวอนิ ทรยี ์ (สมาชิกเปน็ ผู้ดำ�เนนิ งานตามแผน) การดำ�เนินงานและ - กจิ กรรมการตดิ ตามผล (สมาชกิ เปน็ ผ้รู ว่ มเก็บข้อมลู ) ติดตามผลการดำ�เนินงาน - กิจกรรมการวิเคราะห์และประเมินผล (สมาชกิ ร่วมแสดงความคิดเห็นในการ วิเคราะหผ์ ล) ในการวางแผนกจิ กรรม (เดอื นท่ี 2-3) กระบวนการหลกั ทใี่ ชใ้ นการวางแผนกจิ กรรมคอื กระบวนการตดั สนิ ใจรว่ มกนั และกระบวนการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ โดยประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนคิ A-I-C แผนกจิ กรรมออกเป็น 4 สว่ นหลกั ได้แก่ (1) การปลกู ข้าว (รปู แบบและวธิ กี ารปลูก) (2) การเตรียมวัตถุดิบท่ีใช้ในการปลูกข้าว การเตรียมดิน (3) การด�ำเนินกิจกรรมระหว่างการ ปลูกข้าว และ (4) การตดิ ตามผลและสรปุ บทเรยี นซึง่ มีรายละเอยี ดดังนี้ 15

การสง่ เสริมกระบวนการเรียนรเู้ พือ่ การพึง่ ตนเอง: กรณีศกึ ษาการท�ำนาโยนอินทรยี ์ของชมุ ชนหนิ แร่ ต.ท่ากระดาน อ.สนามชยั เขต จ.ฉะเชงิ เทรา (1) กิจกรรมการวางแผนการปลูกข้าว สมาชกิ ได้รว่ มกนั วางแผนการเลอื กรูปแบบการ 2 รปู แบบ ไดแ้ ก่ การทำ� นาโยนอนิ ทรีย์ และนาหว่านอินทรีย์ สายพันธุ์ข้าวท่ีใช้ในการศึกษาคือ ข้าวหอมมะลิ105 ซ่ึงเป็นพันธุ์ท่ี เกษตรกรในพื้นที่ใช้ปลูก ขั้นตอนและวิธีการปลูกข้าวนาโยนอินทรีย์ ตามวิธีที่กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์แนะน�ำ (ส�ำราญ อินแถลง, 2553) ส�ำหรับการท�ำนาหว่าน อนิ ทรียไ์ ด้ใชว้ ิธกี ารปลกู ข้าวเชน่ เดียวแบบนาหวา่ นเคมี ซงึ่ เปน็ วิธดี ง้ั เดมิ ท่ีเกษตรกรในพืน้ ท่ี ใชอ้ ยแู่ ลว้ แตม่ กี ารใชป้ ยุ๋ หมกั ฟางขา้ วและนำ้� หมกั นำ�้ สกดั ชวี ภาพสตู รธาตอุ าหารแทนการใช้ ปยุ๋ เคมี และนำ้� หมกั ชวี ภาพสูตรไลแ่ มลงและสตู รฮอรโ์ มนพืชแทนการใชย้ าปราบแมลงศตั รู พืช รายละเอียดของวธิ ีการปลูกข้าวดังแสดงในตารางท่ี 3 ตารางที่ 3 ขน้ั ตอนการปลกู ข้าวนาโยนอนิ ทรีย์ นาหวา่ นอินทรียแ์ ละนาหว่านเคมี ขนั้ ตอนการปลูกข้าว นาโยนอนิ ทรีย์ นาหว่านอินทรยี ์ นาหวา่ นเคมี ป๋ยุ ยูเรีย ≈ 50 กก./ไร่ (23 กก.ไนโตรเจน) เตรียมดิน (ไถแปร) ปุ๋ยหมกั /ดินหอม ≈ 200 กก./ไร่ (2.8-3.8 กก.ไนโตรเจน) เพาะกลา้ หว่านเมล็ดข้าวลงในแปลงนา เพาะเมล็ดลงในกระบะหลมุ 5 กก.ขา้ ว หวา่ นเมล็ดข้าวลงในแปลงนา เปลอื ก/ไร่ 15-20 กก./ไร่ - ตกกลา้ ถอนกล้าและนำ� ไปโยนในแปลงนาที่มนี �้ำขงั - ฉีดยา่ ฆ่าแมลงศตั รูพืชหรอื ยาฆ่าหญา้ (15-20 วัน) ประมาณ 5 ซม. การตดิ ตามผลครั้งท่ี 1 ตดิ ตามและสรปุ ผลในการฉีดนำ้ �หมักน้ำ�สกัดตามเวลาทกี่ ำ�หนด (อายขุ ้าว 2 เดือน) การตดิ ตามผลคร้งั ที่ 2 ติดตามและสรปุ ผลในการฉีดนำ้ �หมักน้ำ�สกัดตามเวลาที่กำ�หนด ฉดี ยา่ ฆ่าแมลงศัตรูพชื หรือยาฆา่ หญา้ และใส่ (อายุข้าว 4 เดอื น) ปยุ๋ เคมสี ูตรเสมอ (16-16-16) ≈ 50 กก./ไร่ (8 กก.ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแทสเซียม) เกบ็ เกี่ยวผลผลิต ตดิ ตามและร่วมสรปุ ผลในการวดั ปรมิ าณผลผลติ ในแตล่ ะแปลง (อายขุ า้ ว 6 เดือน) 2) กจิ กรรมการวางแผนการเตรียมวตั ถดุ บิ สมาชิกได้มีการประชุมวางแผนเพอื่ เตรียมวัตถุดบิ ทต่ี อ้ งใชใ้ นการปลกู ข้าว วัตถุดบิ ทใี่ ช้ ในการปลกู ขา้ วทง้ั หมดเปน็ วตั ถดุ บิ ทม่ี อี ยใู่ นพน้ื ที่ โดยสมาชกิ ไดร้ ว่ มกนั นำ� วตั ถดุ บิ ทต่ี นเองมี 16

สุดารัตน์ ตรเี พชรกุล ธีรวุฒิ ลาภตระกลู แสงชัย เอกประทุมชัย และทรงพล คูณศรสี ขุ นำ� มาใชร้ ว่ มกนั วตั ถดุ บิ ทใี่ ชใ้ นการปลกู ขา้ วไดแ้ ก่ ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ ไดแ้ ก่ ปยุ๋ หมกั ฟางขา้ ว และดนิ หอม (สารปรับปรุงดินที่ใช้แกลบด�ำเป็นแหล่งจุลินทรีย์), น�้ำหมักสูตรธาตุอาหาร ได้แก่ ไนโตรเจนทำ� จาก ปลา หรือ มะพร้าว ฟอสฟอรสั ทำ� จากหน่อกลว้ ย และโปแทสเซียมท�ำจาก มะละกอสกุ และนำ้� สกดั ชีวภาพสตู รไลแ่ มลง ได้แก่ สูตรเผ็ดร้อนทำ� จาก พริก ขา่ พรกิ ไทย กระเทยี ม เปน็ ตน้ สตู รขมท�ำจากสะเดา ควนิ นิ บอระเพด็ เปน็ ตน้ สตู รเบอื่ เมาท�ำจาก กลอย เมด็ น้อยหนา่ หนอนตายอยาก ยาสบู แอลกอฮอล์ เม็ดสะเดา เปน็ ตน้ และสตู รฝาดท�ำจาก หมาก เปลอื กไม้รดฝาด เปน็ ตน้ และสตู รฮอร์โมนพชื ได้แก่ น้�ำนม สำ� หรับเมล็ดพนั ธ์ุขา้ ว หอมมะลิ105 (ข้าวเปลอื ก) แชน่ ้ำ� ไวป้ ระมาณ 24 ช่ัวโมงกอ่ นนำ� ไปเพาะลงในกระบะหลมุ พลาสตกิ หรือหว่านลงในแปลงนา 3) กจิ กรรมการเตรียมดนิ และน้ำ� ก่อนการปลูกข้าว การเตรยี มดนิ และนำ้� เปน็ กจิ กรรมหลกั อกี อยา่ งหนง่ึ ทกี่ ลุ ม่ สมาชกิ ตอ้ งรว่ มมอื กนั วางแผน ด�ำเนนิ งาน เนือ่ งจากการท�ำนาของหมบู่ า้ นหินแรเ่ ปน็ การท�ำนาน�้ำฝน ในการเตรยี มดนิ ก่อน การปลกู ขา้ วโดยการไถดะและไถแปรเพอื่ กลบั หนา้ ดนิ และตดี นิ ใหล้ ะเอยี ดนนั้ ตอ้ งทำ� ในชว่ ง ทีฝ่ นตกลงมาตดิ ตอ่ กันประมาณ 1-2 ครัง้ เพ่อื ให้แนใ่ จว่ามีปริมาณน�ำ้ เพียงพอกบั การตดี ิน และการเตรยี มนำ้� ในนาทำ� โดยการกกั นำ�้ ในนาใหส้ งู ประมาณ 5-10 เซนตเิ มตร นน้ั จะทำ� ภาย หลงั จากเพาะกลา้ ลงในกระบะหลมุ พลาสตกิ ไปแลว้ ประมาณ 15-18 วนั เพอื่ รองรบั การโยน กลา้ (นาโยน) ขน้ั ตอนสดุ ทา้ ยของการวางแผนคอื การดำ� เนนิ งานและตดิ ตามผลตามแผนกจิ กรรมการ เรยี นรปู้ ระกอบดว้ ย การเพาะกลา้ /หวา่ นขา้ ว การจดั การปยุ๋ หมกั และนำ้� ในระหวา่ งการปลกู ข้าว การดูแลและป้องกันการเกิดโรคในนาข้าว และการเก็บเกี่ยวผลผลิต (เดือนที่ 4-12) กระบวนการหลักท่ีใช้ในข้ันตอนการดำ� เนินการและติดตามผลการเรียนรู้คือกระบวนการมี ส่วนร่วม กระบวนการจัดการตนเอง และกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในขั้นตอนการ ด�ำเนินงานแตล่ ะสว่ นนีส้ มาชกิ ร่วมกับนกั วิจัยจาก มจธ. และตวั แทนจากเครือขา่ ยป่าตะวัน ออก ไดร้ ่วมกนั ด�ำเนนิ งานจดบันทึกและติดตามผลการเจรญิ เตบิ โตของตน้ ข้าว การเกดิ โรค และผลผลิตข้าวตลอดจนการวิเคราะห์ต้นทุนของการท�ำนา พร้อมทั้งเปิดเวทีแลกเปล่ียน เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง กรณีมีปัญหาในระหว่างด�ำเนินการสมาชิกได้ร่วมกันเสนอแนะแนว ทางการแกไ้ ขปญั หา 17

การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เพ่ือการพงึ่ ตนเอง: กรณีศกึ ษาการท�ำนาโยนอนิ ทรยี ์ของชมุ ชนหนิ แร่ ต.ทา่ กระดาน อ.สนามชยั เขต จ.ฉะเชิงเทรา 3.3 การเปรยี บเทียบการเจริญเติบโต ผลผลติ และตน้ ทุนของการทำ� นาโยนอนิ ทรีย์ นา หว่านอินทรียแ์ ละนาหวา่ นเคมี จากการทดลองปลกู ขา้ วหอมมะล1ิ 05 ในรปู แบบการทำ� นาโยนและนาหวา่ นอนิ ทรยี ์ พบ ว่าในช่วง 2 เดือนแรกของการปลูก การเจริญเติบโตของตน้ ข้าวท้งั ในด้านความสงู จ�ำนวน การแตกกอ และรอ้ ยละของการเกดิ โรคของตน้ ขา้ วทงั้ ในแปลงนาโยนและนาหวา่ นไมม่ คี วาม แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั ส�ำคัญทางสถิติ (P<0.05) (ตารางที่ 4 และรปู ที่ 1 และ 2) แตเ่ มือ่ อายุ ต้นขา้ วประมาณ 4 เดอื น พบว่า ต้นข้าวในแปลงนาโยนมจี ำ� นวนการแตกกอเฉลย่ี 27 ตน้ / กอ ซ่ึงสงู กว่าในแปลงนาหว่านที่มีค่าเฉลยี่ ประมาณ 5.1 ต้น/กอ (P<0.05) นอกจากนีข้ า้ ว ในนาโยนยงั มีการเกดิ โรคในระดับท่ตี ำ่� กวา่ คือประมาณร้อยละ 5-15 ส�ำหรับผลผลิตข้าวเปลือกพบว่าการท�ำนารูปแบบนาโยนอินทรีย์ให้ผลผลิตประมาณ 485-545 กก./ไร่ ซึ่งสงู กวา่ ผลผลิตขา้ วท่ีไดจ้ ากการทำ� นาหว่านอนิ ทรยี แ์ ละนาหว่านเคมที ี่มี ผลผลิตประมาณ 256-342 และ 320-400 กก./ไร่ ตามลำ� ดบั (ตารางท่ี 5) อาจเนอ่ื งมาจาก การท�ำนาโยนมีการเพาะกล้าก่อนน�ำลงแปลงนาท�ำให้ต้นกล้ามีความแข็งแรงจึงช่วยลดการ เกดิ โรคได้ (ตารางท่ี 4 และ รูปที่ 1) แสดงให้เห็นว่าตน้ ขา้ วในแปลงนาโยนมเี ปอร์เซ็นต์การ เกิดโรคข้าวโดยเฉพาะโรคใบไหม้มีน้อยกว่าต้นข้าวในแปลงนาหว่าน นอกจากน้ีต้นข้าวใน แปลงนาโยนมคี วามหนาแนน่ นอ้ ยกวา่ (รปู ที่ 2) จงึ ทำ� ใหต้ น้ ขา้ วในแปลงนาโยนสามารถเจรญิ เติบโตแตกกอในช่วงเดือนที่ 4 สงู กวา่ (ตารางท่ี 4) จากการเปรียบเทียบต้นทุนในการผลิตข้าวเปลือก (ตารางที่ 5) พบว่าข้าวเปลือกที่ได้ จากการปลกู ขา้ วแบบนาโยนมตี น้ ทนุ ประมาณ 2.7-3.7 บาท/กก. ซง่ึ ตำ�่ กวา่ ตน้ ทนุ การทำ� นา หว่านอนิ ทรยี ์และนาหว่านเคมี (การท�ำนารปู แบบเดิมในพนื้ ท)่ี มตี น้ ทุนประมาณ 4.3-7.2 และ 9.8-15.9 บาท/กก. ตามล�ำดบั ต้นทนุ การผลิตขา้ วท้ังในระบบนาโยนและนาหวา่ นใน การศกึ ษานี้สอดคล้องกบั การศึกษาของ บุญสขุ เตือนชวัลย,์ 2554 และ สามารถ ทองใบ, 2551 ทรี่ ายงานวา่ การทำ� นาหวา่ นและนาโยนในพน้ื ทเ่ี ขตชลประทานมตี น้ ทนุ ประมาณ 3.5- 5.0 บาท/กก. และ 2.9 บาท/กก.ตามล�ำดบั การปลูกขา้ วแบบนาโยนอนิ ทรียส์ ง่ ผลใหต้ น้ ทนุ ตำ�่ กวา่ นาหวา่ นเคมเี นอื่ งจากไมต่ อ้ งมคี า่ ใชจ้ า่ ยในดา้ นคา่ ปยุ๋ เคมี ยาปราบแมลงศตั รพู ชื และ ยาปราบวชั พชื เมลด็ พนั ธท์ุ ใ่ี ชใ้ นการปลกู ตอ่ ไรต่ ำ่� กวา่ นอกจากนกี้ ารปลกู ขา้ วแบบนาโยนให้ ผลผลติ ตอ่ ไร่สูงกวา่ (ตารางท่ี 5) 18

สดุ ารัตน์ ตรเี พชรกุล ธีรวุฒิ ลาภตระกูล แสงชยั เอกประทมุ ชัย และทรงพล คูณศรีสุข รูปท่ี 1 ลกั ษณะการเกิดโรคใบไหมข้ องต้นข้าวในแปลงนาโยนและนาหว่านที่อายุตน้ ข้าว ประมาณ 2 เดือน รูปที่ 2 ลักษณะการแตกกอของตน้ ขา้ วในแปลงนาโยนและนาหวา่ นที่อายุต้นข้าวประมาณ 4 เดอื น ตารางท่ี 4 เปรยี บเทยี บการเจรญิ เตบิ โตของตน้ ขา้ วในดา้ นความสงู การแตกกอและการเกดิ โรคของต้นข้าวในแปลงนาโยนและนาหวา่ นอินทรยี ์ 2 เดือน 4 เดอื น ความสูง (ซม.) จ�ำ นวนการ ระดบั การเกดิ โรค ความสงู (ซม.) รูปแบบการท�ำ นา จ�ำกนอว(นตก้นา/รกแอต)ก ระดบั การเกดิ โรค แตกกอ (ตน้ / ต่อตน้ (%) ตอ่ ตน้ (%) กอ) นาโยนอินทรยี ์ 41.5 ± 2.8a 8.6 ± 2.4a 0 - 40 146.4 ± 14.9a 27 ± 7.7a 5 - 15 นาหวา่ นอินทรยี ์ 43.7 ± 6.2a 4.8 ± 3.8a 20 - 50 140.3 ± 7.5a 5.1 ± 3.7b 10 - 40 หมายเหต:ุ เก็บขอ้ มูลเฉพาะในแปลงนาโยนอนิ ทรยี แ์ ละนาหวา่ นอินทรีย์ 19

การสง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรเู้ พือ่ การพง่ึ ตนเอง: กรณีศึกษาการท�ำนาโยนอินทรีย์ของชุมชนหนิ แร่ ต.ทา่ กระดาน อ.สนามชยั เขต จ.ฉะเชิงเทรา ตารางท่ี 5 ตน้ ทุน และผลผลิตของการทำ� นาแบบอินทรียแ์ ละเคมี ขั้นตอน รายละเอยี ด ต้นทนุ การทำ�นาแบบอินทรยี ์ ต้นทุนการทำ�นาแบบเคมี (บาท/ไร่) (บาท/ไร่) นาหว่าน นาโยน นาหว่าน** ฉีดยาปราบวัชพชื - - 300-400 250-300 250-300 250-300 1.เตรยี มดิน ไถดะ* 250-300 250-300 250-300 15-20 15-20 ไถแปร* 5 12 12 12 เมลด็ พนั ธุ์ (กก.) 180-240 60-72 180-240 70-100 เมล็ดพนั ธ์ุ (บาท/กก.) - 85-100 - 2.เมล็ดพนั ธุ์ ต้นทนุ เมล็ดพนั ธ์ุ (บาท/ไร่) - - - 45-50 - 45-50 ตกกลา้ /เพาะกล้า -   500-600   - 600-800 จา้ งโยน - 40-45 1,500-2,000 40-45 400-500 - จ้างหวา่ น 400-500 300-400 - 300-400 1,455-1,817 300-400 สารเคมคี มุ วชั พืช (1-2 ขวด/ไร่) 1,465-1,835 485-545 3,925-5,090 256-342 2.7-3.7 320-400 3.ดแู ลและ ยาปราบแมลงศตั รพู ชื 4.3-7.2 9.8-15.9 ติดตาม ปยุ๋ เคมี (2 กระสอบ/ไร/่ ฤดกู าล) นำ้� หมกั นำ้� สกัด ป๋ยุ อินทรยี ์ (4 กระสอบ/ไร่/ฤดกู าล) 4.เก็บเกี่ยว เก่ียวขา้ ว ต้นทุนการปลูกขา้ วเฉลย่ี (บาท/ไร่) ผลผลิตข้าวเปลือกเฉล่ีย (กก./ไร)่ ตน้ ทุนข้าวเปลอื กเฉลีย่ (บาท/กก) หมายเหตุ สมาชกิ ทั้งหมด 31 คน มเี น้ือทท่ี ำ� นาทั้งหมด 1131 ไร่ * ราคาคา่ จ้างในการไถดะและไถแปรรวมคา่ น�้ำมนั แลว้ ประมาณ 250 บาท/ไร่ ** นาหว่านแบบเคมีเป็นรูปแบบการท�ำนาดั้งเดิมท่ีเกษตรกรท�ำอยู่ ข้อมูลที่ใช้ ในการวเิ คราะห์ได้จากการสอบถามกล่มุ สมาชกิ 3.4 การเรยี นรู้ด้านการพ่ึงตนเอง การส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการพึ่งตนเองของกลุ่มสมาชิกบ้านหินแร่ได้ใช้การปลูก ข้าวอินทรียเ์ ปน็ กิจกรรมหลักในการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ รายละเอียดผลการศึกษาการเรยี นรู้ ด้านการพึ่งตนเองใน 3 มิติ ได้แก่ เศรษฐกิจชุมชน สงิ่ แวดลอ้ มและสังคม แสดงตอ่ ไปน้ี 20

สดุ ารัตน์ ตรีเพชรกลุ ธีรวฒุ ิ ลาภตระกูล แสงชยั เอกประทมุ ชัย และทรงพล คณู ศรีสุข ด้านเศรษฐกจิ ชมุ ชน เพื่อให้เข้าใจภาพของเศรษฐกิจของพ้ืนท่ีท่ีเกิดจากกิจกรรมเศรษฐกิจการปลูกข้าว 3 รปู แบบ ได้แก่ การท�ำนาโยนอินทรยี ์ การทำ� นาหว่านอนิ ทรยี ์ และนาหว่านเคมี ของกลมุ่ สมาชิกท้งั หมด 31 คน ทีม่ พี น้ื ทใ่ี นการท�ำนารวมท้ังหมด 1,131 ไร่ จึงทำ� การศึกษาบัญชกี าร ไหลของเศรษฐกจิ ของกลุม่ สมาชกิ ในชุมชนซงึ่ ประกอบด้วย กจิ กรรม 3 ส่วนตอ่ เน่อื งกัน คอื มีการน�ำเข้า (จ่ายเงินออก) มีกิจกรรมเศรษฐกิจการปลูกข้าวภายในพื้นที่ (จ่ายและรับเงิน หมนุ เวยี นในพน้ื ที)่ และการสง่ ออกนอกพื้นที่ (รบั เงนิ เขา้ ) ผลการศึกษาดังแสดงใน รปู ท่ี 3 (ก), (ข) และ (ค) จากรปู ท่ี 3 (ก) แสดงเส้นทางการไหลเวยี นของเงนิ ในการประกอบกิจกรรมท�ำนา โยนอินทรยี จ์ าก 3 เส้นทางหลกั คือ การนำ� เขา้ ปจั จัยการผลิต ได้แก่ รถไถ รถนวดข้าว รถ เกี่ยวข้าวและน้�ำมัน ท�ำให้มีเงินไหลออกนอกสู่ชุมชนประมาณ 0.57-0.68 ล้านบาท/ปี กิจกรรมเศรษฐกิจการปลูกข้าวภายในพื้นท่ี ได้แก่ ค่าเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยหมักอินทรีย์ น้�ำหมัก ชีวภาพ และค่าแรงในการด�ำเนินการก่อให้เกิดการจ่ายและรับเงินหมุนเวียนอยู่ในชุมชน ประมาณ 1.22-1.57 ลา้ นบาท/ปี การสง่ ออกผลผลติ ไดแ้ ก่ ขา้ วเปลือกออกนอกพน้ื ที่ท�ำให้ มเี งนิ รายรบั เขา้ มาในชมุ ชนประมาณ 8.24-9.24 ลา้ นบาท/ปี ดงั นน้ั การทำ� นาโยนอนิ ทรยี จ์ ะ ทำ� ให้ชุมชนมเี งนิ เหลอื ออมในพน้ื ท่ีประมาณ 7.56-8.67 ลา้ นบาท/ปี สำ� หรบั เสน้ ทางการไหลเวยี นของเงนิ ในการประกอบกจิ กรรมท�ำนาหวา่ นอนิ ทรยี ด์ งั แสดงในรปู ท่ี 3 (ข) พบว่ามีเงินไหลออกนอกชมุ ชน เงินจ่ายและรบั หมนุ เวียนในชมุ ชนและ เงินรายรบั เข้ามาในชุมชน ประมาณ 0.57-0.68 ลา้ นบาท/ปี 1.09-1.40 ลา้ นบาท/ปี และ 4.35-5.81 ลา้ นบาท/ปี ตามลำ� ดับ การทำ� นาหว่านอินทรีย์จะทำ� ให้ชุมชนมเี งนิ ออมในพ้ืนท่ี ประมาณ 3.67-5.24 ล้านบาท/ปี เสน้ ทางการไหลเวียนของเงินในการประกอบกิจกรรมท�ำนาหว่านเคมี (รปู ท่ี 3 (ค)) พบว่ามเี งนิ ไหลออกนอกชุมชน เงินจ่ายและรบั หมนุ เวียนในชมุ ชน และเงินรายรบั เข้ามาใน ชมุ ชน ประมาณ 3.85-4.98 ลา้ นบาท/ปี 0.59-0.78 ลา้ นบาท/ปี และ 5.43-6.78 ลา้ นบาท/ ปี ตามลำ� ดบั ดงั นน้ั การทำ� นาหวา่ นเคมจี ะทำ� ใหช้ มุ ชนมมี เี งนิ ออมในพน้ื ทป่ี ระมาณ 0.45-1.8 ลา้ นบาท/ปี 21

การส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้เพอ่ื การพ่ึงตนเอง: กรณศี กึ ษาการท�ำนาโยนอินทรยี ข์ องชมุ ชนหนิ แร่ ต.ทา่ กระดาน อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา จากการเปรยี บเทยี บการไหลเวยี นของเงนิ ในชมุ ชนจากการทำ� นาโยนและนาหวา่ น อินทรยี ์ พบวา่ การทำ� นาโยนอินทรียช์ ว่ ยให้ชมุ ชนสามารถพ่ึงตนเองโดยชมุ ชนมเี งินออมใน ชมุ ชนประมาณ 7.56-8.67 ลา้ นบาท/ปี ซง่ึ มากกวา่ การทำ� นาหวา่ นอนิ ทรยี แ์ ละนาหวา่ นเคมี ทช่ี ่วยให้มีเงินออมประมาณ 3.67-5.24 และ 0.45-1.8 ล้านบาท/ปี ตามลำ� ดบั เน่อื งจากนา โยนมีข้ันตอนในการผลิตมากกว่านาหว่าน จึงท�ำให้เกิดการจ้างงานในพื้นท่ีสูงกว่านาหว่าน ผลผลิตของนาโยนก็สูงกว่านาหว่านอินทรีย์และเคมี จึงท�ำให้มีผลผลิตขายออกนอกพื้นท่ี มากกว่าคอื ประมาณ 8.24-9.24 ลา้ นบาท/ปี นอกจากนก้ี ารท�ำนาโยนอินทรยี ์ก่อให้เกิดการ หมุนเวียนเศรษฐกิจภายในชุมชน โดยการลดการน�ำเข้าของปัจจัยการผลิต ได้แก่ สารเคมี ตา่ งๆ กลมุ่ สมาชกิ ไดร้ ว่ มกนั ผลติ ปยุ๋ หมกั จากวสั ดเุ หลอื ทงิ้ ตา่ งๆ ทม่ี ใี นทอ้ งถนิ่ ไดแ้ ก่ ฟางขา้ ว มลู ววั เปน็ ตน้ เพอื่ ทดแทนการใชป้ ยุ๋ เคมแี ละการผลติ นำ้� หมกั และนำ�้ สกดั ชวี ภาพเพอ่ื ทดแทน การใช้ยาปราบแมลงศัตรพู ืช สำ� หรบั การทำ� นาหวา่ นเคมซี ง่ึ เปน็ รปู แบบการทำ� นาดง้ั เดมิ ทเ่ี กษตรกรในพน้ื ทท่ี ำ� อยู่ นั้น นอกจากต้องมีการน�ำเข้าปัจจัยการผลิตพื้นฐานแล้วยังต้องมีการน�ำเข้าปัจจัยการผลิ ตอ่ืนๆ เพิม่ เติม ไดแ้ ก่ ยาปราบศัตรูพชื และแมลง ปุ๋ยเคมี ซ่งึ ทำ� ใหม้ กี ารใช้จา่ ยในพนื้ ที่ และ เงนิ ออมของชมุ ชนตำ่� ทส่ี ดุ แสดงใหเ้ หน็ วา่ การทำ� นาหวา่ นเคมสี ง่ ผลใหช้ มุ ชนมคี วามแขง็ แกรง่ ทางดา้ นเศรษฐกจิ ต�่ำสุด 22

สดุ ารัตน์ ตรเี พชรกลุ ธีรวุฒิ ลาภตระกลู แสงชัย เอกประทุมชยั และทรงพล คูณศรีสุข รูปท่ี 3 เส้นทางการไหลเวยี นของเงินในชมุ ชนในการทำ� นาโยนอินทรยี ์ (ก) นาหว่านอินทรยี ์ (ข) และนาหว่านแบบเคมี (ค) (หมายเหตุ: คดิ เทียบกับสมาชิกทง้ั หมด 31 คน พืน้ ที่การท�ำ นาทงั้ หมด 1,131 ไร)่ ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ผลของการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้การท�ำนาอินทรีย์ในรูปแบบนาโยนและนา หว่าน ในช่วงระยะเวลา 1 ปี ตอ่ ดา้ นสิง่ แวดลอ้ มดงั แสดงในตารางท่ี 6 พบว่า สมาชิกมกี าร ปรับเปลี่ยนวิถีการทำ� เกษตรเคมเี ป็นอินทรยี ป์ ระมาณ 11 คน หรอื คิดเปน็ รอ้ ยละ 35.5 ของ 23

การสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพึง่ ตนเอง: กรณศี ึกษาการท�ำนาโยนอนิ ทรยี ์ของชุมชนหนิ แร่ ต.ทา่ กระดาน อ.สนามชยั เขต จ.ฉะเชงิ เทรา สมาชิกท้ังหมด สามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมีในการปลูกข้าวลงได้ประมาณ 40 ตัน/ปี หรือ ประมาณ 100 กก./ไร่/ปี นอกจากนี้ยังลดปริมาณยาที่ใช้ในการป้องกันการเกิดโรคในข้าว เนอ่ื งจากขา้ วในนาทมี่ กี ารใชส้ ารเคมแี ละปยุ๋ เคมตี ดิ ตอ่ กนั มกี ารตดิ โรคงา่ ยกวา่ เนอ่ื งจากขา้ ว ตน้ เลก็ และไม่แข็งแรง จากกจิ กรรมการทำ� นาอนิ ทรยี ท์ ำ� ใหส้ มาชกิ ไดม้ กี ารผลติ นำ้� หมกั และนำ้� สกดั ชวี ภาพ ชนิดต่าง เพ่ือใช้ในการป้องกันปัญหาเร่ืองแมลงและโรคข้าว พืชท่ีสมาชิกเลือกใช้คือพืชใน กลุ่มพชื สมุนไพร เชน่ ลูกสะเดา ลูกหมาก ตะไคร้หอม ไพล ขมิน้ แสยก ข่า บอระเพ็ด งวง ชา้ ง เปน็ ตน้ ในปแี รกของการเรยี นรสู้ มาชกิ ขาดแคลนสมนุ ไพรทตี่ อ้ งใชใ้ นการผลติ จงึ ตอ้ งนำ� เขา้ พชื สมนุ ไพรจากกลมุ่ เครอื ขา่ ยปา่ ตะวนั ออกทอ่ี ยนู่ อกชมุ ชน หลงั จากการเรยี นรทู้ ต่ี อ่ เนอื่ ง ขน้ึ ทำ� ใหส้ มาชกิ ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ในการอนรุ กั ษพ์ ชื ในทอ้ งถน่ิ สมาชกิ ไดร้ ว่ มกนั คดิ หา แนวทางการใชป้ ระโยชนจ์ ากสมนุ ไพรท่มี ใี นท้องถ่ินอย่างยั่งยนื โดยประยกุ ตใ์ ช้แนวทางการ อนุรักษค์ ือ ไมท่ �ำลายหรอื แพ้วถางแหลง่ สมนุ ไพรตามธรรมชาติ และการปลกู เพม่ิ เตมิ โดยมี การน�ำสมุนไพรมาปลูกที่บ้านสมาชิก ส�ำหรับแนวทางการใช้ประโยชน์คือ การปลูกพืช สมนุ ไพรทสี่ มาชกิ ตอ้ งใชร้ ว่ มกนั ทบ่ี า้ น ในแปลงนา หรอื แปลงพชื ไร่ ตวั อยา่ งพชื สมนุ ไพรไดแ้ ก่ ไพล ข่า ขมิ้น บอระเพด็ งวงช้าง ตะไคร้หอม แสยก ชะพลู วา่ นนำ�้ น้อยหน่า เปน็ ตน้ (ตาราง ที่ 6) เมอ่ื มกี ารนำ� พชื สมุนไพรทปี่ ลกู มาใชส้ มาชิกตอ้ งมีการปลูกทดแทน ผลการศึกษาแสดง ให้เห็นว่ากระบวนการเรียนรู้ด้านการท�ำนาอินทรีย์ช่วยให้สมาชิกดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมโดยช่วยลดการปลดปล่อยสารเคมีและยาฆ่าแมลงออก สสู่ ง่ิ แวดลอ้ ม ขณะเดยี วกนั ชว่ ยอนรุ กั ษแ์ ละใชป้ ระโยชนข์ องทรพั ยากรพชื ทอ้ งถน่ิ อยา่ งยง่ั ยนื 24

สุดารตั น์ ตรเี พชรกลุ ธีรวฒุ ิ ลาภตระกูล แสงชัย เอกประทมุ ชยั และทรงพล คณู ศรสี ุข ตารางที่ 6 ผลก่อนและหลังกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้การท�ำเกษตรอินทรีย์ต่อส่ิง แวดลอ้ มของชุมชน หัวขอ้ กอ่ นการเรยี นรู้ หลังการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด พน้ื ทท่ี ำ�เกษตรเคมีทงั้ หมด เปล่ียนเป็นพ้นื ที่ทำ�เกษตรอินทรีย์ พน้ื ที่ทำ�นาอินทรยี ป์ ระมาณร้อยละ 35 ประมาณ 1131 ไร่ ประมาณ 400 ไร่ ของพื้นที่ทำ�นาท้ังหมดของสมาชิก ระบบสิง่ แวดล้อมของ สมาชิกทั้งหมด 31 คนทำ�นา สมาชิก 11 คนทำ�นาโยนและนาหว่าน จำ�นวนสมาชิกทที่ ำ�นาอนิ ทรยี ์ประมาณรอ้ ย การปลูกขา้ ว หว่านแบบเคมี อินทรียจ์ ากท้ังหมด 31 คน ละ 35.5 ของสมาชกิ ทั้งหมด การใชป้ ๋ยุ เคมใี นการทำ�นา 1,131 การใช้ปยุ๋ เคมีในการทำ�นา 1,131 ไร่ ลดการใช้ปุ๋ยเคมลี งประมาณ 40 ตัน/ ไร่ ประมาณ 113 ตัน ทง้ั หมดประมาณ 73 ตนั ปี หรือประมาณร้อยละ 35 ของสมาชกิ ท้งั หมด หรอื ประมาณ 100 กก./ไร/่ ปี การอนุรกั ษพ์ ชื ทอ้ งถ่นิ ไมม่ ีการอนุรักษ์พืชทอ้ งถ่ิน เช่น มีแนวความคิดในการอนรุ กั ษ์โดยการไม่ ชนดิ พืชท่ีคงอยูแ่ ละได้รบั การอนรุ ักษ์ ได้แก่ ไพล ข่า บอระเพ็ด งวงชา้ ง และ ทำ�แพว้ ถางแหลง่ สมนุ ไพรตามธรรมชาติ ไพล ขา่ ขม้นิ บอระเพด็ งวงชา้ ง ตะไคร้ ตะไคร้หอม เป็นต้น และมกี ารนำ� และมกี ารนำ�มาปลกู ท่บี ้านเพือ่ สะดวกต่อ หอม แสยก ชะพลู วา่ นน้ำ� น้อยหน่า* มาจากชมุ ชนอ่นื การใช้งาน* หมายเหตุ * พืชสมุนไพรแต่ละชนิดจะถูกกระจายให้กับสมาชิกเริ่มต้นจ�ำนวน 7 คน โดย สหกรณก์ ารเกษตรหนิ แรน่ ำ� ตน้ พนั ธจ์ุ ากชมุ ชนใกลเ้ คยี งหรอื ชมุ ชนทมี่ ผี า่ นเครอื ขา่ ยปา่ ตะวนั ออก เม่ือสมนุ ไพลโตพร้อมท่จี ะขยายพันธ์ไุ ด้ จะทำ� การขยายพันธใ์ุ ห้กับสมาชกิ คนอนื่ ดา้ นสังคม ผลการเรยี นรดู้ า้ นการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมดา้ นสงั คมของสมาชกิ กลมุ่ การเรยี นรู้ ดา้ นการพง่ึ ตนเอง ดงั แสดงในตารางท่ี 7 กลมุ่ สมาชกิ มกี ารเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมทง้ั ในดา้ น ปฏิสมั พันธ์และการรวมกลุ่มท่ีสะท้อนให้เหน็ การพงึ่ ตนเองของชมุ ชนไดด้ ีข้ึน จากตารางที่ 7 เห็นว่าก่อนการเรียนรู้สมาชิกชุมชนมีปฏิสัมพันธ์ค่อนข้างน้อย สมาชิกจะอยู่กันอย่างเรียบ งา่ ยตา่ งคนตา่ งอยเู่ นอ่ื งจากทกุ ครอบครวั กม็ ภี ารกจิ ตา่ งๆ ทตี่ อ้ งท�ำ แตห่ ลงั ผา่ นกระบวนการ เสริมสร้างการเรยี นร้ซู ่ึงประกอบด้วยกระบวนการมสี ว่ นร่วม กระบวนการแลกเปล่ยี นเรยี น รู้ กระบวนการตัดสินใจร่วมกัน และกระบวนการจัดการตนเองโดยใช้การปลูกข้าวอินทรีย์ เป็นกิจกรรมหลักในการเรียนรู้ร่วมกันมาเป็นระยะเวลาประมาณ 1 ปี พบว่า สมาชิกมี 25

การสง่ เสริมกระบวนการเรยี นรเู้ พ่ือการพ่ึงตนเอง: กรณีศึกษาการท�ำนาโยนอนิ ทรียข์ องชมุ ชนหินแร่ ต.ท่ากระดาน อ.สนามชยั เขต จ.ฉะเชงิ เทรา ปฏสิ มั พนั ธก์ นั ในดา้ นการสนทนา การเออื้ เฟอ้ื เผอ่ื แผ่ และการแบง่ ปนั กนั มากขนึ้ ในขนั้ ตอน การเรียนรู้ได้ใช้เทคนิคการจัดประชุมแบบมีส่วนร่วมและการปฏิบัติแบบมีส่วนร่วม จึงเปิด โอกาสให้สมาชิกได้มีโอกาสได้เข้ามาร่วมประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู้และรวมกลุ่มกันท�ำ กจิ กรรมรว่ มกนั ทกุ ๆเดอื น เชน่ มกี ารนดั รวมกลมุ่ กนั ทำ� อาหารกลางวนั รว่ มกนั การรวมกลมุ่ กันเพ่อื ผลติ ปัจจยั ท่ีเกย่ี วข้องกบั การประกอบอาชีพ เช่น นำ�้ ยาเอนกประสงค์ ปุ๋ยหมกั ฟาง ข้าว ดินหอม และน�้ำหมกั /น�ำ้ สกัดชีวภาพสตู รต่างๆ เปน็ ตน้ สง่ิ ต่างๆ ที่กลุม่ สมาชกิ ผลติ ได้ สดุ ทา้ ยจะมกี ารแบง่ ปนั กนั ใหก้ ลมุ่ สมาชกิ นำ� กลบั ไปใชแ้ ทนการซอื้ ปจั จยั การผลติ เหลา่ นจ้ี าก นอกชมุ ชน ผลิตภัณฑ์บางอยา่ งเชน่ นำ�้ ยาเอนกประสงค์ สมาชิกนำ� มาขายให้กบั ชาวบา้ นใน ชุมชน กอ่ ให้เกิดการไหลเวียนของเงินในชุมชน (ตารางที่ 7) จากพฒั นาการเรยี นรขู้ องกลมุ่ สมาชกิ ทำ� ใหช้ าวบา้ นบางคนทไ่ี มไ่ ดเ้ ขา้ รว่ มกลมุ่ ตงั้ แต่ ต้นเห็นประโยชน์จึงมีความสนใจในการเข้าร่วมกลุ่มการเรียนรู้เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 4 คน เม่ือมี จำ� นวนสมาชกิ เพม่ิ ขน้ึ และการดำ� เนนิ งานดา้ นการเรยี นรทู้ ต่ี อ่ เนอ่ื งจงึ เกดิ การรวมกลมุ่ เสวนา และนำ� ไปสกู่ ารตง้ั กฎระเบยี บเพอื่ ใหก้ ารทำ� งานของกลมุ่ เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย เชน่ การ ควบคมุ กระบวนการผลติ ในการปลกู ขา้ วอนิ ทรยี เ์ พอ่ื ขายโดยหา้ มไมใ่ หม้ กี ารใชส้ ารเคมตี า่ งๆ รวมท้ังปุ๋ยเคมีในการผลิต การแบ่งปันผลผลิตโดยการร่วมน�ำวัตถุดิบเข้ากลุ่มเพื่อใช้ในการ ผลิต เช่น ปยุ๋ หมกั และน�้ำหมักน�้ำสกดั ชีวภาพสูตรต่างๆ เป็นต้น ขอ้ ตกลงในการอนุรักษ์สงิ่ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ การอนรุ กั ษส์ มนุ ไพรทอ้ งถน่ิ ทน่ี ำ� มาใชใ้ นการผลติ นำ้� สกดั ชวี ภาพโดยไมม่ กี าร บกุ รุกและท�ำลายพืชสมนุ ไพรในธรรมชาติแต่สามารถนำ� มาปลกู ไว้ใช้ได้ เปน็ ต้น 26

สดุ ารัตน์ ตรเี พชรกลุ ธรี วฒุ ิ ลาภตระกูล แสงชยั เอกประทมุ ชัย และทรงพล คณู ศรีสุข ตารางที่ 7 ผลการเรยี นรดู้ า้ นการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมทางสงั คมของสมาชกิ กอ่ นและหลงั กระบวนการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้โดยใชก้ ารท�ำเกษตรอินทรยี ์เป็นเครอ่ื งมอื (ระยะเวลา 1 ปี) หวั ขอ้ ก่อนการเรยี นรู้ หลังการเรยี นรู้ ตัวช้วี ดั ผลของตวั ช้ีวดั ต่างคนตา่ งอยู่ เกดิ การนดั หมายของสมาชกิ ในการร่วมกนั ทำ� กจิ กรรมที่ได้จากการเรียนรู้ทั้งหมดจำ� นวน 6 การมปี ฏสิ มั พนั ธ์ มีการสนทนาและรว่ มกัน จำ�นวนคร้งั ของการเกดิ กิจกรรม ครงั้ ในการรว่ มกนั ผลติ ปยุ๋ หมกั ดินหอม และน�้ำ ทำ�กจิ กรรมกันมากข้นึ หลังการเสวนา หมักน้ำ� สกดั ชีวภาพสูตรตา่ งๆ มีการแบ่งปันกันนอ้ ย การนดั หมายของสมาชิกในการนำ� อาหารมารว่ ม กันทำ� และรบั ประทานอาหารกลางวนั รว่ มกัน มีการแบง่ ปันกนั มากข้นึ กจิ กรรมท่เี กดิ การแบ่งปันของ เฉลีย่ อย่างน้อย 1-2 ครั้ง/เดือน สมาชกิ ไม่มีการรวมกลุม่ เพอื่ ผลิต กจิ กรรมเพอื่ ผลติ ปจั จัยท่ี ชนดิ และปริมาณผลติ ภัณฑท์ ่ี - ปยุ๋ หมักฟางขา้ ว (3,240 กก.) ปจั จยั ดา้ นการประกอบอาชีพ ใชใ้ นการประกอบอาชีพ ร่วมกนั ผลิต - ดนิ หอม (5,200 กก.) เพม่ิ ขึน้ - นำ�้ หมัก/น�้ำสกดั ชวี ภาพ (843 ลติ ร) - น้�ำยาเอนกประสงค์ (90 ลติ ร) ไม่มกี ารรวมกลุม่ เพอื่ ขาย มกี ารรวมตวั กันเพอื่ ขาย ชนิดและปริมาณผลติ ภณั ฑท์ ่เี กดิ น�ำ้ ยาเอนกประสงค์ จ�ำนวน 70 ลติ ร ผลิตภณั ฑ์ ผลิตภัณฑ์ การขายภายในชุมชน การรวมกล่มุ - กฎและขอ้ ห้ามในการทำ� เกษตรอนิ ทรยี ์ ไมม่ ีการสรา้ งกฎกติกาใน มกี ารสร้างกฎและ กฎทถี่ กู สร้างขึน้ จากความสมัคร - กฎและกตกิ าในการนำ� วัตถดุ บิ มารว่ มกันผลติ การดำ�เนินงานรว่ มกัน (ตาม เง่ือนไข ในการทำ�งาน ใจของกลุ่ม และพร้อมที่จะ ผลิตภัณฑแ์ ละการแบ่งสันปันส่วน กฎหมาย) หรือดำ�เนินงานรว่ มกนั ปฏบิ ตั ิตาม - กฎในการอนรุ ักษ์สิ่งแวดลอ้ มโดยเฉพาะพชื สมนุ ไพร - กลมุ่ ยงั คงมกี ารดำ� เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดย มีกลุม่ แตข่ าดความต่อเนื่องใน การขบั เคลอื่ นจากผนู้ ำ� กลมุ่ และแกนนำ� การดำ�เนินงานและความต่อ เกดิ กลุม่ การเรยี นรู้ การเพิ่มข้ึนของสมาชิกใหม่ใน เนอื่ งจากหนว่ ยงานที่ให้การ เกษตรอนิ ทรียบ์ า้ นหินแร่ กลมุ่ - มสี มาชกิ ใหมเ่ ขา้ กลุ่มระหว่างการเรียนรู้ สนบั สนนุ จ�ำนวน 4 คน 3.5 กระบวนส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อการพ่งึ ตนเองของชุมชนหนิ แร่ จากการศกึ ษากระบวนการสง่ เสรมิ การเรยี นรดู้ า้ นนาโยนอนิ ทรยี เ์ พอื่ การพง่ึ ตนเอง ของชุมชนหินแร่ (รูปท่ี 4) พบว่า กระบวนการเรียนรู้ของชุมชนมีความสัมพันธ์กับปัจจัย ภายในและภายนอกในมติ ทิ หี่ ลากหลายทงั้ ในดา้ นมติ ทิ างเศรษฐกจิ , มติ ทิ างสงั คมและองคก์ ร ชมุ ชน, มติ ทิ างวฒั นธรรมและการเรยี นรู้ และมติ ทิ างทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม ปจั จยั ภายใน ท่มี ผี ลตอ่ การเสรมิ สร้างการเรียนรูค้ ือ ดา้ นเศรษฐกจิ ได้แก่ การประกอบอาชพี ของสมาชิก ด้านสังคมและวัฒนธรรม ได้แก่ ความสมั พันธ์ของคนในชมุ ชน อายุ เพศ ระดบั การศึกษา 27

การสง่ เสริมกระบวนการเรียนร้เู พือ่ การพึง่ ตนเอง: กรณีศึกษาการท�ำนาโยนอนิ ทรยี ข์ องชุมชนหนิ แร่ ต.ทา่ กระดาน อ.สนามชยั เขต จ.ฉะเชงิ เทรา ภาษา ศาสนา ประเพณที ้องถิน่ และบทบาทของผ้นู �ำชมุ ชนหรือกลุ่ม ดา้ นทรัพยากรและสิง่ แวดล้อม ไดแ้ ก่ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน นำ�้ และพชื สมุนไพร ปัจจัยภายนอกคือ นกั วิจัย จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ช่วยสนับสนุนข้อมูลเชิงวิชาการ ลักษณะ และองคค์ วามรู้ และตวั แทนจากเครอื ขา่ ยปา่ ตะวนั ออก ชว่ ยสนบั สนนุ และเสนอแนะเนอื้ หา การเรียนรู้และวิธีการการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้เหมาะสมกับบริบทของชุมชน โดย กระบวนการส�ำคัญท่ีใช้ในการเรียนรู้คือ กระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนการแลกเปล่ียน เรยี นรู้ กระบวนการตดั สนิ ใจรว่ มกนั กระบวนการจดั การตนเองของสมาชกิ และกระบวนการ แลกเปล่ยี นทรัพยากรและผลติ ภัณฑ์ภายในชมุ ชน แสดงให้เห็นวา่ กระบวนการสง่ เสริมการ เรยี นรู้เพอื่ น�ำไปสกู่ ารพ่งึ ตนเองของชุมชน เป็นกระบวนการทม่ี คี วามสมั พันธก์ บั การพัฒนา ในมิติต่างๆ ไดแ้ ก่ การตัดสนิ ใจและเรยี นรรู้ ่วมกนั ของชุมชนในการทำ� กจิ กรรมต่างๆ ร่วมกนั การมสี ่วนรว่ มและการรวมกลุ่มและการดูแลรักษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม การ เชอ่ื มโรงของเครอื ขา่ ย การบรหิ ารจดั การตนเอง การผลติ ของใชร้ ว่ มกบั การใชส้ ทิ ธขิ องชมุ ชน ในการตั้งกฎระเบียบกตกิ า เปน็ ตน้ ผลลพั ธจ์ ากกระบวนการเรยี นรนู้ ำ� ไปส่กู ารพ่งึ ตนเองใน มติ ิทางด้านเศรษฐกิจ ด้านสงั คมและองค์กรชมุ ชน ดา้ นวฒั นธรรมและการเรยี นรู้ และดา้ น ทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อม รปู ท่ี 4 กระบวนการสง่ เสริมการเรยี นรดู้ า้ นการทำ� นาอินทรีย์เพ่ือการพึง่ ตนเองในชุมชน บา้ นหินแร่ ต.ท่ากระดาน อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชงิ เทรา 28

สดุ ารตั น์ ตรเี พชรกลุ ธรี วฒุ ิ ลาภตระกูล แสงชัย เอกประทุมชัย และทรงพล คูณศรสี ขุ 4 สรปุ ผลการศกึ ษา 1) จากบริบทของกลุ่มสมาชิกชุมชนหินแร่ท่ีประกอบอาชีพหลักคือการท�ำเกษตร เคมี (ปลูกข้าว) มีสมาชิกครอบครัวเฉลี่ยประมาณ 5 คน สามีเป็นแรงงานหลักในการท�ำ เกษตร ภรรยาและผสู้ งู อายสุ ว่ นใหญจ่ ะดแู ลบตุ รหลานอยกู่ บั บา้ น บตุ รทเ่ี ขา้ สวู่ ยั ทำ� งานสว่ น ใหญเ่ ขา้ ทำ� งานโรงงาน ทำ� ใหม้ ขี อ้ จำ� กดั เรอื่ งแรงงาน นอกจากนพี้ นื้ ทช่ี มุ ชนหนิ แรย่ งั มขี อ้ จำ� กดั ของนำ�้ ทใ่ี ชใ้ นการทำ� เกษตร ดงั นนั้ กจิ กรรมหลกั ทนี่ ำ� มาใชใ้ นการสรา้ งกระบวนการเรยี นรขู้ อง ชมุ ชนคอื กจิ กรรมการทำ� นาโยนอนิ ทรยี จ์ งึ มคี วามเหมาะสมเนอื่ งจากชว่ ยลดขอ้ จำ� กดั ในดา้ น แรงงานและการจัดการน้�ำ วัชพืชและโรคพืช ลดการใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี และช่วยเพิ่ม ผลผลิตขา้ วให้สูงกว่าการท�ำนาหว่านอินทรีย์และนาหว่านเคมีประมาณ 1.7 และ 1.4 เทา่ ตามล�ำดบั 2) กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการท�ำนาโยนอินทรยี ์ของชุมชนหินแร่ เร่มิ ต้นจากการประสานความร่วมมือของชุมชนท่ีเป็นจุดแข็งของชุมชน โดยมีมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีและกลุ่มเครือข่ายป่าตะวันออก เป็นผู้เชื่อมประสานให้เกิด กระบวนการขับเคลื่อน อันน�ำไปสู่การเรียนรู้ร่วมกันและเกิดเครือข่าย กระบวนการหลักท่ี ใชค้ อื การมีสว่ นรว่ ม การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ การตัดสนิ ใจร่วมกัน การจัดการตนเอง การแลก เปลย่ี นทรพั ยากรและผลติ ภณั ฑภ์ ายในกลมุ่ การเรยี นรู้ การดำ� เนนิ การดงั กลา่ วชว่ ยใหช้ มุ ชน สามารถพ่ึงตนเองได้ทั้งในมิติเศรษฐกิจชุมชน ซึ่งชุมชนมีเงินเหลือออมในพ้ืนที่มากกว่าการ ทำ� นาหวา่ นอินทรยี แ์ ละนาหวา่ นเคมีประมาณ 1.4-1.6 เทา่ และ 3.4-3.7 เทา่ ตามลำ� ดบั ใน มิติด้านสังคมจากกิจกรรมการท�ำนาท่ีสมาชิกต้องมีการวางแผนและตัดสินใจร่วมกันในการ ทำ� งานทดลอง ปฏบิ ตั ิ ตดิ ตามผล วเิ คราะหผ์ ล และแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั สง่ ผลใหส้ มาชกิ เกดิ การเรยี นรอู้ นั นำ� มาสกู่ ารเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมทางสงั คมโดยสมาชกิ ในกลมุ่ มปี ฏสิ มั พนั ธ์ กันเพิ่มขน้ึ อนั นำ� มาสู่การจดั กจิ กรรม การแบง่ ปัน การรว่ มกันผลติ ผลติ ภณั ฑเ์ พิ่มขน้ึ ในมิติ ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มสมาชกิ มคี วามตระหนกั ในดา้ นการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรพชื ในทอ้ งถน่ิ และเหน็ ประโยชนข์ องการทำ� นาโยนอนิ ทรยี เ์ พมิ่ ขน้ึ จงึ ทำ� ใหส้ มาชกิ บางสว่ นหนั มาทำ� นาโยนอนิ ทรยี ์ แทนการท�ำนาหว่านเคมีและมีการชักชวนสมาชิกใหม่เข้าร่วมกลุ่มเรียนรู้เพิ่มขึ้น กล่าวโดย สรปุ การทำ� นาโยนอนิ ทรยี ข์ องชมุ ชนหนิ แรส่ ามารถชว่ ยใหช้ มุ ชนพฒั นาตนเอง อนั จะนำ� ไปสู่ การพึ่งตนเองได้ 29

การสง่ เสริมกระบวนการเรยี นรู้เพ่อื การพึง่ ตนเอง: กรณศี ึกษาการท�ำนาโยนอินทรีย์ของชมุ ชนหินแร่ ต.ทา่ กระดาน อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา 5 ข้อเสนอแนะ 1) ในการสง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นร้ดู า้ นการพง่ึ ตนเองทางภาคการเกษตรโดยการ ใชก้ ิจกรรมการท�ำนาโยนอนิ ทรยี ์เป็นกิจกรรมหลกั นนั้ พบวา่ สมาชกิ ส่วนใหญท่ เี่ ขา้ กลุ่มการ เรียนรู้เป็นผู้สูงอายุ (ตารางที่ 1) และไม่มีเยาวชนเข้าร่วมโครงการส่งผลให้ขาดการมี ปฏสิ มั พนั ธข์ องสมาชกิ ตา่ งวยั และขาดกำ� ลงั สำ� คญั ในการสรา้ งความตอ่ เนอื่ งของกระบวนการ เรยี นรจู้ งึ ควรมกี ารหาวธิ ชี กั ชวนเยาวชนใหเ้ ขา้ รว่ มโครงการ ผลทไ่ี ดน้ อกจากการสรา้ งตวั คณู ในการขยายผลของการเรยี นรแู้ ลว้ ยงั ชว่ ยสรา้ งจติ สำ� นกึ ในการรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มตลอดจนชว่ ย ลดปญั หาเร่ืองยาเสพตดิ และการพนันให้กบั เยาวชนในชุมชนด้วย 2) ในกระบวนการเรยี นรูอ้ งคค์ วามรทู้ ไ่ี ด้จากกระบวนการเรยี นร้ไู ด้มีการเสวนากัน เฉพาะกลุ่มสมาชิกท�ำให้คนในชุมชนส่วนใหญ่ไม่ทราบข้อมูลควรมีวิธีการหรือกลไกในการ ถ่ายทอดองค์ความรูไ้ ปส่คู นในชุมชนใหม้ ากขึน้ 3) ในการศกึ ษานไ้ี ดใ้ ชก้ ารทำ� นาโยนเปน็ กจิ กรรมในการสรา้ งกระบวนการเรยี นรใู้ ห้ กับสมาชิกชุมชนหินแร่ ซ่ึงประสบความส�ำเร็จในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตามเพ่ือให้เกิดความ ย่งั ยืน ควรได้มกี ารขยายเครอื ขา่ ยในการทำ� นาโยนอนิ ทรยี ใ์ หเ้ พ่ิมข้ึน จากการสอบถามกลมุ่ สมาชกิ พบวา่ ชมุ ชนหนิ แรย่ งั คงประสบปญั หาเรอ่ื งขา้ วลบี (ขา้ วไมต่ ดิ เมลด็ ) สง่ ผลใหผ้ ลผลติ ลดลงจึงอาจใช้ประเด็นปัญหาน้ีเป็นตัวหลักในการชักชวนให้ชาวบ้านในชุมชนหินแร่เข้ามา รว่ มโครงการเสรมิ สรา้ งกระบวนการเรียนรู้ในระยะต่อไป 30

สุดารัตน์ ตรีเพชรกุล ธีรวฒุ ิ ลาภตระกูล แสงชยั เอกประทุมชยั และทรงพล คณู ศรสี ุข เอกสารอ้างอิง นภารัตน์ นนทกิจนพเก้า, ณฐั ทิยา ลือโฮ้ง, ธติ พงษ์ ก่อสกุล, จุลริรา คงแหลม, สนั ติ โฉมยงค,์ เบญจพร อินทรง์ าม, ศริ ิรัตน์ กลุ ไทย, ดวงดี สทิ ธิศกั ด์ิ, จิรัฐตกิ าล ไชยา, สวุ รรณา อินตัน, วรวชิ ญ์ วงศค์ �ำ, 2552, ปัจจัยท่ีสนับสนุนและเปน็ อปุ สรรคต์ อ่ การทำ� เกษตรอนิ ทรยี ์ของ เกษตรกรบ้านหินแร่และหินแรเ่ กา่ : กรณศี กึ ษาบา้ นหนิ แร่ หมทู่ ี่ 7 และบา้ นหินแรเ่ กา่ หมู่ ท่ี 22 ตำ� บลทา่ กระดาน อำ� เภอสนามชยั เขต จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา, สำ� นกั บณั ฑติ อาสาสมคั ร, มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ บญุ สขุ เตอื นชวลั ย,์ 2554, ถอดองคค์ วามรกู้ ารทำ� นาขา้ วจอ่ มของเครอื ขา่ ยเกษตรกรรมทาง เลือก อ�ำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน ระยะท่ี 1, ฝ่ายวิจัยเพ่ือท้องถ่ิน, ส�ำนักงาน กองทนุ สนับสนุนการวิจัย. ปริญญารตั น์ ภศู ริ ิ, 2549, ปัจจัยท่ีมีอิทธพิ ลตอ่ การพ่งึ ตนเองของกลมุ่ แมบ่ า้ นเกษตรกรทบั ลาน จังหวัดปราจีนบุรี, กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร, กรมส่งเสริม การเกษตร. ปยิ ะพร สรุ โิ ยตระกลู , 2548, การศกึ ษาระดบั การพงึ่ ตนเองของเกษตรโครงการเกษตรทฤษฏี ใหม่ในจังหวัดมุกดาหาร, ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชานโยบาย สาธารณะ, มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. พรรณภัทร ใจเอื้อ, 2552, การพัฒนารูปแบบเครือข่ายโรงเรียนชาวนาจังหวัดนครสวรรค์ เพ่อื การจดั การความรู้แบบมีส่วนรว่ มอย่างยั่งยืน, สาขาสงั คมวิทยา (การพัฒนาชุมชน), คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครสวรรค.์ วรรณธรรม กาญจนสุวรรณ, 2553, กระบวนการจดั การชมุ ชนเขม้ แข็ง: รปู แบบปจั จัยและ ตัวชวี้ ดั , คณะรัฐศาสตร์, มหาวิทยาลยั อุบลราชธาน.ี สามารถ ทองใบ, 2551, การปลกู ข้าวด้วยวธิ โี ยนกล้า, เอกสารค�ำแนะนำ� ส�ำนกั ส่งเสริมการ ผลิตข้าว, กรมการขา้ ว. 31

การสง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรเู้ พือ่ การพง่ึ ตนเอง: กรณีศกึ ษาการทำ� นาโยนอินทรยี ข์ องชุมชนหินแร่ ต.ทา่ กระดาน อ.สนามชยั เขต จ.ฉะเชงิ เทรา สำ� นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต,ิ 2546, การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื , ส�ำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ, กรงุ เทพมหานคร. สำ� นกั ชลประทานท่ี 9, 2548, โครงการสง่ นำ�้ และบ�ำรุงรักษาคลองสียัด, กรมชลประทาน. ส�ำนักส�ำรวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน, 2548, มหัศจรรย์พันธุ์ดิน, กรมพัฒนาท่ีดิน, กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ ส�ำราญ อินแถลง, 2553, การท�ำนาดว้ ยวธิ ีโยนกล้า, นกั วิชาการเกษตร ชำ� นาญการพเิ ศษ ศนู ยว์ ิจัยข้าวปทุมธานี อ.ธัญบรุ ี จ.ปทุมธาน.ี สำ� ราญ อนิ แถลง, 2553, การท�ำนาดว้ ยวธิ โี ยนกล้า, นักวิชาการเกษตร ชำ� นาญการพเิ ศษ ศนู ยว์ ิจัยข้าวปทมุ ธานี อ.ธญั บุรี จ.ปทุมธาน.ี เสกสรร คำ� มลู ด,ี 2551, โครงการกระบวนการเรยี นรเู้ พอื่ การพง่ึ ตนเองอยา่ งยงั่ ยนื ของชมุ ชน บ้านแม่หวาน ต�ำบลป่าเม่ียง อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่, สัญญาเลขที่ RDG47N0063, ส�ำนักงานกองทุนสนบั สนุนการวิจยั (สกว.) เสรี พงศพ์ ิศ, 2546,การเรยี นรสู้ กู่ ารท�ำแผนงานและสรา้ งเครอื ข่ายเพ่ือเสริมสรา้ งความเข้ม แขง็ ใหก้ บั ชมุ ชน, ศนู ยว์ จิ ยั และบรกิ ารอตุ สาหกรรมเกษตรและอตุ สาหกรรมชวี เคมี ส�ำนกั วจิ ยั และบรกิ ารวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย,ี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ .ี องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่ากระดาน อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา, 2553, ลักษณะ ภูมิประเทศ, http://www.tkd.go.th/default.php?modules=fckeditor&fck_ id=4&view_id=55&orderby=1, 21 พฤศจกิ ายน 2553. อภชิ าติ จนั ทรแ์ ดง, 2546, ความเชอ่ื พธิ กี รรม: กระบวนการเรยี นรเู้ พอื่ ศกั ยภาพการพง่ึ ตนเอง ของชมุ ชนชนบท ศกึ ษาเฉพาะกรณชี มุ ชนบา้ นยางหลวง ตำ� บลทา่ ผา อำ� เภอแมเ่ จม่ จงั หวดั เชยี งใหม,่ วทิ ยานพิ นธส์ งั คมสงเคราะหศ์ าสตรมหาบณั ฑติ , คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร,์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์ อภนิ นั ท์ ยอดมณ,ี 2546, การพง่ึ ตนเองของชมุ ชนไมเ้ รยี ง อำ� เภอฉวาก จงั หวดั นครศรธี รรมราช, สาขาวชิ าพัฒนาชนบทศกึ ษา, บณั ฑติ วทิ ยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล. 32

สุดารตั น์ ตรีเพชรกลุ ธรี วุฒิ ลาภตระกูล แสงชยั เอกประทมุ ชยั และทรงพล คูณศรสี ุข อรวรรณ ฉัตรสรี งุ้ และคณะ, 2552, ศกั ยภาพของปยุ๋ อินทรยี ์ต่อการเพิม่ ผลผลติ ข้าวโพดฝกั ออ่ นปีท่ี 1 ในท่นี า ต.แมท่ า อ.แม่ออน จ.เชยี งใหม่, ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ฝา่ ยวจิ ัยเพื่อท้องถน่ิ . อรศรี งามวิทยาพงศ์, 2546, กระบวนทศั น์และการจดั การความยากจนในชนบทของรฐั ใน ช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1-8: พ.ศ. 2504-2544, วทิ ยานพิ นธ์ ดษุ ฎีบณั ฑิต, คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. 33


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook