Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนวัฒนธรรมระดับอำเภอ 2565 (สวจ.อุทัยธานี)

แผนวัฒนธรรมระดับอำเภอ 2565 (สวจ.อุทัยธานี)

Published by culture_uthai, 2022-04-19 07:56:40

Description: แผนวัฒนธรรมระดับอำเภอ 2565 (สวจ.อุทัยธานี)

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ กระทรวงวัฒนธรรม มีภารกิจในการทํานุบํารุงศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมของชาติ บูรณาการศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมสูประชาชนและชุมชน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ท้ังระดับชุมชน ทองถิ่นชาติและนานาชาติดวยมิติทางวัฒนธรรม บูรณาการความรวมมือในการบริหารจัดการองคความรูและมรดก ศิลปวัฒนธรรมใหเกิดประโยชนแกสังคมไทยและสังคมโลก โดยตั้งอยูบนแนวคิดที่ใชวัฒนธรรมเปนยุทธศาสตรในการเสริมสรางความเขมแข็ง สรางจิตสํานึกคานิยม คุณธรรม และจรยิ ธรรมที่ดีงามของคนในชาติ ใชว ัฒนธรรมเปนทุนและพลังขับเคล่ือนในการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิต ใชวัฒนธรรมเปนปจจัยสําคัญในการ เสรมิ สรางความสามัคคแี ละสมานฉันทของคนในชาติและนานาชาติ โดยมีนักวิชาการวัฒนธรรมในฐานะผูแทนกระทรวงวัฒนธรรมเปนผูปฏิบัตงิ านในพื้นท่ีทั้งระดับอําเภอ และจังหวัด มีภารกิจในการสืบสาน รักษา ตอยอด วัฒนธรรมของชาติและความหลากหลายของวัฒนธรรมทองถิ่นใหคงอยูอยางม่ันคง สรางคานิยม จิตสํานึก และภูมปิ ญ ญา นาํ ทนุ วฒั นธรรมของทองถนิ่ มาสรา งคุณคา ทางสงั คมและเพม่ิ มลู คาทางเศรษฐกจิ และการบริหารจัดการองคความรูดานศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม “การจะพฒั นาชมุ ชนจาํ เปนตอ งใชม ิตทิ างวฒั นธรรม” ฉะนั้น ในแตละชุมชนมีประชาชนซ่ึงเปนเจาของวัฒนธรรมท่ีแทจริงอยูรวมกัน ไดประกอบกิจกรรม ทางวัฒนธรรมรวมกัน นําไปสูการพัฒนาวัฒนธรรมอยางสรางสรรคแ ละตอ เนื่อง การจะพัฒนาชุมชนจําเปนตองอาศัยพลังชุมชนอันเกิดจากการมีสวนรวมของประชาชน ซึ่งเปน เจาของวฒั นธรรม “รวมคดิ รวมทาํ ” จึงจะบงั เกิดผล รวมทง้ั ยังเปนการแลกเปลย่ี นวัฒนธรรม ภูมิปญญา ประวัตศิ าสตร ขนบธรรมเนียม ประเพณี สามารถนํามาใช ใหเกิดประโยชนในการพัฒนาหรือตอยอดทางวัฒนธรรม พรอมกับประชาชนในชุมชนยังไดรับประโยชน คือ ชมุ ชนไดรักษา ฟนฟู อนุรักษ ขนบธรรมเนียม ประเพณีของ ทอ งถิน่ มคี วามสมคั รสมานสามคั คี ความรวมมอื สงเสรมิ ใหช มุ ชน มคี วามเขมแขง็ นาํ องคค วามรูทเี่ ปนทุนทางวัฒนธรรมมาสรา งคณุ คา สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดอุทัยธานี หวังวาแผนชุมชนดานวัฒนธรรมระดับอําเภอ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.๒๕65 ฉบับน้ี จะเปนประโยชน ตอสวนราชการและผูศึกษาคนควานําไปปรับใช ดังวิสัยทัศนของกระทรวงวัฒนธรรม “ วัฒนธรรมและความคิดสรางสรรค มีบทบาทนําในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมไทย” สํานักงานวัฒนธรรมจงั หวัดอุทัยธานี

สารบญั หนา เรื่อง 2 2 1. อาํ เภอเมอื งอทุ ัยธานี 3 ประวตั ิความเปนมา 5 งานประเพณที โ่ี ดดเดน 7 บวร On Tour 8 แหลงเรยี นรทู างวฒั นธรรม 19 ปราชญชาวบา น วัด/ศาสนสถานที่ควรสกั การะขอพร 24 ขอมลู การขบั เคลอ่ื นงานดานประเพณี ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมในระดับทองถ่ิน 24 25 2. อาํ เภอทพั ทัน 26 ประวัติความเปนมา 27 งานประเพณีทโ่ี ดดเดน 28 บวร On Tour 32 แหลงเรียนรูทางวฒั นธรรม ผลติ ภณั ฑท างวัฒนธรรม (CPOT) วัด/ศาสนสถานทคี่ วรสักการะขอพร ขอ มูลการขบั เคลอื่ นงานดา นประเพณี ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมในระดบั ทองถ่นิ

เรอ่ื ง หนา 3. อาํ เภอลานสัก 36 ประวัติความเปน มา 36 งานประเพณีท่โี ดดเดน 37 ตลาดวัฒนธรรม 39 แหลงเรยี นรทู างวฒั นธรรม 40 ปราชญชาวบาน 43 ผลติ ภัณฑทางวฒั นธรรม (CPOT) 44 วดั /ศาสนสถานท่คี วรสกั การะขอพร 47 ขอ มลู การขับเคลื่อนงานดานประเพณี ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมในระดบั ทองถ่ิน 57 4. อาํ เภอสวา งอารมณ 57 ประวตั ิความเปน มา 57 งานประเพณที ี่โดดเดน 58 ปราชญช าวบาน 60 บวร On Tour 62 แหลง เรียนรทู างวฒั นธรรม 64 วัด/ศาสนสถานทค่ี วรสกั การะขอพร 67 ผลติ ภัณฑทางวฒั นธรรม (CPOT) ขอ มลู การขับเคลอื่ นงานดา นประเพณี ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมในระดบั ทองถิ่น

เร่อื ง หนา 5. อาํ เภอหนองฉาง 70 ประวัตคิ วามเปน มา 71 งานประเพณที ี่โดดเดน 71 บวร On Tour 73 แหลงเรียนรูทางวัฒนธรรม 75 ปราชญชาวบา น 77 วดั /ศาสนสถานที่ควรสกั การะขอพร 79 ขอ มูลการขับเคลื่อนงานดานประเพณี ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมในระดบั ทองถิ่น 86 6. อําเภอหนองขาหยา ง 86 ประวัติความเปน มา 87 งานประเพณีที่โดดเดน 90 บวร On Tour 91 เทีย่ วชุมชน ยลวิถี 92 แหลงเรยี นรูท างวัฒนธรรม 93 ผลติ ภณั ฑท างวฒั นธรรม (CPOT) 94 ปราชญชาวบาน 95 วัด/ศาสนสถานทีค่ วรสกั การะขอพร ขอ มลู การขับเคลื่อนงานดานประเพณี ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมในระดับทองถิ่น

เร่ือง หนา 7. อําเภอหว ยคต 102 ประวตั ิความเปนมา 102 งานประเพณีท่โี ดดเดน 103 บวร On Tour 108 แหลงเรยี นรูทางวัฒนธรรม 110 ขอ มลู การขบั เคลอ่ื นงานดา นประเพณี ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมในระดบั ทองถิน่ 114 8. อาํ เภอบา นไร 114 ประวตั คิ วามเปนมา 115 งานประเพณที ีโ่ ดดเดน 116 บวร On Tour 118 เทย่ี วชุมชน ยลวิถี 120 แหลงเรียนรูทางวฒั นธรรม 121 ผลติ ภณั ฑท างวฒั นธรรม (CPOT) 123 วัด/ศาสนสถานทคี่ วรสกั การะขอพร ขอ มลู การขบั เคล่ือนงานดานประเพณี ศาสนา ศลิ ปะและวัฒนธรรมในระดบั ทองถิ่น

อําเภอเมอื งอทุ ัยธานี พระพทุ ธมงคลศกั ดิ์สทิ ธ์ิ วถิ ชี วี ติ สะแกกรงั ผลติ ภณั ฑเ หลก็ กลาดี บุคลากรเดน วดั ดัง ๑

ประวตั ิความเปนมา เดิมคอื หมบู านสะแกกรัง สมัยสุโขทัยเรียก \"อูไทย\" หมายถึง ท่ีอยูของคนไทย เปนเมืองหนาดานสมัยกรุงศรีอยุธยา เปนสมรภูมิสําคัญในการขับไลพมา สมัยกรงุ ธนบรุ ี เมืองอูไ ทยยายมาตงั้ อยูที่บา นสะแกกรัง จนกลายเปน ชุมชนเตบิ โตถงึ ปจ จุบนั อน่งึ บา นสะแกกรังยังเปน ท่ีประสตู ขิ องพระราชบิดาของรัชกาลท่ี 1 มีพระบรม รูปของพระองคประดิษฐานในพลับพลาจัตุรมุขบนยอดเขาสะแกกรัง ในปจจุบันมีวัดสังกัสรัตนคีรี ตั้งอยูท่ีเชิงเขาสะแกกรัง ภายในวิหารเปนทป่ี ระดิษฐานพระพุทธมงคล ศักดสิ์ ทิ ธิ์เปน ระยะเวลานาน 214 ป (ทม่ี า : https://seeuthai.blogspot.com/2015/01/blog-post_19.html) งานประเพณที โี่ ดดเดน เดือนมกราคม ณ หา แยกวิทยุ เดือนเมษายน ณ วดั พิชยั ปรุ ณาราม ตักบาตรปใหม / ไหวขอพรปใหม เดือนกรกฎาคม ณ วัดมณีสถิตกปฎฐาราม , วัดอมฤตวารี ประเพณสี งกรานต เดอื นตลุ าคม ณ วัดสงั กัสรตั นครี ี ถวายเทยี นพรรษา เดอื นพฤศจิกายน ณ วัดอโุ ปสถาราม เทศกาลออกพรรษา เดอื นธันวาคม ณ วัดมณสี ถติ กปฎ ฐาราม , วดั อมฤตวารี ประเพณีลอยกระทง สวดมนตข ามป ๒

บวร On Tour ชุมชน บานนํา้ ตก ผปู ระสานงาน นายจําลอง ราชจนิ ดา สะพานแขวนเกาะเทโพ สะพานแขวนเกาะเทโพ เปน สะพานแขวนท่เี มอื่ กอนประชาชนจะใชสัญจรระหวางสองฝงแมน้ําเจา พระยาและแมน้ําสะแกกรงั โดยบรรยากาศรอบ ๆ ของสองขา งทางนั้นจะ เปน ปาไผและไรข า วโพด เหมาะในการปน จักรยานออกกําลังกายในชว งเย็น ๓

ชุมชนคุณธรรมบานภมู ิธรรม ผูประสานงาน นายสุรชาติ โตกระสินวติ ร วัดภมู ิธรรม วัดภูมิธรรม ต้ังอยหู มทู ี่ ๓ ตําบลสะแกกรงั อําเภอเมืองอุทัยธานี พืน้ ท่ตี ้ังวัดเปนทล่ี มุ อยูริมแมน ้ําสะแกกรงั สรางขึ้นตั้งแต พ.ศ.๒๔๖๕ เดิมเรยี ก “วัดใหมภูมิสถาราม” ไดเปล่ียนเปน “วัดภมู ธิ รรม” ในป พ.ศ.๒๔๘๒ ชาวบา นเรียก “วัดวงั กระทะ” มีพระพุทธรปู ที่สรางหันหลังใหกบั แมน า้ํ (ซึ่งสว นใหญพ ระทีว่ ัดติดแมน้ํามักจะสรา งหนั หนา เขาหาแมนํา้ ) ๔

แหลง เรียนรทู างวัฒนธรรม พพิ ธิ ภัณฑประวัตศิ าสตรแ ละวฒั นธรรมทองถนิ่ อทุ ัยธานี ไมเ พียงความคลาสสิกของอาคารไมสองช้ันอายุกวา ๘๐ ป สีเขียวออนหลังนที้ ี่สามารถเรียกความสนใจของผูพบเห็นไดเทาน้ัน หากภายในยังจุเร่ืองราว นาสนใจตาง ๆ ของอุทยั ธานีใหคุณไดเรียนรอู ยางเต็มอิ่ม โดยผานการจัดแสดงนิทรรศการและขาวของชิ้นสําคัญในหองตาง ๆ ถึง ๙ หองดวยกัน ไดแก หองบุคคลสําคัญ ของจังหวัด หองอาชีพของชาวอุทัยฯ หองอนุรักษปาไม หองวิวัฒนาการทางเทคโนโลยี หองอุทัยธานียุคกอนประวัติศาสตร หองศิลปวัฒนธรรม หองอุทัยธานีในอดีต หองผาทอเมืองอุทัยฯ และหองแนะนําแหลงทองเท่ียวจังหวัดอุทัยธานี ท่ีต้ัง : ตั้งอยูที่ศูนยการศึกษานอกโรงเรียน ถนนศรีอุทัย ตรงขามการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) ๕

\"ฮกแซตง๊ึ \" รานขายยาเกาแกซงึ่ ต้งั อยูก ลางเมอื งอุทยั ธานี ซ่ึงแตเดิมแถบนี้เปนที่ตั้งของโรงเจ \"เลงเนย ยี่\" ซ่ึงเขามาต้งั เพื่อวัตถุประสงคในการเผยแผศาสนา เม่ือมีประชาชนเขามาสักการะเจาแมกวนอิม และไหวพระที่ตั้งประดิษฐานภายในโรงเจ จึงจําเปนท่ีจะตองมรี านขายยาเพ่ือเล้ียงดูสมาชิกและผูที่มาโรงเจ ฮกแซต๊ึง จึงถือ กําเนิดขึ้นมา( \"ฮก\" แปลวาผูมีบุญ \"แซ\"หมายถึงการเกิด \"ต๊ึง\"แปลวาสถานที่หรือชุมชน เม่ือรวมกันจึงหมายถึงการเกิด ที่มีบุญ) พรอมทําหนาที่เสมือนโรงทาน เพราะเวลา ท่ีผูยากไรมาตรวจรักษาก็จะบริการใหฟรี สวนผูท่ีพอมีฐานะร่ํารวยกวาหนอยจึงจะเก็บเงินตามสภาพ ในชวงที่มีชาวจีนหนีภัยแลงมาจากเมืองจีน จะมาข้ึนเรือท่ีบางรัก จากบางรกั กม็ าข้ึนเรือเทียบทาอีกครั้งท่ีอุทัยธานี ซึ่งทา เทยี บเรือท่ีวานกี้ ็จะอยูใกลๆ กับโรงเจ เลงเนยยี่ เม่ือข้ึนจากทา มา แนนอนวายังไมมีงานทํา ยังไมมีที่นอน ก็จะมา อาศัยอยูท่ีฮกแซตึ๊งแหงนี้เพราะที่นี่จะมีอาหารเล้ียงครบ 3 มื้อ ชวยกันทํางานทั้งภายในโรงเจและฮกแซต๊ึง เมื่อไดงานก็คอยออกไปประกอบอาชีพสวนตัว ในประเพณี งานบุญ งานกนิ เจตางๆ ที่แหงนี้จะใชเ ปน แหลง ชุมนุมของชาวจีนในจังหวัด ยานนจ้ี งึ ถกู ขนานนามวา \"ชุมชนชาวจีนแหงลุมแมน้ําสะแกกรัง\" ในยามปกตินอกจากใชเปนราน ขายยาและรักษาผูปวยแลว กย็ งั ใชเ ปนทน่ี งั่ สังสรรคจ บิ น้ําชากนั ณ ฮกแซตง๊ึ แหง น้สี ันนษิ ฐานวาถูก สรา งโดยผกู อต้ังวัดและโรงเจเลงเนยยี่ในสมัยรัชกาลที่ 6 (ปจจุบัน ผูถือ กรรมสิทธค์ิ อื รานวัฒนไพศาล) ๖

ภายในฮกแซต๊ึงแหงน้ีมีลักษณะเปนเรอื นไม 2 ช้ัน ซึ่งเมื่อเดินเขาไปในรานจะตองสะดุดตากับปายราน ที่เขียนเปนเปนภาษาไทยไววา \"ย่ีหอฮกแซต๊ึง ขายยาจีน ยาฝรั่งยาตางๆ\" สวนหนารานจะเปนสถานท่ีเก็บยามีลิ้นชักยามากมาย นอกจากน้ียังมีบันไดขึ้นไปยังช้ัน 2 ท้ังซายและขวา โดยท่ีช้ัน 2 จะมหี องโถงกลาง ซ่งึ ปจจบุ นั จะมีตูเก็บยาเกา ที่หายากเก็บไว ดานซายมือจะใชเปนหองพักผปู วย ทุกวันนี้ยังมีเตียงนอนของผูปว ยต้ังไวเชน เดิม หลงั หองพักผปู วยจะเปนหองเก็บยาขนาดใหญ ตงั้ เรียงรายอยบู รรจุในปบยา มชี ่อื ยาเขยี นบอกไวเ ปนภาษาไทยและจีนอยางเชน พระยาสตั บรร หวั พุทธรกั ษา หวั สมกยุ เปน ตน สําหรับสาเหตุของการปดตัวของรานขายยาฮกแซต๊ึงนน้ั อันเน่ืองมาจากในตอนหลังทเี่ ปดรานขายยา บรรดาพวกสมาชิกที่เช่ียวชาญแลว ก็ไมอยากเปน ลูกมอื อีกตอไป ออกไปเปดรา นเองเม่ือมีหลายเจามากข้ึน รวมถึงกระแสของรานขายยาสมัยใหมท่ีเพ่ิมจํานวนมากขึ้นเร่ือยๆ สุดทายก็ทําใหฮกแซตึ๊งตองปดตัวเองไปโดย ปรยิ าย ปราชญช าวบา น ชื่อ – สกลุ นายฉลอง ซังบนิ ช่อื – สกลุ นายเกยี รติศกั ดิ์ ศรแี จม 1. ดานสานเสวียน,กอเจดยี ท ราย,ผูกผา ประดับตกแตง ชือ่ – สกุล นายประหยดั วรเวท 2. ดานแทงหยวกกลว ยประดับตกแตง ช่ือ – สกุล นายยพุ าภรณ จวงอินทร 3. ดา นหัตถกรรมงาชาง,มีด,กรรไกร,หัวเข็มขดั 4. ดานการทําขนมไทย ๗

วดั /ศาสนสถานท่คี วรสักการะขอพร 1. วัดสังกดั รัตนคีรี หมูบานสะแกกรัง สมัยสุโขทัย เรียกวาอูไทย หมายถึงที่อยูของคนไทย เปนเมืองหนาดานสมัยกรุงศรีอยุธยาเปนสมรภูมิสําคัญ ในการขบั ไลพมาสมัยกรงุ ธนบุรี ยายเมืองอไู ทยมาไวท่บี านสะแกกรงั จนกลายเปนชุมชนเตบิ โตถึงปจ จุบันพ.ศ. 2335 - 2342 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬา โลกมหาราช โปรดเกลาฯ ใหนําพระพุทธรูปขนาดยอมที่ชํารุดไปไวตามหัวเมืองตางๆ เมืองอุทัยธานีไดรับ 3 องค พระพุทธรูป องคที่ 1 นํามาประดิษฐาน ไวที่วดั ขวิดเปนพระพทุ ธรปู ขนาดใหญเปนพระเนอื้ ทองสําริด ปางมารวชิ ัย หนาตักกวาง 3 ศอก สรา งในสมัยพระมหาธรรมราชาท่ี 1 ฝมือชางสุโขทัยยุคมีสวนเศียรกับสวน องคพ ระเปนคนละองค เขา ใจวาคงซอมเปนองคเดียวกันกอนนาํ มาไวท่ีเมอื งอุทัยธานี ตอมาเม่ือยุบวัดขวิดไปรวมกับวัดทุงแกว จึงไดยายพระพุทธรูปองคนีไ้ ปไวท่ี วดั สังกัส รัตนคีรี และไดบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไวในพระเศยี รพรอมกับถวายนามวา พระพุทธมงคลศักด์ิสิทธิ์สรา งมาแลวนาน 214 ป ภายในวิหารเปนที่ประดิษฐาน พระพุทธ มงคลศักด์ิสิทธิ์ เปนปูชนียวัตถุท่ีประชาชนใหความศรัทธาและศักดิ์สิทธ์ิ ซ่ึงเปนพระพุทธรูปคูบานคูเมืองอุทัยธานเี นื่องจากเมื่อยุบวัดขวิดไปรวมกับวัดทุงแกว จึงไดยาย พระพุทธรูปพระพทุ ธมงคลศกั ดสิ์ ิทธ์ิไปไวท่วี ัดสงั กสั รัตนครี ี และไดทําพธิ ีบรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุไวในพระเศียรของพระพทุ ธมงคลศักด์ิสิทธ์ิ ในวันแรม 1 คํา่ เดอื น 11 ๘



2.วัดอุโปสถาราม เดิมชื่อวัดโบสถมโนรมย ชาวบานเรยี กวาวัดโบสถ เปนวัดเกาแกอยูริมลํานํ้าสะแกกรงั ในเขตเทศบาลเมอื ง จากตลาดสดเทศบาล มีสะพานขามแมน้ําไปยังวัดอุโบสถาราม ซึ่งต้ังอยูบนฝงตะวันออกของแมนํ้าเปนวัดเกาแกริมลําน้ําสะแกกรังที่รูจักกันดีในช่ือวา \"วัดโบสถมโนรมย\" และชาวบานพากัน เรียกวา \"วัดโบสถ\" มาถึงวัดนี้แลว นอกจากการไดสัมผัสบรรยากาศริมน้ําสะแกกรังทน่ี าหลงใหลแลว ยังจะไดยอนเวลากลับไปหาอดตี ผานส่ิงของตาง ๆ มากมาย ทีเ่ ก็บ รกั ษาไวในวัดแหงน้ีนาชม จิตรกรรมฝาผนังในโบสถและวิหาร ซ่ึงเปนภาพเขียนสมัยรัตนโกสินทรตอนตน โดยเปนภาพพุทธประวัติเริ่มตัง้ แตประสูตจิ นถึงปรินิพพานที่วาด ขน้ึ ดวยฝม อื ประณตี มาก ในวิหารยงั พบภาพพระพทุ ธเจาเสดจ็ โปรดเทพยดาบนสวรรคและภาพปลงสงั ขาร ดา นบนฝาผนังเปนพระสงฆสาวกชุมนุมสลับกับ พัดยศเหมือนจะ ไหวพระประธานภายใน สวนฝาผนังดานนอกหนาวิหารมีภาพถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจา และภาพชีวิตชาวบานท่ีเกี่ยวกับพุทธศาสนา เสมาหนิ สแี ดงหนา โบสถที่มีความเกา แกมากแหง หนง่ึ ตูพระธรรมและตูใ สข องเขียนลายกนกเถาลายดอกไม และหงสยอดเสาทม่ี ีความงดงาม ไมแพกัน บาตรฝาประดับมุก ทไ่ี ดร ับพระราชทานจากรชั กาลที่ 5 ซง่ึ เปน ฝมือชางสบิ หมู มณฑปแปดเหล่ียม ลักษณะผสมแบบตะวันตก มีลายปูนปน คลายไมเล้ือยท่ีกรอบหนาตาง และมีพระพุทธรูปปูน สลกั นูนสงู อยดู านนอกอาคาร เจดยี หกเหลีย่ ม เจดยี ยอมุมไม สบิ สองทรงรตั นโกสินทร หอประชุมอุทยั พุทธสภามีลักษณะเปนศาลาทรงไทย ทนี่ ี่ใชเปนหอสวดมนต หนาบัน ประดับลวดลายปูนปน สวยงามนา ชม แพโบสถน้ําซึ่งต้ังอยูหนาวัด สรางข้ึนเพื่อรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เมื่อคร้ังเสด็จประพาสมณฑลฝายเหนือใน พ.ศ. 2449 เดิมเปนแพแฝด 2 หลัง มีชอฟา ใบระกา เหมือนอุโบสถทั่วไป หนาบันมีปายวงกลมจารึกภาษาบาลี \"สุ อาคต เต มหาราช\" แปลวา มหาราชเสด็จฯ มาดี ตอมาใน พ.ศ. 2519 ไดซ อมแซมบรู ณะใหมใหเปนหลังเดยี วแลวยกพน้ื 2 ช้นั มีหลังคาทรงปน หยา และยายปายกลมมาไวหนาจั่วตรงกลาง โดยแพโบสถน้ําหลงั น้ี มักใชประกอบพิธี ทางศาสนา เชน งานแตง งาน บวชนาค งานศพและงานบุญตาง ๆ ท่ีสําคัญ ๑๐

๑๑

3. วัดจนั ทาราม (ทาซงุ ) เดิมเปนวัดท่ีสรางในสมัยอยุธยา มีโบสถขนาดเล็ก ภายในมีจิตรกรรมฝาผนังฝมอื ชางพ้ืนบานเขาใจวาเขียนในสมัยหลงั เปน เร่ืองพุทธประวัติ บางภาพตอเติมจนผดิ สวน วัดทาซงุ เปนวัดเกาแกท่ีสรางขึ้นมาตั้งแตส มัยอยุธยา ทุกวันน้ีเรายังคงเห็นวิหารขนาดเล็กเปนประจักษพยานน้ัน ซึ่งภายในมี ภาพจิตรกรรมฝาผนังภาพพุทธประวัติฝมือชางพ้ืนบานที่สันนิษฐานวานาจะเขียนข้ึนในภายหลัง รวมทั้งธรรมาสนท ่ีหลวงพอใหญ ผูบูรณะวัดแหง น้ีในสมัยตนรัตนโกสินทร อยา งไรกต็ าม วัดทาซงุ ไดร ับการพฒั นาขน้ึ มากมาย โดยพระราชพรหมยาน (หลวงพอฤๅษีลิงดํา) พระเถระผูมีชื่อเสียง และมีคณุ ูปการตอวัดแหงน้ี ทานไดสรางอาคารตา ง ๆ เชน พระอุโบสถหลังใหมที่ภายในตกแตงอยางวิจิตรงดงาม มีบานหนาตางและประตูดานในเขียนภาพเทวดา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพระราชดําเนิน มาตัด ลกู นมิ ติ พระอโุ บสถแหง นี้ และบริเวณโดยรอบยงั มกี ารสรา งกาํ แพงแกว มรี ูปหลอหลวงพอปาน และหลวงพอใหญขนาด 3 เทาอยตู รงมมุ กําแพงดานหนา มีวิหารแกวอันเปน ที่ประดิษฐานพระพุทธชินราชจําลอง และสรีระของหลวงพอฤๅษีลิงดําที่ไมเนาเปอย นอกจากน้ีไฮไลตที่นาชมของวัดทาซุงคือ ปราสาททองคํา ซึ่งไดรับการตกแตง ดว ยทองคําตระการตา มคี วามประณีตงดงาม โดยสรางขึ้นเพื่อถวายเปนพระราชกุศลแดพ ระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในวาระท่ีทรงเสวยราชยเปนปท่ี 50 และทางสํานัก พระราชวังไดตง้ั ช่ือปราสาททองคําใหมวา \"ปราสาททองกาญจนาภิเษก\" อยางไรก็ตาม ไมเพียงเปนสถานท่ีทองเท่ียวท่ีสําคัญของจังหวัดเทาน้ัน วัดทาซุงยังเปนสถานที่ สําหรับปฏิบัตธิ รรม ซ่ึงมีศาลาหลายหลังสําหรับฝกสมาธิและมีทพ่ี ักใหกับอุบาสกอุบาสิกาที่สนใจ ทิปสทองเท่ียว สถานท่ีตาง ๆ ในวัดทา ซุงคอนขางอยูไกลกัน ตองอาศัย พาหนะพาชมจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหน่ึง ซ่ึงสําหรับคนท่ีไมไดขับรถยนตมาเอง ทางวัดมีบริการรถราง รวมทั้งรถสามลอของชาวบานที่พาเท่ียวชมในราคายอมเยา อาคารตาง ๆ ภายในวดั ทาซงุ มีเวลาเปด-ปดท่แี บง เปน ชวงเชา-บาย ควรตรวจสอบเวลาลวงหนา ๑๒

4. ศาลพระนางอทุ ยั เทวศี รีเสาวภาคย ตัง้ อยรู ิมแมนํ้าสะแกกรัง ดา นหลงั สํานกั งานวัฒนธรรมจังหวดั อทุ ยั ธานี ศาลพระนางอุทยั เทวศี รีเสาวภาคย ไดร ับความเคารพศรทั ธาจากขาราชการ/เจา หนา ทสี่ าํ นักงานวัฒนธรรมจังหวัดอุทยั ธานเี ปน อนั มาก โดยบุคลากรนําของ มาสักการะเปน ประจาํ บางคนไหวท ุกวันพระ บางคนไหวทกุ วนั จนั ทร หรอื ตามวันที่สะดวก และยังมีบุคลากรจากสวนราชการอื่น และประชาชนท่ัวไปแวะเวียนมาสักการะ ขอพรอยูอยางตอเนอ่ื ง ๑๓

ในปพ .ศ. 2565 นายพจน สีเขม ประธานสภาวัฒนธรรมจงั หวดั อทุ ยั ธานี (อดตี วัฒนธรรมจังหวดั อทุ ัยธานี) ระหวางวันที่ 22 พฤศจิกายน 2545 – 12 ธันวาคม 2553 และ วันท่ี 20 ตลุ าคม 2557 – 30 กันยายน 2561) ไดเลาเหตุการณท่ที ําใหไดพบเจอศาล ,รับรูประวัติความเปนมาและปรากฏการณท่ีทําใหเกิดความเคารพ ศรัทธาตอพระนางอทุ ัยเทวศี รเี สาวภาคย โดยเลาวาเม่ือวันท่ี 2 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ไดมีพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ซ่ึงกาํ หนดใหมีกระทรวงวัฒนธรรมข้ึน และในสว นภูมิภาคใหจัดต้ังใหจัดต้ังสํานกั งานวัฒนธรรมจังหวัดดว ย ในคร้ัง น้นั นายพจน สเี ขม ไดร ับการแตง ต้งั ใหเปนหวั หนา สาํ นกั งานวัฒนธรรมจังหวัดอุทัยธานีคนแรก แตไมมที ี่ทําการของ สํานักงาน ระหวางน้ันตนเองจึงไดไปติดตอประสานงานกับทางสํานักงานจังหวัดเพื่อขอใชหองของศาลากลาง จงั หวัดท้งั หลังใหมแ ละหลังเกา เปน ทีท่ าํ การปรากฏวาไมม ีหองวาง จึงพยายามแสวงหาสถานที่อื่นดวย เชน อาคาร ธรรมสภาของวัดมณีสถิตกปฏฐาราม , อาคารท่ีทาํ การของสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเมืองอุทัยธานี (อยูติดกับจวนผูวาราชการจังหวัดอุทัยธานี) แตไมประสบ ผลสําเร็จในการขอใช แตแลวมีส่ิงท่ีนาแปลกใจเกิดข้ึนคือมีหัวหนาฝายคนหน่ึงของสํานักงานจังหวัดอุทัยธานี ไดมาบอกวาเห็นหัวหนากําลังหาสถานที่เปนท่ีทําการ ของสํานักงานฯ อยู ตอนนี้มีอาคารสโมสรขาราชการ(เดมิ ) ที่ต้ังอยูริมแมนํ้าสะแกกรังอยูตรงขามสถานีตํารวจภูธรเมืองอุทัยธานี ติดกับสํานักงานโยธาธิการและผังเมือง จังหวัดอุทัยธานี ซ่ึงเดิมสํานักงานอัยการจังหวัดเคยใชเปนท่ีทําการและยายออกไปหลายปแลว ทําใหอาคารวางอยูไมมีใครใช และบอกอีกวา “ผมกระซิบบอกหัวหนา คนเดยี วเลยนะ ไมเคยบอกใครมากอนเลย” นายพจน สีเขม เลาตออีกวา ดีใจมากหลังจากรับทราบขอมูลแลววา อาคารสโมสรขาราชการดังกลาว ยังไมมีหนว ยงานใดใชเปนที่ทําการของสํานักงาน ตอ มา ในชว งเดอื นมิถนุ ายน 2546 ซึ่งเปนวันหยุดราชการ ตนไดช วนภรรยาเดนิ ทางไปยังอาคารสโมสรขาราชการเพ่ือสํารวจอาคารและพื้นที่เพื่อปรับปรุงเปนทีท่ ําการสํานักงาน วัฒนธรรมจังหวัดอุทัยธานี เมื่อไปถึงพบวาบริเวณดังกลาวมีสภาพเปนปารกชัฏ มีทางเดินเปนชองเล็กๆ สามารถเดินเขาไปไดระหวางเดินเขาไปมีผูหญิงสองคนแตงกาย ดวยชุดไทย หมสไบเดินสวนออกมา จึงไดสอบถามวามาทําอะไรกัน ท้ังคูตอบวามาไหวศาลพระนางอุทัยเทวี และเดินจากไปตนเองจึงมองเขาไปตามท่ีผูหญิงท้ังสอง เดินออกมาแตก็ไมเห็นอะไร แตก็เปนคร้ังแรกที่ไดทราบวามีศาลพระนางอุทัยเทวีต้ังอยูบริเวณน้ี หลังจากน้ันไดชวนภรรยาเพื่อเดินตอเขาไปขางใน ขณะที่กําลังจะเดิน ภรรยาของตนไดหันกลับไปมองดูวา ผูหญิงทั้งสองคนจะไปทางไหนแตกลับมองไมเห็นตัวผูหญิงท้ังสองคนนั้นแลว ทั้งๆ ที่ขณะนน้ั เปนเวลากลางวันและถนนที่โลงอีกดว ย จงึ ไดย กมือไหวบ อกกลา ววาถาเจาที่เจาทางไมข ัดขอ งท่ีจะมาขออยูท่ีนี่ดวยพอพุดจบก็มีงูตัวใหญยาวเลื้อยผานหนาไปอยางชาๆ ซ่ึงหลังจากน้ันกระทรวงวัฒนธรรมไดอนมุ ัติ งบประมาณมาใหสําหรบั ซอ มแซมปรับปรุงอาคารสโมสรขาราชการ(เดมิ ) พื้นที่โดยรอบอาคาร และตอมาผูวาราชการจังหวัดอุทัยธานี ไดอนญุ าตใหใชพื้นท่ีบรเิ วณดังกลาว ในพนื้ ที่ 1 ไร เปนทที่ าํ การของสาํ นักงานวฒั นธรรมจังหงวัดอุทัยธานี โดยขาราชการเริ่มเขามาปฏิบัติงานตง้ั แตวันที่ 23 กรกฎาคม 2546เปนตนไป และอยูอยางปกตสิ ขุ เรือ่ ยมา ๑๔

ตอ มาในป พ.ศ. 2551 ไดมีการซอมปรับปรุงอาคารหองประชุมและพื้นที่โดยรอบรวมถึงบริเวณที่ตั้งศาลพระนางอุทัยเทวี โดยกอนซอมปรับปรุงไดน ิมนตพระ มาทําพิธีถอนศาลและทาํ ใหชางรื้อถอนศาลซึ่งมีลักษณะขนาดเล็กแบบเสาเดียวสีเขียวออกไปกองไวใตตนมะมวงท่ีอยูดานหนาสํานักงานฯ เพ่ือรอใหชางปรับปรุงอาคาร และสถานที่เสรจ็ เรียบรอยกอนแลวจึงจะจดั หาศาลหลงั ใหมมาตัง้ ใหอกี ครง้ั หนึง่ ซง่ึ ในระหวางท่ีทําการซอ มปรบั ปรุงอยูน้ันกินเวลาหลายเดอื น ไดมีบุตร หลาน ของพนักงาน รกั ษาความปลอดภัย และพนักงานทําความสะอาดมาวิ่งเลนที่ใตตนมะมวงทศี่ าลวางอยูเปนประจําตอมาไมนานเด็กดงั กลาวทั้งสองคน มอี าการเปนไข ตวั รอนโดยไมทราบ สาเหตุ พอ แมพาไปหาหมอรักษาก็ไมหาย มอี าการแบบน้ีอยูเปนเดือน และนอกจากน้ีพนักงานรักษาความปลอดภัย และเจาหนาท่ีการเงินของสํานักงานวัฒนธรรมจังหวดั อทุ ัยธานที ่ีไปขยบั ยกศาลจากใตต นมะมว งดา นหนาไปวางไวดา นหลงั สาํ นกั งานฯ รวม 2 คน เกิดอาการขาบวมพรอมกันโดยไมมีสาเหตุรักษาโดยใชยาแกปวดบวมรวมทั้งไป หาหมอรักษาก็ไมหายเปนเวลานานนบั เดือนอกี เชน เดยี วกนั จนกระท่ังในตอนเย็นของวันที่ 30 กรกฎาคม 2551 หลังจากเลิกงานแลวแตย ังมีขาราชการของสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดอุทัยธานี จํานวน 3 - 4 คน รวมท้ัง พนักงานรักษาความปลอดภัย พนักงานงานทําความสะอาดน่ังทํางานกันอยูที่หองทํางานซ่ึงขณะน้ันมีขาราชการคนหนึ่งท่ีเปนนักวิชาการวัฒนธรรมไดมีอาการแปลกไป คือนั่งนิ่งๆ ไมพูดจากับใคร ตาขวางๆ ทั้งๆ ท่ีกอนหนานี้มีการพูดคุยกันเปนปกติ เพ่ือนขาราชการที่นั่งอยูดวยกันสังเกตเห็น จึงซักถามวาเปนอะไรทําไมจึงเงียบไป ขาราชการผนู ้นั ไดตอบเปนเสยี งแขง็ ๆ เสยี งดๆุ วา “ทําไมถ ูกตอ งทีใ่ หพระสงฆม าทําพิธีถอนศาล ฉันเปนคนตองใหพ ราหมณมาทําพิธีไมใชพระสงฆ” เพ่ือนจึงไดซักถามตอวา ทานเปนใครและตองการอะไรจึงไดคําตอบวา ทานชื่อพระนางอุทัยเทวีศรีเสาวภาคย เปนภรรยาของพะตะเบิดท่ีเปนเจาเมืองอูไท (คนแรก) เคยตั้งบานเรือนอยูบริเวณน้ี ตนเองไมพอใจที่ทําพิธีร้ือถอนศาลไมถูกตอง และเดก็ ๆท่ีมาวิ่งเลนก็ขามหัวไปมาจึงเกิดความรําคาญเลยทําใหเกิดอาการเปนไขตัวรอน สวนพนักงานรกั ษาความปลอดภัย และเจา หนาท่กี ารเงนิ ท่ีมาขยับยกศาลก็ไมบ อกกลา วใหท านทราบจึงหักแข็งหกั ขาทําใหเ กดิ อาการขาบวมทง้ั สองคน ถาอยากใหหายใหไปจุดธูปขอขมา และนอกจากนี้ถาจะ ตง้ั ศาลใหใหมขอใหเปน ศาลขนาดใหญแ ละมีสีชมพู โดยขอใหเชิญพราหมณม าทําพิธีบวงสรวงในการต้ังศาลดวยเมื่อตัง้ ศาลเสร็จเรียบรอยแลว หากใครมาสักการบูชา ผูน้ัน จะมีความเจรญิ กาวหนา อกี ดวย ในระหวางทมี่ ีการสอบถามกันอยูน้ัน เพื่อนทีอ่ ยูดวยไดส อบถามเร่ืองตัวเลขเพ่ือไปเส่ียงโชค แตทานบอกวา ไมใหรอใหต้ังศาลเสร็จเรียบรอยกอนจะใหรวยกันถว น หนา หลังจากนั้นนักวิชาการวัฒนธรรมท่ีพูดเร่ืองพระนางอุทัยเทวีฯ ก็ฟุบหนาลงไป และกลับมาอาการเปนปกติ แตพอซักถามก็ไมทราบวาตนเองพูดเรื่องอะไรบาง สรา งความตนื่ เตน ใหก บั ผูทเี่ ห็นเหตกุ ารณในวันนั้น เจา หนาที่การเงนิ พนักงานรักษาความปลอดภัย พนักงานทําความสะอาด ไดรีบไปจุดธูปขอขมาตอศาลพระนางอุทัยเทวีฯ ทนั ที หลงั จากน้ันอาการที่เคยเจบ็ ปวยกอ นหนา นไ้ี ดหายเปน ปลดิ ท้งิ เปนที่นา อัศจรรยเ ปน อยา งย่ิง วนั ท่ี 13 สงิ หาคม 2551 เวลา 09.00 น. นายพจน สีเขม วัฒนธรรมจังหวัดอุทัยธานี (ในขณะนัน้ ) พรอมดวยบุคลากรของสํานักงานวัฒนธรรมตังหวัดอุทัยธานี และหัวหนาสวนราชการที่ทราบขาวและเคารพ ศรัทธา รวมทําพิธีบวงสรวง และขึ้นศาลพระนางอุทัยเทวีฯ โดยเชญิ พราหมณจากจังหวัดนครสวรรคม าเปนผูประกอบพิธี ๑๕

รวมทั้งไดทําบุญเลีย้ งพระเพลเพ่ือความเปนสิริมงคลอีกดวย หลังจากท่ีไดตง้ั ศาลเปน ที่เรียบรอยแลว บุคลากรในสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดอุทัยธานี ท่ีไดเส่ียงโชคก็ไดรับ โชคกนั ถวนหนาจริงๆ ต้งั แตนั้นมาบคุ ลากรของสํานกั งานวัฒนธรรมจงั หวดั อทุ ยั ธานแี ละผูทเี่ ขา รวมพธิ ีเกิดความเคารพ ศรัทธาตอ พระนางอทุ ยั เทวศี รเี สาวภาคย เปน อันมาก นางปภัสสร ตรีศิลา วัฒนธรรมจังหวัดอุทัยธานี เลาวา มีเหตุการณหนึ่งเมื่อประมาณป พ.ศ.2563 ไดมีกลุมคน ประมาณ 5 -6 คน เดนิ ทางมาจากกรุงเทพฯ หนึง่ ในน้ันเลาวาเกิดความทุกขใจเท่ยี วบนบานไปทั่ว จนเมื่อคืนทานไดไปเขาฝนบอกวาใหมาไหวศาลตง้ั อยู ดา นหลงั สํานกั งานวัฒนธรรมจังหวัดอุทัยธานี จึงออกเดนิ ทางตอนเชา และพบศาลมีอยูจ ริงตามความฝน ทั้งหมดไดไ หวศาลพระนางฯ แลว เดินทางกลบั นายภูมิบญุ ญ แชมชอย อดตี รองผูวาราชการจังหวัดอุทัย เลาวา มาติดตอราชการ กับทานพจน สีเขม วัฒนธรรมจังหวัดอุทัยธานี จึงทําใหรูวามีศาลพระนางตั้งอยูที่บริเวณ ดานหลังสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดอุทัยธานี ไดมีโอกาสมากราบไหวและขอพรกับพระนาง อทุ ัยเทวีและเกิดความสําเร็จอยางไมค าดคดิ ท่ีจําไดมีเหตุการณแรก คือ ขอพรเร่ืองเงิน อยูๆ ก็มีผูใหญทานหน่ึงเรียกไปรับเงินจํานวนมากพอสมควร ขอพรอีกก็ไดเงินอีก ไดมาแบบ ไมคาดคิด จึงทําใหเกิดความศรัทธาแตน้ันมา มิใชเพียงเร่ืองเงินที่ตนขอแลวได แมแตเร่ือง สุดวิสัยในดา นการงาน หรอื แมว า จะอธิษฐานขอพรในสงิ่ ตา งๆ จะนึกถึงและขอพรกับพระนาง อุทัยเทวี งานนั้นๆ ก็สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี และไดทราบจากทานพจน สีเขม วาพระนางฯ ไดมาประทับรางขาราชการหญิงคนหนึ่ง ก็ย่ิงเกิดความเชื่อมั่นและศรัทธา เมื่อพระนางฯ มาบอกความชอบ ความตองการ ตนและทานพจน ก็จะพยายามทําใหถูกตองและตามความตองการ เชน เม่ือป พ.ศ. 2551 กําหนดตั้งศาลใหมสีชมพู และจัดพิธีบวงสรวงครั้งใหญ ทานพจน พยายามหานักแสดงละครชาตรมี าราํ ถวายแตไมส ามารถหาได จึงไดโทรศพั ทมาขอใหตนชวยอีกแรง ตนติดตอไปหาคนรูจักท่ีจังหวัด ๑๖

อยุธยา เพียงวันเดียวก็ไดผูรับจาง แถมไดใ นราคาถูกเหลือเช่ือ ตอมาป พ.ศ. 2558 พระนางฯ ไดบอกข้ันตอนและวิธีการสักการะ ประกอบดวย ธูป 5 ดอก พวงมาลัย ดอกกุหลาบหรอื ดอกไมท ม่ี ีกลิ่นหอม (ชอบดอกแกว) ใหต ั้งนะโม 3 จบ กอนอธิษฐาน และบอกวาอยากไดศาลไม ตนและทา นพจนกร็ วมกันจดั หามาถวาย นายภูมิบุญญ แชมชอย และนายพจน สีเขม ทั้งสองมีความเคารพศรัทธาตอพระนางอุทัยเทวีศรีเสาวภาคยเปนอันมาก จะประสานความรวมมือ ตลอดจนเผยแพรบอกเลาความศักดสิ์ ิทธิ์ของพระนางฯ อยูเสมอ จากที่พระนางฯ มาประทับรางบุคลากรในสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดอุทัยธานี พระนางฯ ไดบอกกลาววา นายภูมบิ ุญญฯ เคยเปนองครักษเอก สวนนายพจน เปน ทหารเอก มีความบงั เอิญของทั้งคู คอื มีแหวนสเี ดยี วกนั ลกั ษณะรูปทรงเดยี วกนั โดยมิไดน ัดหมาย ๑๗

คาํ บอกเลาจากบุคลากรสํานักงานวฒั นธรรมจงั หวดั อทุ ัยธานี “ เจา เซอื่ เรอ่ื งพระนางฯ บ ?????? ” เรยี กวา เปน ที่พ่งึ ทางใจ เมอ่ื รสู ึกติดขดั อะไร จะมาไหวข อพร อธษิ ฐานขอใหประสบผลสาํ เรจ็ ในสง่ิ น้นั ๆ นาํ พวงมาลัยดอกไม ผลไม ขนมหวาน และตกุ ตานางราํ มาถวาย จากการสัมผสั บคุ คลใกลช ดิ ขอยา ยสถานทที่ าํ งาน เคยขอพรกบั พระนางฯ เคยขอพรแลว สมหวัง ไปตางจังหวดั แลวสําเร็จดงั ทขี่ อ โดยสว นตัว ทาํ งานทนี่ ่ี หรอื ไม บอกวา จะนาํ บายศรี ทําใหส ัมผัสไดว า พระนางชวยใหก ารทาํ งานราบร่ืนเวลามี อปุ สรรคหรือปญหาในการทํางาน สาํ เร็จหรอื ไม มาถวาย นําอะไรมาถวาย เคยขอพรกับพระนาง ขอใหล กู หายปว ย ก็ไดด งั นนั้ ขอพรอ่นื ๆสําเร็จ แลว จึงนาํ ของมาถวาย เชน หวั หมู ไกต ม ?????? เคย และสาํ เร็จ ผลไม 5 อยาง หมาก พลู ดอกกุหลาบสีชมพู นาํ ฟก ทองและสม อาหารคาว-หวาน นา้ํ เปลา นํา้ ชา มาถวาย เคย สาํ เร็จ นาํ ผลไม ยงั ไมเคยขอพร สว นมากจะมา อาหารคาวหวาน กราบไหว ขอใหม คี วามสขุ กบั ชวี ิต พวงมาลยั ดอกไม มาถวาย และครอบครวั ตา งๆ ๑๘

ขอมูลการขับเคลือ่ นงานดา นประเพณี ศาสนา ศลิ ปะและวัฒนธรรมในระดับทองถิน่ อําเภอเมืองอุทยั ธานี ว/ด/ป แหลงงบประมาณ จํานวน ดาํ เนินการ ผูรวม ท่ี ชอื่ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ชมุ ชน เทศบาล รัฐบาล อ่นื ๆ สถานท่ีจดั กจิ กรรม กิจกรรม /อบต. ดานประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรม เทศบาลเมอื งฯ ๑ ประเพณีวนั ขึน้ ปใหม วนั ที่ ๓๑ ธันวาคม และ ๕๐๐,๐๐๐ / ตามประกาศ ๑ มกราคม คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จังหวัดฯ ๒ ประเพณสี งกรานต เดอื นเมษายน ๖๕๐,๐๐๐ / เทศกาลเมอื งฯ ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จังหวัดฯ ๓ ประเพณตี กั บาตรเทโว เทศกาลออกพรรษา ๓,๕๐๐,๐๐๐ / เทศบาลเมืองฯ ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จังหวัดฯ ๔ ประเพณีลอยกระทง ขึน้ ๑๕ คาํ่ เดือน ๑๒ ๘๕๐,๐๐๐ / เทศบาลเมืองฯ ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จังหวัดฯ ๕ ทาํ บญุ กลางบาน เดือน ๓ ๓๐,๐๐๐ / เทศบาลหาดทนง ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จงั หวัดฯ ๑๙

ว/ด/ป แหลงงบประมาณ จํานวน ดําเนินการ ท่ี ช่ือโครงการ/กิจกรรม ขึน้ ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ งบประมาณ ชุมชน เทศบาล รฐั บาล อืน่ ๆ สถานที่จดั กิจกรรม ผูรวม ๖ ประเพณีลอยกระทง /อบต. กิจกรรม ๗ งานบญุ เดอื นสาม เดอื น ๓ ๘ วนั ผูส งู อายุ (สงกรานต) ๑๐,๐๐๐ / อบต.หนองไผแบน ตามประกาศ ๙ งานบญุ เดือนสาม เทศกาลสงกรานต ๑๐ ประเพณีตักบาตรเทโว คณะกรรมการ เดือน ๓ โรคตดิ ตอ เทศกาลออกพรรษา จังหวัดฯ ๓๐,๐๐๐ / อบต.หนองไผแ บน ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จงั หวัดฯ ๑๕๐,๐๐๐ / อบต.หนองแก ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จงั หวัดฯ ๓๐,๐๐๐ / อบต.เนนิ แจง ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จังหวัดฯ / อบต.ดอนขวาง ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จังหวัดฯ ๒๐

ว/ด/ป แหลงงบประมาณ จํานวน ดาํ เนนิ การ ท่ี ช่อื โครงการ/กจิ กรรม สงกรานต งบประมาณ ชมุ ชน เทศบาล รฐั บาล อนื่ ๆ สถานท่ีจดั กิจกรรม ผรู วม ๑๑ ประเพณีสงกรานตและวันผูส ูงอายุ /อบต. กจิ กรรม ๑๒ ประเพณีลอยกระทง ขึน้ ๑๕ คาํ่ เดอื น ๑๒ ๑๓ ประเพณีสงกรานต ๑๐๐,๐๐๐ / อบต.ทาซุง ตามประกาศ ๑๔ ประเพณตี กั บาตรเทโว เทศกาลสงกรานต ๑๕ บุญเดอื นสาม คณะกรรมการ เทศกาลออกพรรษา โรคตดิ ตอ เดอื น ๓ จังหวัดฯ ๑๐๐,๐๐๐ / อบต.เกาะเทโพ ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จังหวัดฯ ๑๐๐,๐๐๐ / อบต.เกาะเทโพ ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จังหวัดฯ -/ อบต.เกาะเทโพ ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จงั หวัดฯ -/ อบต.เกาะเทโพ ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จงั หวัดฯ ๒๑

ว/ด/ป แหลงงบประมาณ จาํ นวน ดาํ เนนิ การ ผูรวม ที่ ชือ่ โครงการ/กิจกรรม ข้ึน ๑๕ ค่ํา เดือน ๖ งบประมาณ ชุมชน เทศบาล รฐั บาล อ่นื ๆ สถานท่ีจัดกิจกรรม กิจกรรม ดานศาสนา /อบต. แรม ๑ ค่าํ เดอื น ๘ ๑ วันวิสาขบูชา ๒๐,๐๐๐ / เทศบาลเมืองฯ ตามประกาศ เขาพรรษา เทศบาลเมอื งฯ คณะกรรมการ ๒ วนั เขา พรรษา ๓๐๐,๐๐๐ / อบต.เกาะเทโพ โรคตดิ ตอ จงั หวัดฯ ๓ แหเ ทยี นเขา พรรษา ๔๐,๐๐๐ / ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จงั หวัดฯ ตามประกาศ คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จงั หวัดฯ ดานการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ออกพรรษา ๙๐,๐๐๐ / อบต.เกาะเทโพ ตามประกาศ ๑ การแขง ขันเรือและกีฬาพืน้ บา น คณะกรรมการ โรคตดิ ตอ จังหวัดฯ ๒๒

อาํ เภอทพั ทนั ทพั ทนั เมืองประวตั ิศาสตร ตลาดนดั โค-กระบอื เลื่องลือผา ทอ หลวงพอเคลอื บศักด์สิ ทิ ธ์ิ งามวจิ ติ รเขาปฐวี ๒๓

ประวัติความเปนมา ราวประมาณป พ.ศ. 2444 (ร.ศ.120) ทีต่ ้ังของทว่ี าการอาํ เภอทพั ทนั คร้ังแรก อยูท ่ีบรเิ วณวัดหนองกระดี่ ตาํ บลหนองยายดา ในสมยั น้ันเรียกวา \"แขวงหนองกระด่ี\" ตอมาไดต้ังเปนอําเภอในช่ือ \"อําเภอหนองกระด่ี\" ตอมาใน พ.ศ. 2448 ไดยายที่วาการอําเภอใหมไปตั้งท่ีบา นหวยทัพทัน และใหเปลี่ยน ชือ่ อาํ เภอ เปน \"อําเภอทัพทนั \" เพอื่ ใหตรงกบั ชอ่ื ตําบลซง่ึ ตง้ั ท่วี า การอาํ เภอนัน้ ช่ือ “ทัพทัน” ปรากฏในพงศาวดารในสมัยกรุงธนบุรี โดยกองทัพไทยท่ีมีเจาพระยายมราช เจาพระยาราชสุภาวดี และเจาพระยารามัญวงศ เปนนายทัพทาํ การขับไลทหารพมาทมี่ นี ายทัพช่ือ กะละโม ถอยรน จากเมืองกําแพงเพชรมาทางเมอื งอุทัยธานี ซ่งึ ฝายไทยไดยกทัพติดตามมาทันทหารพมา ที่หมูบานแหงหน่ึง ทําการรบพุงโจมตีจนฝายพมาแตกพายไปชาวบานจึงไดขนานนามหมูบานน้วี า \"บานหวยทพั ทัน\" หรือ “บานทพั ทัน” จึงเปนท่ีมา ของชอ่ื อําเภอทพั ทันในปจจบุ นั (วนั ที่ 25 มีนาคม 2448 เปลยี่ นแปลงชอ่ื อําเภอหนองกระดี่ จงั หวัดอทุ ยั ธานี เปน อําเภอทัพทัน) (ทีม่ า : https://th.wikipedia.org) งานประเพณที ี่โดดเดน เดือนมกราคม ณ วัดทัพทันวัฒนาราม ตาํ บลทพั ทนั อําเภอทัพทนั จงั หวัดอทุ ยั ธานี เดือนกุมภาพันธ ณ บานสาํ นกั โก หมู 4 ตําบลหนองหญาปลอง อําเภอทพั ทนั จังหวดั อุทยั ธานี ตกั บาตรปใ หม / ไหวขอพรปใ หม (ขนึ้ 3 คํ่า เดอื น 3) ประเพณสี ขู วญั ขา ว เดอื นเมษายน ณ บานโคกหมอ หมู 2 และหมู 3 ตําบลโคกหมอ อําเภอทัพทัน จังหวดั อทุ ัยธานี ประเพณสี งกรานต/แหดอกไม/ เดอื นกรกฎาคม ณ วัดทัพทันวฒั นาราม ตาํ บลทพั ทนั อําเภอทัพทนั จังหวัดอทุ ัยธานี แหนางดง-นางกวัก เดอื นกันยายน ณ วัดโคกหมอ หมู 2 ตาํ บลโคกหมอ อําเภอทพั ทัน จังหวดั อุทัยธานี ถวายเทียนพรรษา ขนึ้ 15 ค่ํา เดือน 10 ประเพณีสารทลาว เดือนตุลาคม ณ วัดเขาโคกโค ตาํ บลทุงนาไทย อาํ เภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี เทศกาลออกพรรษา/ เดอื นพฤศจิกายน ณ พน้ื ทศ่ี ูนยเรยี นรูต ามศาสตรพระราชาเกษตรทฤษฎใี หม เทศบาลตําบลทัพทัน ตักบาตรเทโวโรหณะ หมู 5 ตาํ บลหนองหญาปลอง อาํ เภอทัพทัน จังหวดั อุทัยธานี ประเพณีลอยกระทง บวร On Tour ๒๔

ชุมชนคณุ ธรรมฯ วดั โคกหมอ ผปู ระสานงาน.............นายอโณทัย พูลเขตกิจ............... เทย่ี วชุมชน ยลวิถี ชุมชนคุณธรรมฯ วดั โคกหมอ ผปู ระสานงาน.............นางอรอนงค วเิ ศษศร.ี ............... แหลงเรียนรทู างวฒั นธรรม ๒๕

ชมุ ชนคุณธรรมฯ วดั โคกหมอ ผปู ระสานงาน................นายอโณทยั พลู เขตกจิ ..................................... ปราชญชาวบาน ชอื่ – สกลุ ............นางอรอนงค วเิ ศษศรี......เบอรโ ทร.......... 081-379-1200.......... ช่อื – สกลุ ...........นายชญทรรศ วเิ ศษศรี........เบอรโทร...........063-585-5535........... 1. ดานการทอผา ไหมมัดหมี่ ชื่อ – สกุล........... นายพรมมา ทักขณิ า..........เบอรโทร................................................... 2. ดานการทอผาและการออกแบบลายผา ชอ่ื – สกุล...........นายสาํ ราญ ดวงไผ. ...........เบอรโ ทร................................................... 3. ดานการทําไรนาสวนผสม ช่อื – สกลุ ...........นายจํานงค ทองดาดาษ.......เบอรโ ทร.................................................. 4. ดา นแพทยแผนโบราณ (หมอรักษากระดูก) ชื่อ – สกุล...........นายหวล สขุ เกษม............เบอรโทร................................................... 5. ดา นหมอสูขวัญ 6. ดานพธิ กี รรมเลี้ยงผีเจา นาย และดนตรพี ้นื บาน ผลิตภัณฑทางวฒั นธรรม (CPOT) ๒๖

CPOT ผาไหมลายโบราณบานโคกหมอ ผาทอบา นโคกหมอ วดั /ศาสนสถานที่ควรสกั การะขอพร ๒๗

1. วัดหนองกระด่นี อก ตง้ั อยทู ่ี หมูท่ี 3 ตําบลหนองยายดา อาํ เภอทพั ทนั จังหวัดอทุ ัยธานี ความศักดิ์สิทธิ์ (พุทธคุณโดดเดน) \"หลวงพอเคลือบ สาวรธัมโม\" วัดหนองกระด่ีนอก ตําบลหนองยายดา อําเภอทัพทัน จังหวัดอุทยั ธานี เปนนาม พระเกจิที่รูจักกันดีในหมูศรัทธาสาธุชนชาวเมืองอุทัยธานีไดรับการขนานนามวา \"หลวงพอเคลือบ วาจาสิทธ์ิ พูดอยางไร เปนอยางนั้น\" ท้ังยังไดรับการยกยองวาเปน \"เทพเจาแหงลมุ นา้ํ สะแกกรัง\" พรศักดิ์สิทธิ์ ของท่ีสญู หายกลับคนื ของแกบ น เหลาขาว มะขามเปย ก หรอื พวงมาลยั 2. วดั ทพั ทันวฒั นาราม ตงั้ อยูท่ี หมูท่ี 1 ตําบลทัพทัน อาํ เภอทพั ทนั จงั หวัดอทุ ยั ธานี ๒๘

จุดเดน ของวดั ทพั ทันวัฒนารามอยูที่บานประตูโบสถเกา แกที่มีความงดงามจบั ตา สนั นษิ ฐานวาเปนฝมือชางในสมัยรัตนโกสินทร โดยบานหน่งึ แกะสลัก เปนรูปคนถือธงอกี บานหนึง่ ระบวุ าเปน ปกุน ทวี่ ิจิตรดวยลวดลายสวยงาม อกเลาบานประตูมีลวดลายยาวตลอดบาน ประตูอีกคหู น่ึงแกะเปนรปู เทวดาถือคันศรยืนบนพญานาค ขา งลา งมภี เู ขาเตม็ ไปดวยสตั วนานาชนดิ สว นดานบนเปนลายกนกมะลิเล้ือย ซง่ึ บานประตคู นู ไ้ี มแ กะลวดลายท่ีอกเลา จงึ สันนษิ ฐานวาอาจเปน ชางพ้ืนบาน 3. วดั วังสารกิ า ต้งั อยทู ี่ บา นวงั สารกิ า ต.หนองกระทุม อ.ทัพทัน จ.อทุ ัยธานี ๒๙

วัดวังสาริกา สรางข้ึนเมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๔๓๔ โดยนายเสา แยบเขตรกรณ เปนผูริเร่ิมสรางขึ้น มีโบราณสถานสําคัญ ไดแก อุโบสถ ซ่ึงต้ังอยู ดานทิศตะวันออกบริเวณหนาวัด เปนอาคารไม ขนาด ๕ หอง รวมระเบียงหนา กวาง ๗.๑๐ เมตร ยาว ๑๗.๓๐ เมตร ฐานกออิฐถือปูนผสมคอนกรีตเสริมเหล็ก เสาและโครงหลังคาเปน ไมเน้ือแข็ง หลังคามุงกระเบ้ืองดนิ เผาไมเคลือบ ประดบั ชอฟา ใบระกาและหางหงส เปนคอนกรีตถอดพิมพ ลงรักประดบั กระจก หนาบนั ดานหนา และหลงั ตกแตงดวยลายปูนปน ลงรกั ประดบั จก แสดงภาพ พุทธประวัติ ประตูและหนา ตา งเปนไมบานลูกฟก มีใบเสมาหินออนลอมรอบอุโบสถท้ัง ๘ ทิศ ซมุ เสมาเปนทรง บุษบก สันนิษฐานวาอโุ บสถไมหลงั นี้สรางขึน้ ราว พ.ศ. ๒๕๐๐ โดยไดรบั การบูรณะในป พ.ศ. ๒๕๖๐ 4. วัดโคกหมอ ต้งั อยู หมูท่ี 2 ตาํ บลโคกหมอ อําเภอทัพทัน จังหวัดอทุ ัยธานี ๓๐

วัดโคกหมอ เปนวัดเกาแก มีอายุมากกวา ๑๓๐ ป เปนศูนยรวมจิตใจของชาวบานโคกหมอ เปนสถานท่ีจัดกิจกรรมวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา วันสําคญั ทางสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย และเปนสถานท่ีปฏิบัติธรรม นอกจากน้ี ยังมีสถาปตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร มีพระอุโบสถหนาบรรณลายปูนปน มีอายุ รอยกวาป มเี จดยี ค ู เกาแก หักมุมไมส บิ สอง เปนแหลงเรยี นรูการประกอบพธิ ีสําคญั ประเพณี ศลิ ปะการแสดงทางวฒั นธรรมตางๆของชุมชน ขอ มูลการขบั เคล่ือนงานดา นประเพณี ศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรมในระดับทองถ่ินอําเภอทัพทัน ๓๑

ที่ ชอื่ โครงการ/กจิ กรรม ว/ด/ป งบประมาณ แหลงงบประมาณ สถานท่ีจดั กจิ กรรม จาํ นวน ดาํ เนนิ การ ชุมชน เทศบาล/อบต. รฐั บาล อ่นื ๆ ผรู วม 1 ดา นประเพณี ศลิ ปะ และวฒั นธรรม พื้นท่ีอําเภอทัพทนั กิจกรรม 1. โครงการสานสมั พนั ธแลกเปลี่ยน พ.ศ.2565 พ้ืนที่อําเภอทัพทนั 10,000 เทศบาลตาํ บลทัพทัน พ้ืนท่ีอาํ เภอทัพทัน ภมู ิปญ ญาเพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต 2. โครงการสงเสรมิ ความสามารถ 70,000 เทศบาลตาํ บลทัพทัน อําเภอหนองฉาง ดานวัฒนธรรมภมู ปิ ญญาผูสงู อายุ 5000 เทศบาลตําบลทัพทนั 3. โครงการจัดกิจกรรมอนรุ ักษ 10,000 เทศบาลตาํ บลทัพทัน มรดกไทย 25,000 เทศบาลตาํ บลทัพทนั 4. โครงการอนรุ กั ษว ัฒนธรรมไทย 25,000 อบต.หนองกลางดง 5. อดุ หนนุ โครงการจดั งาน 25,000 อบต.หนองกระทุม 25,000 ประเพณบี ญุ เดือนสาม สบื สานวิถชี ีวิต 25,000 ทต.ตลกุ ดู ชาวอูไท 25,000 อบต.โคกหมอ ทต.หนองสระ 6. โครงการจดั การเรยี น การสอน 25,000 เทศบาลตาํ บลตลกุ ดู โรงเรยี นตลกุ ดูว ิทยาคม โดยใชภ ูมิปญญาทอ งถิ่น และ วิทยากร ภายนอก 7. อดุ หนุนโรงเรยี นวัดหนอง 20,000 ทต.หนองสระ ทต.หนองสระ ๓๒

ที่ ชอ่ื โครงการ/กจิ กรรม ว/ด/ป งบประมาณ แหลงงบประมาณ สถานท่จี ัดกิจกรรม จาํ นวน ดาํ เนนิ การ ชมุ ชน เทศบาล/อบต. รัฐบาล อ่นื ๆ ผรู ว ม สระตามโครงการสืบทอดและพฒั นาการ กจิ กรรม เลนดนตรไี ทย 30,000 ทต.หนองสระ 80,000 ทต.หนองสระ ทต.หนองสระ 8. โครงการอบรมสืบสานภูมิ 80,000 ทต.หนองสระ ทต.หนองสระ ปญญาทองถิ่น ทต.หนองสระ 9. โครงการสืบสานประเพณีลอย กระทง 10.โครงการสบื สานประเพณวี ัน สงกรานตและวันผูส งู อายุ 11. อดุ หนุนโครงการจดั งาน 10,000 เทศบาลตําบลทัพทัน อาํ เภอเมอื งอุทัยธานี สงเสรมิ สนบั สนุนการจัดงาน ประเพณี 10,000 อบต.หนองกลางดง ตกั บาตรเทโวฯ จังหวัดอุทัยธานี 10,000 อบต.หนองกระทุม ทต.ตลกุ ดู 10,000 อบต.โคกหมอ 10,000 ทต.ตลุกดู 10,000 อบต.โคกหมอ ๓๓ ทต.หนองสระ 12. โครงการปราชญของแผนดนิ 10,000 ทต.ตลุกดู 13.โครงการสงเสรมิ กลุมอาชีพ 30,000 อบต.โคกหมอ ตางๆ เชน กลุมทอผา 2 ดา นศาสนา

ที่ ชอื่ โครงการ/กจิ กรรม ว/ด/ป งบประมาณ แหลงงบประมาณ สถานทจี่ ัดกจิ กรรม จํานวน ดําเนินการ ผูรวม กิจกรรม ชุมชน เทศบาล/อบต. รัฐบาล อน่ื ๆ 1. โครงการจดั งานพธิ ีทางศาสนา, พ.ศ. 2565 410,000 เทศบาลตาํ บลทัพทนั เทศบาลตําบลทัพทนั รฐั พธิ แี ละประเพณตี างๆ 2. โครงการอบรมธรรมะเดก็ , 30,000 ทต.หนองสระ ทต.หนองสระ เยาวชนและประชาชน 3. โครงการอบรมสามเณร 30,000 ทต.หนองสระ ทต.หนองสระ 4. โครงการอบรมธรรมะวัน 40,000 ทต.หนองสระ ทต.หนองสระ อาสาฬหบชู าและวันเขาพรรษา 5. โครงการศึกษาธรรมะสาํ หรับ 30,000 ทต.หนองสระ ทต.หนองสระ ผูสงู อายุ 6. โครงการอบรมคณุ ธรรมและ 30,000 ทต.หนองสระ ทต.หนองสระ จรยิ ธรรม 7. สง เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม 15000 อบต.หนองกลางดง อบต.หนองกลางดง เด็กและเยาวชนในตาํ บล 3 ดานการทองเทยี่ วเชงิ วัฒนธรรม 1.โครงการปรับภูมทิ ศั นศ ูนยเ รยี นรตู าม พ.ศ. 2565 100,000 เทศบาลตาํ บลทัพทัน หมู 5 ตําบลหนองหญา ศาสตรพ ระราชาเกษตรทฤษฎีใหม ปลอง หมทู ี่ 5 ตาํ บลหนองหญา ปลอง 2. โครงการกอสรา งอาคาร ทอผา และแสดงสนิ คา OTOP 1,500,000 เทศบาลตาํ บลทัพทัน หมูที่ 3 บานโคกหมอ หมูที่ 3 บานโคกหมอ ๓๔

อาํ เภอลานสัก นํา้ ใสเข่ือนระบํา ถ้าํ สวยเขาพระยา ปา สกั ธรรมชาติ ภาพประวตั ศิ าสตรเ ขาปลารา ตระการตาหนิ เหนิ เพลนิ ธรรมชาติถ้ําปาตาด ๓๕

ประวัติความเปนมา อําเภอลานสัก เดิมเปนตําบลลานสัก ข้ึนกับอําเภอบานไร จังหวัดอุทัยธานี เน่ืองจากมีพ้ืนท่ีกวางขวางมาก ทางราชการจึงเสนอขอต้ังเปน “ก่ิงอําเภอลานสัก” เมื่อวันท่ี 15 ตุลาคม 2520 ณ บรเิ วณบานปากเหมือง หมูที่ 1 ตําบลลานสัก ตอมากรมการปกครองไดจัดสรรงบประมาณใหสรางท่ีวาการกิ่งอําเภอลานสักข้ึนท่ีบานนาไรเดียว หมทู ี่ 2 ตาํ บลลานสกั หา งจากทว่ี า การกงิ่ อาํ เภอเดมิ ประมาณ 5 กโิ ลเมตร จนกระท่งั ไดเปน “อําเภอลานสัก” ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย ในวันท่ี 13 กรกฎาคม 2524 (ท่ีมา : https://seeuthai.blogspot.com/2015/01/blog-post_19.html) งานประเพณที ่ีโดดเดน เดือนมกราคม ณ วดั ลานสัก หมู ๑ ตําบลลานสัก อาํ เภอลานสกั จงั หวัดอุทัยธานี เดอื นมีนาคม ณ วัดลานสัก หมู ๑ ตําบลลานสัก อาํ เภอลานสัก จังหวัดอุทยั ธานี ตักบาตรปใหม / ไหวขอพรปใหม เดือนเมษายน ณ วัดลานสัก หมู ๑ ตาํ บลลานสกั อําเภอลานสกั จงั หวัดอทุ ัยธานี ประเพณบี ญุ เดือนสาม เดือนพฤษภาคม ณ เขอ่ื นทับเสลา ประเพณสี งกรานต เดอื นกรกฎาคม ณ วัดลานสัก หมู ๑ ตําบลลานสกั อาํ เภอลานสกั จงั หวัดอทุ ัยธานี ประเพณบี ุญบัง้ ไฟ เดอื นตุลาคม ณ วัดลานสัก หมู ๑ ตําบลลานสกั อําเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี ถวายเทียนพรรษา เดอื นพฤศจิกายน ณ วัดลานสัก หมู ๑ ตาํ บลลานสกั อาํ เภอลานสัก จงั หวัดอทุ ยั ธานี เทศกาลออกพรรษา เดือนธันวาคม ณ วัดลานสัก หมู ๑ ตําบลลานสกั อําเภอลานสัก จงั หวัดอุทัยธานี ประเพณีลอยกระทง สวดมนตข า มป บวร On Tour ๓๖

ชุมชนคณุ ธรรมฯ วัดลานสกั หมู ๑ , ๒ ตาํ บลลานสกั อําเภอลานสัก จังหวัดอทุ ัยธานี ผูประสานงาน นางสรุ ินทร นาคมาตร ผูใหญบ านหมทู ี่ ๑ โทร. ๐๖๔-๙๔๙-๓๙๙๓ ๓๗

ชมุ ชนคณุ ธรรมฯ บานชายเขา หมูท่ี ๓ ตาํ บลทุง นางาม อําเภอลานสัก จงั หวดั อทุ ยั ธานี ผูประสานงาน นายชัยรนิ ทร อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ผใู หญบ านหมทู ่ี ๓ โทร. ๐๙๐-๘๙๒-๖๓๙๙ แหลงเรียนรูทางวฒั นธรรม ๓๘

ศูนยว ัฒนธรรมโรงเรยี นลานสกั วิทยา โรงเรียนลานสักวิทยา อําเภอลานสัก จังหวัดอทุ ยั ธานี โทรศพั ท ๐ ๕๖๕๓ ๗๒๑๓ กจิ กรรมท่ีดําเนินการ ๑. จดั นิทรรศการใหความรเู ก่ียวกบั ขนบธรรมเนียม ประเพณที อ งถ่นิ ๒. จดั พธิ ีครอบครู ๓. จัดทาํ หนังสือช่ือบา น นามเมือง ๔. เปนแหลง เรียนรูท างธรรมชาติและวฒั นธรรม ปราชญช าวบาน ๓๙

1. ดานอุตสาหกรรมและหตั ถกรรม (การถักไมก วาดทางมะพราว) นายทองดี เมอื งสะอาด บา นเลขท่ี 67 หมูที่ 6 ตาํ บลทุงนางาม อําเภอลานสัก จังหวดั อุทัยธานี 61160 2. ดา นอตุ สาหกรรมและหัตถกรรม (การสานสมุ ไก) นายเชิด โภชนา บานเลขท่ี 35 หมทู ่ี 8 ตําบลทงุ นางาม อําเภอลานสกั จังหวัดอทุ ยั ธานี 61160 3. ดานอุตสาหกรรมและหัตถกรรม (การสานท่ดี ักปลา ของใสปลา) นายระยอง หริ ญั สุทธิ์ บานเลขท่ี 57 หมทู ี่ 8 ตาํ บลทุงนางาม อําเภอลานสัก จังหวัดอทุ ัยธานี 61160 4. ดา นอุตสาหกรรมและหัตถกรรม (การสานกระดง ตะแกรง ของใสป ลา) นายบญุ ยัง จันหอม บา นเลขที่ 66 หมูที่ 11 ตาํ บลทุงนางาม อาํ เภอลานสัก จังหวดั อุทัยธานี 61160 5. ดานเกษตรกรรม (การทาํ สวนผลไม การกาํ จัดแมลงวนั ทอง) นายสุรินทร สขุ เอ่ยี ม บานเลขที่ 51 หมทู ี่ 3 ตําบลทุงนางาม อําเภอลานสกั จังหวดั อทุ ยั ธานี 61160 6. ดานการแพทยไทย (การนวดแผนไทย การจบั เสน) นางกุงหริ่ง วัฒนพงษ บา นเลขท่ี 37 หมูท่ี 1 ตาํ บลทงุ นางาม อําเภอลานสัก จงั หวัดอทุ ัยธานี 61160 7. ดานศิลปกรรม (การตกี ลองยาว การจดั รปู ขบวน) นายสมเกยี รติ สงขขํา บา นเลขท่ี 121 หมูที่ 3 ตําบลทุงนางาม อาํ เภอลานสกั จังหวัดอุทยั ธานี 61160 8. ดานศิลปกรรม (การทําบายศรี การจัดขันหมาก) นายสนุ ทร ภูส ําอาง บา นเลขท่ี 46 หมูท ี่ 3 ตําบลทุง นางาม อาํ เภอลานสัก จงั หวัดอทุ ยั ธานี 61160 9. ดา นศิลปกรรม (การทาํ ขนมมงคล การจบั จีบผา ) พระสมุหส มบูรณ สนุ ฺทราจาโร วดั เขาดินแดง หมูท ่ี 1 ตาํ บลทุง นางาม อําเภอลานสกั จงั หวดั อุทยั ธานี 61160 10.ดานศาสนาและประเพณี (การตาํ ขนมจีนแบบโบราณ) พระครอู เุ ทศธรรมวิจติ ร วัดทุงนางาม หมทู ่ี 8 ตําบลทงุ นางาม อาํ เภอลานสัก จังหวัดอทุ ัยธานี 61160 11.ดานคติธรรม ความคิด ความเช่อื (เสก – เปา นํ้าชว ยเหลือผทู ี่โดนกางปลาติดคอ) นายธวัช สทิ ธ์ินอย บานเลขท่ี 101 หมทู ี่ 3 ตาํ บลทุงนางาม อําเภอลานสัก จังหวดั อุทยั ธานี 61160 12.ดานหัตถกรรม จักสาน (การทําสุมไกจ ากไมไ ผ) นายลาํ พนั แยบเขตรกรณ บานเลขที่ 100 หมทู ่ี 4 ตําบลน้าํ รอบ อาํ เภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี 61160 13.ดานหัตถกรรม จักสาน (การทําตะกรา เขงจากไมไ ผ) ๔๐

นายกัง เขยี วเขตร บา นเลขท่ี 24 หมูที่ 6 ตาํ บลนาํ้ รอบ อําเภอลานสกั จงั หวัดอทุ ยั ธานี 61160 14.ดา นหตั ถกรรม จักสาน (การทําเฟอรนิเจอรไ ม) นายประเสริฐ บุญเยน็ บานเลขท่ี 130 หมทู ี่ 6 ตาํ บลนํา้ รอบ อาํ เภอลานสกั จังหวัดอทุ ยั ธานี 61160 15.ดานหัตถกรรม จักสาน (การทอเสือ่ จากตน กก ตน ไหล) นางเฮยี น เหลาพเิ ดช บานเลขท่ี 7/1 หมูท ี่ 8 ตําบลน้ํารอบ อาํ เภอลานสกั จังหวดั อุทยั ธานี 61160 16.ดา นหัตถกรรม จักสาน (การทาํ ตะแกรง กระตบิ ขา วจากไมไ ผ) นายคาํ ผอง สงิ บวั บานเลขท่ี 218/9 หมทู ่ี 10 ตาํ บลนํา้ รอบ อาํ เภอลานสกั จงั หวัดอุทัยธานี 61160 17.ดานหตั ถกรรม จักสาน (การทําตะกรา เขง กระติบขาวจากไมไผ) นายลินทร สมทา บานเลขที่ 226/1 หมูท ี่ 10 ตาํ บลน้าํ รอบ อาํ เภอลานสกั จังหวดั อุทัยธานี 61160 18.ดา นหตั ถกรรม จักสาน (การทําเฟอรน ิเจอรไม) นายสุบนิ พรมมา บานเลขท่ี 9/1 หมูท ่ี 12 ตาํ บลนาํ้ รอบ อําเภอลานสกั จังหวัดอทุ ยั ธานี 61160 19.ดา นหัตถกรรม จักสาน (การทําตะกรา เขง สุมไก กระตบิ ขา ว) นายสา หอมสมบัติ บานเลขที่ 75 หมทู ี่ 14 ตาํ บลนา้ํ รอบ อําเภอลานสกั จังหวัดอทุ ยั ธานี 61160 20.ดา นหตั ถกรรม จักสาน (การทอเสอ่ื จากตนกก) นางคูณ คณุ ทมุ บา นเลขที่ 5 หมทู ่ี 14 ตาํ บลนา้ํ รอบ อําเภอลานสัก จังหวัดอทุ ยั ธานี 61160 21.ดานหตั ถกรรม จักสาน (การตะกรา เขง สุม ไกจากไมไผ) นายจันทร บุญศรี บานเลขที่ 51/3 หมูที่ 15 ตําบลนาํ้ รอบ อําเภอลานสัก จังหวัดอุทยั ธานี 61160 22.ดานหัตถกรรม จักสาน (การทาํ กระดง ตะแกรงจากไมไ ผ) นางเช่ือม ไกรลํา บานเลขท่ี 1 หมทู ี่ 16 ตาํ บลน้ํารอบ อําเภอลานสกั จงั หวัดอทุ ัยธานี 61160 23.ดา นวฒั นธรรม ประเพณี หัตถกรรม จกั สาน (การทาํ ขวัญ สานตะกรา เขง ) นายพยงุ วรอินทร บา นเลขที่ 138/1 หมูท ่ี 19 ตาํ บลนํา้ รอบ อําเภอลานสกั จงั หวดั อทุ ัยธานี 61160 24. ดา นศิลปวัฒนธรรม ประเพณีทองถิน่ นายคมพิพัฒน แจง จรสั กลุ บานเลขที่ 47/5 หมูท่ี 2 ตําบลประดยู ืน อาํ เภอลานสัก จังหวัดอทุ ัยธานี 61160 25.ดานการจกั สาน ๔๑

นายทองอยู แกว เกตมุ ะณี บา นเลขที่ 38/1 หมทู ่ี 2 ตาํ บลประดูย ืน อาํ เภอลานสัก จงั หวัดอุทัยธานี 61160 26.ดา นการทําปยุ ชวี ภาพ นางพสิ มยั ชูศักด์ิ บานเลขที่ 35 หมูที่ 10 ตาํ บลประดูยนื อาํ เภอลานสัก จังหวดั อุทยั ธานี 61160 ตลาดบก/ตลาดวฒั นธรรม ถนนคนเดินลานสัก (เปดทกุ วันเสาร เวลา ๑๕.๐๐ น.) ผลติ ภณั ฑท างวฒั นธรรม (CPOT) ๔๒

ผลิตภณั ฑบานผา ขาวมา บานผา ขาวมา (นายวรยุทธิ์ พนั ทะส)ี ท่อี ยู บา นเลขที่ 131 ซอยสขุ เสถียร หมทู ี่ 10 ตาํ บลลานสกั อําเภอลานสกั จังหวัดอุทยั ธานี 61160 โทรศพั ท 084-782-8283 แรงบันดาลใจของบานผาขาวมาเกิดจากความชอบ และเห็นแมทอผาขาวมาเปนประจําที่บานและใชในชีวิตประจําวันดวย จึงลาออกจากงานบริษัท และกลับมาสงเสริมพัฒนารูปแบบ พัฒนาบรรจุภัณฑใหทันสมัย หาตลาดจําหนายสนิ คา จากหลายชองทาง เชน รวมจําหนายงานแสดงสนิ คา OTOP ถนนคนเดินตรอกโรงยา งานมหกรรมสนิ คา ตา งๆ และชองทาง online ผลิตภัณฑของบานผาขาวมามีเน้ือผาฝายท่ีนุมนาใช ไมหดตัว ยอมจากสีธรรมชาติ สีสันสวยงาม เชน สีดําจากมะเกลือ สีแดงจากครั่ง สีสมจากเปลือกหมาก สามารถซกั ดวยเคร่ืองซกั ผา ได อาหาร / ของฝากข้นึ ชือ่ วัด/ศาสนสถานทค่ี วรสกั การะขอพร 1. วดั ปากเหมอื ง (ปา สักธรรมชาติ) ตงั้ อยูบานปา สกั หมูที่ 9 ตาํ บลลานสกั อาํ เภอลานสกั จังหวัดอทุ ยั ธานี ๔๓

ความศกั ด์สิ ิทธิ์ หลวงพอเสมา จนทฺ โชโต นําชาวบานจากตลุกดูมาท่ีวัดปากเหมือง (ปาสักธรรมชาติ) เพื่อตัดไมสักไปสรางโบสถ เม่ือไปแจง ขอเคล่อื นยาย ไมออกจากปากลับถูกปฏิเสธจากเจาหนาท่ี ทําใหความหวังในการทจ่ี ะนําไมสักไปสรางอุโบสถของหลวงพอและชาวตลุกดูตองหยุดลง หลวงพอจึงเปลงวาจาวา “ไมปาน้ี ฉันเอาไปใชไ มไ ดแ ลวคนอ่นื จะเอาไปใชไ ดห รือ” แลว จึงเดินทางกลับ จากคําพูดเพียงไมกี่คําท่ีทิ้งไวนั้น ทําใหรักษาพื้นปาไมสักธรรมชาติอันสําคัญยิ่งน้ีใหดํารงคงอยูม าจนถึง ปจจุบันน้ี เพราะจากการท่ีมีผูไมเชื่อหรือไมรูนําไมสักจากปาแหงนี้ไปกอสรางบานเรือนหรือเครื่องใชตางๆ ก็มีปรากฏการณใหมีอันเปนไป ในรูปแบบตางๆ มากมาย จนมีกิตติศัพททําใหเกรงกลัวตอการที่จะนําไมสักในปานี้ออกไปเพ่ือใชประโยชน แมจะนําไปทําเปนเคร่ืองใชแลวก็ตองนํามาถวายวัด ดวยเหตุนี้ปาสักธรรมชาติจึงยังคง ความอุดมสมบูรณม าจนทุกวนั น้ี ทงั้ ยงั เปน ท่มี าของตาํ บลลานสกั และอําเภอลานสักในท่สี ุด เพราะมปี าสักขนาดเน้อื ทก่ี วา ๕๐๐ ไรอ ยู ตอมาป พ.ศ.๒๕๑๙ – ๒๕๒๐ ชาวบานไดรวมกันสรา งสาํ นักสงฆข้ึน ณ ท่ีใจกลางปาแหงน้ี พรอมนําไมสกั ไปใหชางชาวตลุกดูแกะสลกั รูปเหมือนหลวงพอ เสมา จนทฺ โชโต แลวนาํ มาประดิษฐานอยูทามกลางปา สักธรรมชาติทท่ี า นมสี ว นชวยใหดํารงคงอยูใหล กู หลานไดใชป ระโยชนร ว มกนั มาจนถึงทุกวันนี้ 2. วัดลานสกั ต้ังอยูหมูที่ 2 ตําบลลานสัก อําเภอลานสกั จังหวดั อทุ ัยธานี สงั กัดคณะสงฆมหานกิ าย มที ดี่ นิ ต้ังวดั เนื้อท่ี 10 ไร 1 งาน 67 ตารางวา การสรางวัด ไดมีนายสุนทร สิทธิปกิจ เปนผูดําเนินการติดตอขออนุญาต ตอทางราชการ ไดรบั อนุญาตใหสรางวัดวันที่ 26 พฤศจิกายน 2523 กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศต้ังเปนวัดนับต้ังแตวันท่ี 22 ธันวาคม 2526 เปนวัดที่สรางขึ้น ๔๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook