Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่1

หน่วยที่1

Description: หน่วยที่1

Search

Read the Text Version

บ ท ที่ 1 เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย ก ล เ เ ล ะ ง า น เ ลื่ อ ย ก ลง า น เ ค รื่ อ ง มื อ ก ล เ บื้ อ ง ต้ น รหัสวิชา 200100-1007 น า ย เ กี ย ร ติ ป ร ะ วุ ฒิ ศ รี ค ง 0 0 4 น า ย ปุ ญ ญ พั ฒ น์ เ เ พ ร สุ ว ร ร ณ 0 1 8

หนวยที1่ เคร่ืองเลื่อยกล หวั ขอเรือ่ ง(topics) 1.1ความหมายของการเล่ือย 1.2ชนดิ ของเครอ่ื งเล่ือยกล 1.3เครื่องเลือ่ ยกลแบบชชัก 1.4ใบเลอื่ ย 1.5หลักการทาํ งานดวยเครื่องเล่อื ยกลแบบชัก 1.6การเล่อื ยช้ินงายดวยเคร่อื งเล่อื ยกลแบบชัก 1.7ขอ ควยระวังในการใชเคร่ืองเล่อื ยกลแบบชัก 1.8ความปลอดภยั ในการใชเ ครอื งเล่ือยกลแบบชกั 1.9การบํารุงรักาเครื่องเลอื่ ยกลแบชัก แนวคิดสําคัญ(Main idea) ในการปฏบิ ตั งิ านดวยเครื่องมอื กล โดยทั่วไปจะมีการเลอ่ื ยชิน้ งายเพือ่ ตัดแยกวัสดุแลว นําไปใช ในการแปรรปู เพ่ือใหสามารถจัดเกบ็ วัสดุไดงาย ดังนัน้ งานเลื่อยกลจงึ มคี วามสาํ คญั มาก ผปู ฏิบตั ิงาน จงึ ควรศกึ ษาเก่ยี วกบั วิธีการ ใชเครือ่ งเลอ่ื ยกลใหม ีความรแู ละความเขา ใจเปน อยางดีกอน จึงจะปฏบิ ตั ิงานไดอยางถกู ตองและ ปลอดภยั สมรรถนะยอย(element of competency) แสดงความรเู กี่ยวกับเครื่องเล่ือยกลพืน้ ฐานและงานเลื่อยกลตามคมู ือ จุดประสงคเ ชิงพฤตกิ รรม(Behavioral objectives) 1.บอกความหมายของการเล่ือย 9.อธิบายวธิ ีการจบั ชิ้นงายแบบตา ง ๆ ดวยปากกาจบั ยึดของ เคร่อื งเลื่อยกลแบบชัก 2.จาํ แนกชนิดของการเลอ่ื ย 10.อธิบายวธิ ีการจับชิ้นงานรปู ทรงตาง ๆ กอนเลื่อย 3.ระบุชนดิ ของเครอื่ งเลื่อย 11.อธบิ ายวิธีการจับยึดใบเลือ่ ยเขา กับโครงของเลื่อยกลแบบชัก 4.อธิบายวธิ กี ารกําหนดความ 12.ระบรุ ะยะของการยกโครงเลื่อยกอนตัดหยาบละเอยี ดขอล เคร่อื งเล่ือยกลแบบชัก 5..อธิบายวธิ ีการกําหนดความหยาบละเอียด 13.บอกขอควรระวังในการใชเ คร่ืองเลือ่ ยกลแบบชกั ของฟนเลอ่ื ยกลแบบชกั 6.อธิบายวธิ การเลือกใชใ บเล่ือยกลแบบชกั 14.บอกความปลอดภยั ในการใชเ คร่อื งเลือ่ ยกลแบบชกั ใหเหมาะสมกับชนดิ ของวสั ดุที่นํามาเลื่อย 7.อธบิ ายหนาทขี่ องมุมใบเล่ือยกลชัก 15.อธบิ ายเวธิ กี ารบาํ รุงรักษาเครือ่ งเล่ือยกลแบบชัก 8.อธบิ ายหนา ที่ของเคร่ืองเลอ่ื ย

เน้ือหาสาระ(content) 1.1 ความหมายของการเล่ือย การเลอ่ื ยเปน กรรมวธิ ีการตัดช้นิ งานโดยมวี ัตถปู ระสงคห ลายอยาง เชน การตดั แยก การบาก และการเซาะรอ ง เปนตน (ก)งานตดั แยก (ข) งานบวก (ค) งานเซาะรอง รูปที่ 1.1 ลกั ษณะของการเลอ่ื ย การเล่ือยแบงออกเปน 2 ชนิดคือ การเลื่อยดวยมือ (hand sawing) และการเลื่อยดวยเครอ่ื งเลื่อยกล(sawing machine) ซึง่ ในหนว ยนี้ จะกลา วถงึ เฉพาะการเลื่อยดวยเคร่อื งเลอ่ื ยกลเทา นนั่ 1.2 ชนดิ ของเครื่องเล่ือยกล เคร่ืองเล่อื ยกลท่ีใชใ นงานอตุ สาหกรรมจําแนกไดออกเปน 4 ชนดิ คือ เคร่ืองเลื่อยชกั (power hack saw) เคราองเล่ือยสายพานนอน (horizontal band saw) เคร่อื งเลื่อยสายพานตงั้ (vertical band saw) และเคร่ือง เลอ่ื ยวงเดือน (radius saw or circular saw) สําหรับในหนว ยนี้ จะกลา วถงึ เฉพาะเครือ่ งเลือ่ ยชักเพ่ือเปน พนื้ ฐานในการใชง านเทานนั้ (ก)เครอ่ื งเล่ือยชัก (ข)เครื่องเลอื่ ยวงเดือน (ค)เคร่ืองเล่ือยสายพานตัง้ (ง)เคร่ืองเลื่อยสายพานนอน รูปท่ี 1.2 ชนิดของเคร่ืองเล่ือยกล

1.3 เครอ่ื งเลือ่ ยกลแบบชกั เคร่อื งเลอื่ ยกลแบบชัก (power hack saw) เปนเคร่ืองเลื่อยกลท่นี ยิ มใชงานอยางแพรห ลาย ในการศึกษา ใชสาํ หรับเลือ่ ยช้ินงานทว่ั ๆ ไป ซ่งึ เลือ่ ยมอื ไดลําบาก กลไกการทาํ งานจะอาศยั คานโยก ไปดา นหนา แลว กดใบเลือ่ ยใหตดั เฉือนชนิ้ งาน และขนาดโยกกลบั จะยกใบเลื่อยขึ้นเลก็ นอย ไมมีการตัดเฉือน ช้ินงาน นอกจากนี้สามารถปรับระยะชักของใบเลือ่ ยและตงั้ ระยะการปดเครื่องมือเมื่อตัดชน้ิ งานขาดได 1.3.1 โครงเลื่อย โครงเล่อื ย (saw frame) ทาํ ดวยเหล็กหลอและเหล็กเหนยี ว ใชสําหรับยดึ ใสใบเลือ่ ย โครงเล่ือย มีลกั ษณะเหมือนตัวยูควา่ํ และจะเคลอ่ื นท่ีไป-มาในรองหางเหยยี่ วโดยการสงกาํ ลังจากลอเฟองดังรปู ที่ 1.3 1.3.2 ฐานเครือ่ ง ฐานเครอื่ ง (base) ทาํ จากเหล็กหลอ หรือเหลก็ เหนยี ว มีหนาท่ีรองรับสวนตาง ๆ ของเครอื่ ง เลอ่ื ยกลแบบชักทั้งหมด 1.3.3 ระบบสงกําลงั ระบบสงกําลงั (drive system) ของเครอ่ื งเลอื่ ยกลแบบชกั จะใชมอเตอรท ําหนา ทเ่ี ปนตน กําลงั ขับ โดยกระแสไฟฟา 220 โวลต หรือ 380 โวลต 1.3.4 ชดุ ปอนตดั ชุดปอ นตดั ของเครื่องเลื่อยกลแบบชักมี 2 ชนดิ คอื ชนิดท่ใี ชลกู ถวงนาํ้ หนกั และชนิดที่ใชร ะบบไฮดรอลิก รูปที่ 1.3 สว นประกอบของเครอื่ งเลื่อยกลแบบชัก

1.3.5 ปากกาจบั ช้ินงาน ปากกาจบั ชิน้ งาน (vise) ของเครื่องเล่ือยกลแบบชักแบงออกเปน 2 สว น คอื ปากกาดานคงท่ี ซ่ึงไมส ามารถเล่ือนไปมาไดและปากกาดา นเคลื่อนท่ีได นอกจากนป้ี ากกาของเครอื่ งเล่ือยกลแบบชกั ยงั สามารถจับช้ินงานเลือ่ ยตรงหรอื ปรับเอยี งเพ่ือตดั เฉยี งเปนมุมตาง ๆ ได รูปที่ 1.4 สวนประกอบของเครื่องเลื่อยชัก 1.4 ใบเลื่อย ใบเล่อื ยของเครื่องเล่อื ยกลแบบบชักทําหนา ที่ตัดเฉือนช้นิ งาน สวนมากผลิตจากโลหะผสมสูงหรอื เหลก็ กลา รอบสงู (high speed steel) ซึ่งมคี วามแข็งแตเปราะ ดงั น้ันการประกอบใบเลอ่ื ยเขากบั โครงเลื่อย จะตองประกอบใหถูกวธิ แี ละขนั สกรใู หใบเล่ือยตงึ พอประมาณ เพื่อปองกนั ไมใหใบเลื่อยหัก 1.4.1ความหยาบละเอียดของฟนใบเลื่อย ฟน ของใบเลื่อยกลแบบชักมีลกั ษณะเรยี งกนั และมีความหา งระหวา งยอดฟน เรยี กวา ระยะพิตช (pitch) ซ่ึง ระยะพติ ชน ีจ้ ะกําหนดความหยาบหรอื ละเอียดของฟนเลอื่ ย โดยนับจาํ นวนของฟนเล่ือย โดยนับจํานวนฟน ตอ ความยาว 1 น้วิ เชน ใบเล่อื ย 10 ฟน/น้วิ 14 ฟน/นิ้ว เปน ตน (ก)ระยะพิตชของฟน เล่ือย (ข) จํานวนฟน เลื่อยตอ ความยาว 1 นิ้ว รปู ท่ี 1.5 การกํากนดความหยาบละเอียดของฟนเลื่อย

ในการเลอื กใชใบเลื่อย ผปู ฏบิ ัติงานจะตองเลือกใหเหมาะสมกบั วัสดชุ ้ินงานดงั ตวั อยางในตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.1 การเลือกใบเลอื่ ยใหเหมาะสมกลั ปว สั ดุชิ้นงาน ฟน /นิว้ ชเ ลื่อย 14 16 18 น เชน ดีบกุ ทองแดง ตะกัว่ อะลมู ิเนยี ม พลาสติก เหล็กเหนียว เปน ตน 22 24 งปานกลาง เชน เหล็กหลอ เหล็กโครงสราง ทองเหลือง เปน ตน 32 งมาก เชน เหลก็ ทําเครอ่ื งมือ เหลก็ กลา เจือ เปน ตน 1.4.2ความยาวของใบเล่ือย การกาํ หนดความยาวใบเล่ือยนนี้ จะวัดระหวา งศูนยก ลางของรูเจาะที่ใชส าํ หรบั ประกอบ ใบเลอ่ื ยเขากบั โครงเลื่อย ความยาวใบเลอื่ ยที่นยิ มใชท ว่ั ไป เชน 450, 500, 600 มม. เปนตน รปู ที่ 1.6 การกาํ หนดความยาวของใบเลื่อย 1.4.3 การตัดเฉอื นวสั ดุของใบเลือ่ ย ในขณะทําการเล่อื ยช้ินงาน ฟนเล่ือยจะทําหนา ทตี่ ัดเฉือนวัสดุโดยอาศัยคนั โยกเปน กลไก การทํางานของเครื่องเล่อื ยชัก เพื่อดนั ใบเล่ือยใหเ คล่อื นท่ีไปดา นหนา แลว กดใบเลื่อยใหตดั เฉอื นชน้ิ งาน และขณะโยกกลับกจ็ ะโยกกลับกจ็ ะยกใบเล่ือยขึ้นเลก็ นอย ไมมีการตัดเฉือนชน้ิ งาน รปู ที่ 1.7 หลกั การทํางานของใบเลื่อยกลแบบชัก

1.4.4 มุมของฟน เล่อื ย ในขนะเลอื่ ยช้นิ งาน ฟน เล่ือยจะทําหนาทต่ี ดั เฉอื นและคายเศษวสั ดุ โดยท่เี ศษวัสดุอยูในรอ งฟน เลื่อยและหลุดออกไปตามคลองเลือ่ ย ดังน้นั ในการผลิตใบเล่ือยจึงประกอบดว ยมุมตา ง ๆ ดังน้ี รปู ท่ี 1.8 มมุ ของใบเลื่อย 1.มมุ ล่ิม (B) เปนมุมทีท่ ําหนา ทข่ี ดุ ตดั และเขาปะทะกบั เน้ือชิน้ งานโดยตรง ถามุมล้ิมมมี าก ชน้ิ งานเพยี งจดุ เดียวและทาํ ใหส วนอื่น ๆ ของฟนเลอ่ื ยไมเสยี ดสกี ับผวิ ของวัสดุชิ้นงาน 2. มมุ หลบหรือมุมฟรี (a) เปน มุมทชี่ ว ยใหฟ นเล่ือยลดการเสยี ดสกี บั ช้นิ งาน โดยใหคมฟนเลื่อยตัด ชิ้นงานเพียงจดุ เดยี วและทําใหส ว นอน่ื ๆ ของฟนเลื่อยไมเสียดสกี บั ผวิ ของวสั ดุชนิ้ งาน 3. มมุ คาย (y) เปน มมุ ท่ีทําหนา ทคี่ ายเศษและชว ยใหใ บเล่อื ยคายเศษออกไดงา ยขน้ึ 4. มุมตดั เปนการรวมกันของมมุ หลบกับมุมลิม่ (b+a) ซึง่ มมุ นี้จะทําใหใบเลอ่ื ยเกดิ การตัดเน้อื ชิน้ งาน ในการเลือกใชมมุ ของใบเล่อื ยน้จี ะตอ งใหเหมาะสมกับวสั ดุช้ินงานดังตวั อยางที่ 2.2 ตารางท่ี2.2 การเลือกใชม ุมใบเลอื่ ยใหเ หมาะสมกับวัสดุชน้ิ งาน

1.4.5 คลองเลื่อย ในขณะปฏบิ ตั ิงานเล่ือย ใบเล่ือยทตี่ ิด แนนอยูในรองจะเกิดการเสยี ดสกี ับผิวชน้ิ งาน ในขณะเคลื่อนทไ่ี ป-กลบั ทําใหเกิดความรอนและ อาจทําใหใ บเลื่อยหักได ดงั น้นั ใบเลื่อยจงึ มกี ารจดั ฟนเพ่ือใหเกดิ คลองเล่อื ยในขณะเลือ่ ยชน้ิ งานและ ลดแรงเสียดทานขณะเลือ่ ย โดยเมื่อจัดฟน แลวจะทาํ ใหฟน เล่ือยกวา งกวา ใบเล่ือย ซ่ึงเรียกวา คลองเลือ่ ย การจดั ฟนเล่อื ยมีอยู 3 แบบ คือ แบบคลน่ื แบบตรง และแบบสลบั โดยที่แบบสลับน้ีใชส ําหรับใบเลอื่ ยกล สวนแบบคลืน่ และแบบตรงจะใชส าํ หรับใบเลื่อยมือ 1.5 หลักการทาํ งานดว ยเคร่ืองเลอ่ื ยกลแบบชัก 1.5.1 การจับยดึ ช้นิ งาน 1. การจับชน้ิ งานทมี่ ีรูปทรงแตกตา งกนั ช้ินงานท่มี ีรปู ทรงแตกตา งกันจะมีวิธีการจับยึด แตกตา งกนั ซ่ึงการใช ปากกาจับชน้ิ งาน ผูปฏบิ ัตงิ านตองคํานึงถงึ รูปรางหนาตดั ของชิ้นงานท่ีจะตดั เพอ่ื ให จับชิน้ งานไดม ่นั คง เพราะถา หากจบั ชนิ้ งานไมแนนพอแลว ชิน้ งานจะหลุดหรือเคลื่อนทเี่ ปน สาเหตใุ หเ กิด อนั ตราย และทําใหใบเลอ่ื ยหักได ตัวอยางการจบั ชน้ิ งานรูปทรงตาง ๆ แสดงไวในรูปที่ 1.10 รูปท่ี 1.10 การจับช้นิ งานรูปทรงตาง ๆ

2.การจับชน้ิ งานทส ้ันกวา ปากกา ในการจดชนิ้ งาน ในการจับช้นิ งานทม่ี คี วามยาวไมเ พยี งพอกบั ปากาจับชิน้ งาน ใหใชวัสดุทมี่ ีความกวา งเทากบั ชนิ้ งานเสริมเขาไปอกี ดานของช้นิ งานซ่ึงจะทําให จบั ชนิ้ งานไดหนาแนน และมัน่ คง ดังรูปท่ี1.11 รปู ท่1ี .11 การจบั ชนิ้ งานสน้ั โดยใชวัสดเุ สรมฺ อีกดานของปากกาจับชิ้นงาน รปู ท่ี 1.12 การจับชนิ้ งานส้ันโดยใชวัสดุเสริมอกี ดานของปากกาจบั ชน้ิ งาน 3. การตัดช้ินงานที่มคี วามยาวมาก ๆ ใหใชข าตั้งรองรับชิ้นงานเพ่ือใหไ ดระดบั เดยี วกับปากกาจับช้นิ งาน ของเครื่องเล่ือยกลแบบชกั

รูปที่ 1.13 การใชขาตั้งรองรับช้นิ งานท่มี ีความยาวมาก ๆ 4. การเร่ิมตนการเล่ือยชิ้นงาน ใหไดบ รรทัดเหลก็ ในการตัง้ ระยะของการตดั โดยวัดจากชิ้นงานทไี่ ดขนาด แลวตง้ั ขนาดและปรบั แขนต้ังระยะใหช นพอดีกับผวิ ชนิ้ งาน จากนน้ั จึงขันสกรูเพอื่ ล็อกใหแนน รูปที่ 1.14 การตั้งระยะช้นิ งานกอ นการตดั ดว ยบรรทัดเหล็ก 5. การตัดชนิ้ งานจํานวนมาก ๆ และมีความยาวเทากัน ใหใชอปุ กรณต ้ังระยะการตดั โดยใชชิน้ งานทตี่ ัดไดขนาด แลวตั้งขนาดและปรับแขนต้ังระยะใหชนพอดีกบั ผิวหนาช้นิ งาน จากนั้นจึงขนั สกรูเพ่ือจับใหแนน รูปที่1.15 การใชอ ุปกรณตง้ั ระยะสําหรบั ตัดช้นิ งานที่มีความยาวเทา กันเปน จํานวนมาก

1.5.2 การจับยึดใบเลื่อย การจบั ยึดใบเลอื่ ยเขากบั โครงของเคร่ืองเลื่อย ผปู ฏิบัติงานจะตอ งทราบทิศทางการเดินตดั ของเครือ่ งเล่ือยกลแบบซกั กอ น กลา วคอื ในการจบั ใบเลอ่ื ยทถ่ี กู ตองนนั้ จะตอ งใหฟน เลอ่ื ยเอียงไปในทศิ ทาง ท่เี ครอ่ื งเลอ่ื ยจะกดใบเลื่อยใหตดั เฉอื นชิ้นงาน หลงั จากประกอบยึดใบเลอ่ื ยแลว ใหขนั สกรูยดึ ใบเล่อื ยใหต งึ พอดี การตรวจสอบอาจกระทําไดโ ดยใชคอ นเคาะทใี่ บเลื่อยเบา ๆ ซงึ่ จะมีเสยี งดังกงั วาน หมายเหตุ : ความคมของรูสลัก (pin hole) ของใบเล่ือยจะกดั สลักจนเกิดชองวา งระหวา งสลักกบั รู ทาํ ใหม ีระยะหางมากขึ้นสงผลใหเ กดิ การคลอน และอาจเปนสาเหตุใหใบเล่ือยหักได ดงั น้ันจะตองมแี ผน ประกบกอ นใสส ลกั ในรูใบเลอ่ื ย 1.6 การเล่อื ยชิน้ งานดวยเครอื่ งเล่อื ยกลแบบชกั การใชเครอ่ื งเลอ่ื ยกลแบบชกั เพอ่ื ตดั ช้นิ งานมีข้นั ตอนดงั นี้ 1.6.1 ตรวจสอบความพรอมของเครื่องเล่ือยกลแบบชกั และอปุ กรณใหเรยี บรอย 1.6.2 ยกโครงเลอื่ ยคางไวก อนตดั ชิน้ งาน 1.6.3 จบั ยดึ ชน้ิ งานดว ยปากกาจบั ชน้ิ งานใหถูกตองตามรูปทรงของชิน้ งานโดยทยี่ ังไมขันแนนและ ใหส ามารถ เลอ่ื นไป-มาได 1.6.4 ปรบั โครงเลอ่ื ยลงใหฟ นของใบเล่ือยอยเู หนอื ช้ินงานประมาณ 25 มม. 1.6.5 ปรบั ตงั้ ระยะความยาวชน้ิ งานโดยใชบ รรทดั เหลก็ วดั ขนาดโครงเลื่อย 1.6.6จบั ยึดช้นิ งานดว ยปากกาจบั ชิน้ งานใหแนน และมน่ั คง 1.6.7 ปรับแขนต้ังระยะใหยาวเทา กับความยาวของชิ้นงาน 1.6.8 เปดสวิตชเ พอื่ ใหเครื่องเล่อื ยชกั ทํางาน

1.6.9 ปรับระบบปอ นตดั ไฮดรอลกิ ใหโ ครงเล่ือยเลอื่ นลงชา ๆ 1.6.10 ปรับทอนํา้ หลอเย็นใหน ํา้ ฉดี บริเวณคลองเลือ่ ยเพอื่ ชวยระบายความรอ น 1.6.11 รอจนกระท่ังเลอื่ ยตัดช้นิ งานขาดออกจากกนั 1.6.12 เม่ือชน้ิ งานขาดออกจากกนั แลวใหย กโครงเล่อื ยขึ้นดา นบน จากนัน้ ปดสวิตชแลว ทาํ ความ สะอาดเคร่ือง เลื่อยกลแบบซักใหส ะอาดเรียบรอ ย รูปท่ี 1.17 การปรับใบเล่อื ยใหห า งจากชิ้นงานประมาณ 25 มม. 1.7 ขอ ควรระวังในการใชเ คร่ืองเล่ือยกลแบบซัก 1.7.1 การขนั ใบเลอื่ ยจะตองใหมคี วามพึงพอดีและใหใ ชแผนประกบใบเล่ือยกอนขนั สลักดว ย 1.7.2 จบั ยึดช้นิ งานกบั ปากกาจบั ช้ินงานใหแนนและม่นั คงกอนเปดสวติ ชเคร่อื งทํางาน 1.7.3 การปอนลึกเพ่อื ตัดเลื่อยช้ินงานคร้ังแรกใหป อนชา ๆ จนกระทั่งใบเล่อื ยตัดเฉือนชนิ้ งาน เต็มหนา ชิ้นงาน แลวจึงปอ นลึกตามอัตราปอนทแี่ นะนําของใบเลื่อย 1.7.4 หยุดเครอื่ งทกุ ครัง้ ทวี่ ดั หรือปรบั เปลีย่ นชน้ิ งาน 1.7.5 หามจับช้ินงานเล่ือยท่ีมีความยาวงานนอยกวาความยาวปากของปากกาแตถา จาํ เปน จะตองใชว ัสดเุ สรมิ ของปากกาจับชิน้ งานอีกดาน 1.7.6 หลอเยน็ ชิ้นงานตามชนดิ ของวัสดทุ นี่ ํามาเลอื่ ย

1.8 ความปลอดภัยในการใชเครอ่ื งเล่อื ยกลแบบชกั เพ่ือความปลอดภยั ในการใชเ ครอ่ื งเล่ือยกลแบบชกั ผูปฏิบัตงิ านควรยึดถือปฏบิ ตั ดิ ังนี้ 1.8.1 กอนใชเครื่อง ควรตรวจสภาพความพรอมของเคร่ืองเลอื่ ยกลแบบชักทุกครัง้ 1.8.2 ตองจับชิ้นงานใหถกู ตองและมั่นคงกอนเลอื่ ย 1.8.3 กอ นเปด สวติ ชเดนิ เครื่องจะตองยกใบเล่ือยใหอยเู หนอื จากชิ้นงานประมาณ 25 มม. กอนทุกครง้ั 1.8.4 การปอนตดั ดว ยระบบไฮดรอลกิ มากเกินไปอาจทาํ ใหใบเลื่อยหัก ดงั นนั้ จงึ ตองระมดั ระวัง 1.8.5 วัสดุช้นิ งานประเภทเหลก็ หลอ ทองเหลือง ทองแดง และอะลูมเิ นยี ม ควรหลอเย็นใหถกู ตอง 1.8.6 ขณะเครอื่ งเล่ือยกลแบบชักกําลังตัดช้ินงาน หา มหมนุ ถอยปากกาจบั ชิน้ งานออกโดยเด็ดขาด 1.9 การบาํ รงุ รักษาเครือ่ งเลื่อยกลแบบชัก เคร่อื งเล่ือยกลแบบชักมวี ธิ กี ารบํารุงรกั ษาดังนี้ 1.9.1 หลังเลิกใชง านใหท าํ ความสะอาดและชโลมนํ้ามันบาง ๆ ตามชิ้นสวนทเี่ ปน เหลก็ เพือ่ ปองกนั 1.9.2 ควรเปลยี่ นถายนาํ้ มนั หลอเยน็ ทกุ สปั ดาห 1.9.3 หมน่ั ตรวจสภาพชน้ิ สวนของเครอ่ื งเลื่อยกลแบบชักและหยอดนํา้ มนั ตามจุดตาง ๆ ท่ีมกี าร เคลื่อนที่ของ ชิน้ สว นเหลาน้ัน

แบบฝกหัดหนวยที่ 1 เคร่อื งเลื่อยกลและงานเลอื่ ยกล คาํ ส่งั จงตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ 1.จงบอกชื่อและหนาทีข่ องเครื่องเลอ่ื ยกลแบบชกั ตามหมายเลขทกี่ ําหนดใหต อไปน้ี ( 5 คะแนน ) ชอื่ หนา ท่ี หมายเลข 1 .................................................................. ................................................................ หมายเลขที่ 2 ................................................................ ............................................................... หมายเลขที่ 3 ................................................................ ............................................................... หมายเลขท่ี 4 ................................................................ ............................................................... หมายเลขที่ 5 ................................................................ ............................................................... 2.จุดมุง หมายในการเลื่อยคืออะไร ( 2 คะแนน) .................................................................................................................................................... 3.เครือ่ งเลื่อยกลทใี่ ชในงานอุตสาหกรรมจาํ แนกออกไดเปน กี่ชนดิ และมีอะไรบาง ( 4 คะแนน) .................................................................................................................................................... 4.จงอธิบายวิธีการกําหนดความหยาบละเอียดของฟน เลือ่ ย (2 คะแนน) ...................................................................................................................................................

5.จงบอกชื่อและหนา ท่ีของมุมฟน เลื่อยทกี่ ําหนดใหตอไปน้ี (4คะแนน) ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................

แบบทดสอบหลังเรยี นหนว ยท่ี 1 เครือ่ งเลื่อยกลและงานเลอื่ ยกล คาํ สัง่ :จงเลอื กคําตอบท่ถี ูกตองทีส่ ุด 1. ขอ ใดคือลักษณะของงานเลอ่ื ย ก. การขดุ ชิ้นงานใหขาดจากกัน ข. การถากผวิ ชน้ิ งานใหราบเรียบ ค. การปรบั ผวิ งานใหราบเรียบ ง. ตดั แบงแยกชิ้นงาน 2. วัตถปุ ระสงคของการจัดฟน ใบเล่ือยคอื ขอ ใด ก. ลดแรงเสยี ดทานขณะเล่ือย ข. ความสวยงาม ค. ลดการสึกหรอของใบเลอ่ื ย ง. ทําใหฟนเลอ่ื ยแข็งแรงมากขน้ึ 3 ขนาดความยาวของใบเลื่อยมวี ิธีการตรวจสอบอยา งไร ก. วัดจากจุดศูนยกลางใบเล่อื ยดา นหนงึ่ ถงึ อกี ดานหนึ่ง ข. วดั จากปลายสดุ ของใบเลื่อยดานหนึ่งไปยงั ใบเลอื่ ยในดานตรงกนั ขา ม ค. วดั จากฟนเล่ือยฟน แรกถงึ ฟน เลื่อยฟน สุดทา ย ง. วัดระหวางปลายใบเลือ่ ยท้ังสองดาน 4. ความหยาบละเอียดของฟนเล่ือยมวี ิธีกําหนดอยางไร ก. จาํ นวนฟน เลื่อยตอความยาวใบเลือ่ ย ข. จํานวนฟน เลื่อยตอความยาวหน่ึงน้วิ ค. จาํ นวนฟน เลอื่ ยตอ ขนาดใบเลอ่ื ย ง. จํานวนฟน เลือ่ ยตอ ความกวางของใบเลอื่ ย

5. งานเคร่ืองมือกลเบ้ืองตน เครื่องเลอ่ื ยกลชนดิ ใดท่ีนยิ มใชต ามโรงงานทั่วไป ก.เครื่องเลื่อยกลแบบชัก ข.เครือ่ งเลื่อยกลแบบสายพานนอน ค.เคร่ืองเล่ือยกลแบบสายพานตัง้ ง. เครอ่ื งเลื่อยกลแบบวงเดือน 6. การตดั ช้นิ งานดวยเคร่อื งเล่ือยกลแบบชกั ควรใชเคร่ืองมือวัดชนดิ ใด ก. เวอรเนยี รคาลปิ เปอร ข. บรรทัดเหลก็ ค. ไมโครมิเตอร ง. ตลับเมตร 7. เครอื่ งเลอ่ื ยกลทใ่ี ชระบบปอนตัดแบบไฮดรอลิก ใชช ิ้นสว นใดเปนตัวปอนตัด ก. น้ํามนั ข.เฟอง ค. ลม ง.โครงเลื่อย 8. สว นประกอบใดของเคร่อื งเล่ือยกลแบบซักท่ีใชจ ับยดึ ใบเลอ่ื ย ก. การตัดช้ินงานตอ เน่ือง ข.ปากกาจับช้ินงาน ค.แขนต้ังระยะการตดั ง.โครงเล่ือย 9. ขอ ใดคอื ลักษณะการทํางานของเคร่ืองเล่ือยกลแบบชัก ก. การตัดชน้ิ งานตอ เน่อื ง ข. เล่ือยช้ินงาน 2 จังหวะ ค. จังหวะเล่อื ยชิน้ งานเปนวงกลม ง. เลื่อยชน้ิ งานจังหวะเดยี ว

10. สวนใดของเครอ่ื งเลื่อยกลแบบชักที่รบั นา้ํ หนกั ทัง้ หมดของเครอื่ ง ก. โครงเลอื่ ย ข. แขนต้ังระยะการตดั ค. ฐานเครอ่ื ง ง. ปากกาจบั ช้ินงาน 11. ฐานเครือ่ งเลือ่ ยกลแบบชกั ทาํ จากวสั ดใุ ด ก. อะลูมเิ นยี ม ข.เหล็กกลาผสม ค.เหลก็ เหนียว ง.เหล็กหลอ 12. เพราะเหตใุ ดจึงตองยกใบเล่ือยใหห างจากช้นิ งานประมาณ 25 มม. กอนเปดสวิตชเ ครอ่ื งทํางาน ก. เพือ่ ใหเครื่องเดินฟรี ข. เพ่อื ใหมชี อ งวางในการปรับปอ นช้ินงาน ค. เพอื่ ปองกันการกระแทกของใบเลื่อย ง. เพ่อื เปดนํ้าหลอเย็น 13. การเลื่อยชิ้นงานท่มี ีความยาวเทา ๆ กันหลายชิน้ ควรใชอ ุปกรณข อใดชวยในการเลือ่ ยชน้ิ งาน ก. ฐานเครอ่ื ง ข. แขนตง้ั ระยะ ค. ปากกาจบั ชิน้ งาน ง. โครงเลอื่ ย 14.ชน้ิ สวนใดของเครอ่ื งเล่อื ยกลแบบชักทสี่ ามารถปรับเอยี งเปนมุมได ก. แขนตงั้ ระยะการตัด ข. ฐานเคร่ือง ค. ปากกาจบั ช้ินงาน ง. โครงเลือ่ ย

15. ชนิ้ สวนใดของเครอื่ งเลื่อยชกั ท่ใี ชเปนตน กาํ ลงั ก. โครงเล่ือย ข. แขนตัง้ ระยะ ค. มอเตอร ง. ฐานเครอ่ื ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook