Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยชั้นเรียน

วิจัยชั้นเรียน

Published by mulan_31, 2022-07-11 12:47:01

Description: วิจัยชั้นเรียน

Search

Read the Text Version

1 รายงานวิจัยในช้ันเรียน เรื่อง“เจตคตทิ ี่มตี อ วินัยในตนเองดา นวินัยในหองเรียน ความขยนั อดทนทางการเรยี นและแรงจงู ใจใฝส ัมฤทธิ์ทางการเรยี น” ของนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 โดย นายสุทธิเขต ขนุ เณร ปก ารศึกษา 2562 วิทยาลยั นาฏศิลปรอ ยเอ็ด สถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม

ก ช่ือเรอ่ื ง “เจตคตทิ มี่ ีตอ วินยั ในตนเองดา นวนิ ยั ในหอ งเรียน ความขยนั อดทนทางการเรยี นและ แรงจูงใจใฝสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น” ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 ปการศกึ ษา 2562 ช่อื ผวู จิ ยั นายสทุ ธิเขต ขนุ เณร ปก ารศึกษา 2562 บทคดั ยอ การพฒั นานกั เรยี นใหเปน บคุ คลท่มี ีคุณภาพ จำเปน ตองมีการพัฒนาดา นวนิ ยั ในตนเอง ดว ย เหตุนี้ผูวิจัยจึงมคี วามสนใจทีจ่ ะศึกษา เจตคติที่มีตอวินัยในตนเองดานวินัยในหองเรยี น ความขยัน อดทนทางการเรยี นและแรงจูงใจใฝสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

ข กิตติกรรมประกาศ รายงานวจิ ัยฉบบั นส้ี ำเรจ็ ลุลวงไดเ ปน อยา งดไี ดรบั การสนบั สนนุ จากนายศภุ รากร พานชิ กจิ ผูอำนวยการวทิ ยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ด ซงึ่ ผวู ิจัยขอขอบคณุ ในความกรณุ าเปนอยา งสงู ขอขอบคุณเพ่ือนรว มงานทุก ๆ ทา นท่ีใหค วามชว ยเหลอื ใหกำลังใจแกผวู ิจัยดว ยดีตลอดมา และขอขอบคุณนกั เรียนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 ที่ใหความรวมมอื ในการเปนกลุมตวั อยา ง นายสทุ ธเิ ขต ขุนเณร

สารบญั ค บทท่ี หนา กิตติกรรมประกาศ บทคดั ยอ 1 1 1 ภมู หิ ลงั 2 ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 2 ความสำคญั ของการศกึ ษาคน ควา 2 ขอบเขตของการศกึ ษาคน ควา 4 นยิ ามศัพทเฉพาะ 4 4 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกีย่ วขอ ง 5 ความหมายของเจตคติ 6 องคประกอบของเจตคติ 7 ความหมายของวินยั 7 ประเภทของวนิ ัย 8 คุณลักษณะของผูม วี นิ ยั ในตนเอง 9 การเสริมสรา งความมวี ินยั ในตนเอง 9 ความสำคัญ คุณคา และประโยชนของความมวี ินัยในตนเอง 10 ลักษณะของบุคคลทมี่ ีวนิ ยั ในตนเอง 10 ความอดทน 11 11 บทที่ 3 วิธดี ำเนินการศกึ ษาคน ควา 11 ขนั้ ตอนการดำเนินการวจิ ัย 11 ประชากรและกลมุ ตวั อยา ง 12 เคร่ืองมอื ทใ่ี ชในการวจิ ยั 16 การเกบ็ รวบรวมขอ มูล 17 การวเิ คราะหขอ มูล 21 22 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหขอ มูล บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผลและขอ เสนอแนะ การอภปิ รายผล ขอ เสนอแนะ ขอ เสนอแนะในการทำวิจยั ครัง้ ตอไป

บทที่ 1 บทนำ ภมู ิหลัง ในสังคมท่ีมกี ารพฒั นาในทุก ๆ ดาน ทั้งในดานเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง การพฒั นาเหลา นี้ จำเปน ตอ งอาศยั ปจจัยหลาย ๆ ประการเกือ้ หนุนกัน แตป จ จัยหลกั ของการพฒั นา จำเปนตอ งอาศัย ทรพั ยากรบุคคลท่มี คี ุณภาพ ซึ่งบคุ คลทม่ี คี ณุ ภาพนนั้ จะตองมีคุณสมบตั ทิ ้ังทางดา นสมรรถภาพทาง รา งกายแข็งแรงและจติ ใจทดี่ ี มสี ติปญ ญา มีความรูความสามารถ มคี วามอดทน ขยนั ขนั แข็ง ไมยอ ทอตอ ความยากลำบาก เผชิญปญหาและอุปสรรคดว ยความมุง ม่นั คุณสมบัติเหลานี้ จำเปนตองถูก หลอ หลอมใหเ กิดขน้ึ ในตัวบุคคลในรปู ของคำวา “วินยั ในตนเอง” วินยั ในตนเองเปน วฒั นธรรมของสงั คมทที่ กุ คนตองปฏบิ ัติ เพราะจะทำใหบ ุคคลอยูรว มกนั ได ดวยความสุข วินัยในตนเองนี้เปน คุณธรรมประการหนึง่ ทที่ กุ คนควรสรางขนึ้ สำหรับบังคบั พฤตกิ รรม ของตนเอง ทำใหคนเราบรรลุจุดหมายของชีวติ ประสบความสขุ ความเจรญิ ในชีวิต จึงเปนวินยั ท่ีครู ควรสรา งสรรคใหเ กิดแกเ ดก็ ในระดับมัธยมศกึ ษา เพราะถา เด็กมีวินยั ในตนเองนน้ั จะทำใหเ ดก็ ได ควบคมุ พฤติกรรมของตนใหเ ปนไปในทางท่ีดีงามและประสบความสำเร็จในชวี ติ จงึ ตองดำเนนิ การฝก ใหเกดิ ผลอยางจริงจัง เด็กนัน้ นับวา เปน ทรพั ยากรมนษุ ยที่สำคัญทส่ี ุดของประเทศ หากไมไ ดเ ตรียม พฒั นาเด็กใหเปน ทรัพยากรที่ดแี ลว การพัฒนาประเทศอาจจะเปน ไปไดไ มเ ตม็ ท่ี จะเห็นไดว า ความมี วนิ ัยในตนเองเปนลกั ษณะท่จี ำเปนตอ งปลูกฝง ใหกบั เยาวชน เมื่อเยาวชนมีวินัยในตนเองเปน พื้นฐาน และมวี นิ ัยตอ สังคม ผลท่ีสดุ กจ็ ะวินยั ตอประเทศชาตโิ ดยสว นรวม ซง่ึ จะทำใหป ระเทศชาตกิ าวหนา มากยิง่ ขึ้น ผวู ิจัยไดเห็นความสำคญั ของจรยิ ธรรม โดยเฉพาะพฤติกรรมดานวินยั ในตนเอง โดยเหน็ วา วินัยในตนเองเปนคณุ ลักษณะในตวั บคุ คลท่ีควบคุมตนเองได ทัง้ ในดานอารมณและพฤตกิ รรม ผูทม่ี ี วนิ ยั ในตนเองจะเปนบคุ คลทีร่ ูจกั กาลเทศะ สนใจและเอาใจใสตอ สังคม เปนผทู ี่มีระเบยี บและปฏิบตั ิ ตามกฎของสงั คม จากการศกึ ษาความหมายและขอบขา ยและพฤติกรรมของความมีวนิ ยั ในตนเอง ทำใหผูวิจัย เล็งเหน็ ความสำคญั ของวินยั ในหอ งเรยี น ความขยันอดทนและแรงจงู ใจใฝส ัมฤทธ์ิ ผูวจิ ยั จึงศกึ ษาเรื่อง “เจตคติทีม่ ีตอวินยั ในตนเองดา นวนิ ัยในหอ งเรยี น ความขยันอดทนทางการเรียนและแรงจูงใจใฝ สัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 5 ปก ารศกึ ษา 2562 วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปรอยเอ็ด

2 ความมุงหมายของการศึกษาคน ควา 1. เพือ่ ศกึ ษาเจตคติทมี่ ีตอ วนิ ยั ในตนเองดานวินยั ในหอ งเรยี น 2. เพอื่ ศกึ ษาเจตคติท่มี ตี อวนิ ัยในตนเองดา นความขยันอดทนทางการเรยี น 3. เพือ่ ศกึ ษาเจตคติทม่ี ตี อ วนิ ัยในตนเองดา นแรงจงู ใจใฝสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ความสำคัญของการศึกษาคนควา การศกึ ษาคน ควา คร้ังนจี้ ะทำใหทราบถึงเจตคติทม่ี ีตอวินยั ในตนเองดา นวินยั ในหองเรียน ความขยนั อดทนทางการเรยี นและแรงจงู ใจใฝสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษา ปท ่ี 5 ซงึ่ จะเปนประโยชนตอครูผูสอน ครูแนะแนว ผปู กครองในการนำปจ จัยท่ีสง ผลตอ พฤติกรรม ของนกั เรียนมาสรา งเสรมิ พัฒนานักเรยี นใหเปน บุคคลทมี่ คี ุณคา มีคุณประโยชนตอ สงั คมและ ประเทศชาติสบื ไป ขอบเขตของการศกึ ษาคน ควา 1. ประชากร ในการศึกษาคนควาเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 วิทยาลัยนาฏศิลป รอยเอ็ด สถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป กระทรวงวฒั นธรรม ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศึกษา 2562 จำนวน 90 คน 2. กลุม ตัวอยา งในการศึกษาครง้ั น้ี นักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 5 ที่เรยี นในรายวิชา ทฤษฎี นาฏศลิ ปไ ทย 3 ศ32225 วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปรอยเอด็ สถาบันบณั ฑิตพฒั นศลิ ป กระทรวงวฒั นธรรม ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศึกษา 2562 จำนวน 43 คน 3. ตัวแปรท่ีศกึ ษา 3.1 ตัวแปรอสิ ระ คือ เจตคติท่ีม่ีตอ วินยั ในตนเองไดแก 3.1.1 วนิ ัยในตนเองดา นวินยั ในหอ งเรยี น 3.1.2 ความขยันอดทนทางการเรียน 3.1.3 แรงจูงใจใฝสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 3.2 ตัวแปรตาม คอื - พฤติกรรมดานความมีวนิ ยั ในตนเอง นิยามศัพทเฉพาะ 1. ความมวี ินยั ในตนเอง หมายถงึ การกระทำของบคุ คลในการประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑ ของสงั คม และไมฝ า ฝน กฎเกณฑของสังคม 2. ความอดทน หมายถงึ ความเข็มแขง็ ความหนักแนน ของจติ ใจในการควบคุม อารมณ จติ ใจ รา งกาย ใหส ามารถเผชิญเหตกุ ารณตาง ๆ ได

3 3. แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ หมายถงึ ความมงุ ม่นั ของนกั เรียนที่จะทำพฤติกรรมใดพฤติกรรมหน่งี ใหส ำเรจ็ ลุลว งดวยดี ตามมาตรฐานสงู สดุ หรือเปนไปตามทน่ี กั เรยี นวางไว โดยนกั เรียนไดใชความ พยายามอยา งเตม็ ท่ี เมื่อมอี ุปสรรคก็คดิ หาทางแกไขโดยไมย อ ทอ

4 บทท่ี 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวของ ในการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับเจตคติที่มีตอวินัยในตนเองดานวินัยใน หองเรียน ความขยันอดทนทางการเรียนและแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปที่ 5 วิทยาลยั นาฏศลิ ปรอยเอด็ สถาบันบัณฑติ พฒั นศลิ ป กระทรวงวฒั นธรรม ภาคเรียน ที่ 1 ปการศกึ ษา 2562 ผูว ิจยั ไดจ ดั ลำดับตามสาระดังนี้ 1 ความหมายของเจตคติ 2. องคประกอบของเจตคติ 3. ความหมายของวินัย 4. ประเภทของวนิ ัย 5. คณุ ลักษณะของผมู วี นิ ัยในตนเอง 6. การเสริมสรางความมวี นิ ัยในตนเอง 7. ความสำคญั คุณคา และประโยชนของความมีวินยั ในตนเอง 8. ลกั ษณะของบคุ คลทีม่ วี ินยั ในตนเอง 9. ความอดทน 10. ความสำคญั และความหมายของความอดทน ความหมายของเจตคติ เจตคติเปน ความรูสกึ ของบุคคลทม่ี ตี อ สงิ่ ตาง ๆ อันเปน ผลเน่อื งมาจากการเรยี นรู ประสบการณ และเปน ตวั กระตนุ ใหบ คุ คลแสดงพฤตกิ รรมหรือแนวโนม ท่ีจะตอบสนองตอ สิง่ เราน้นั ๆ ไปในทศิ ทางหน่งึ อาจเปน ไปในทางสนบั สนุนหรือคดั คานก็ได ท้ังนีข้ ึ้นอยกู ับขบวนการการอบรมให การเรยี นรูระเบียบวิธขี องสังคม ซง่ึ เจตคตินจ่ี ะแสดงออกหรอื ปรากฏใหเห็นชัดในกรณีท่ีส่ิงเรานัน้ เปน ส่ิงเราทางสังคม องคป ระกอบของเจตคติ องคป ระกอบของเจตคตมิ ี 3 ประการ ไดแ ก 1. ดานความคิด ( Cognitive Component) หมายถึง การรับรแู ละวนิ ิจฉยั ขอ มลู ตาง ๆ ทีไ่ ดร ับ แสดงออกมาในแนวคดิ ที่วา อะไรถูก อะไรผิด

5 2. ดา นความรูส ึก ( Affective Component) หมายถึง ลกั ษณะทางอารมณของบคุ คลท่ี สอดคลองกบั ความคิด เชน ถา บคุ คลมีความคดิ ในทางทีไ่ มดีตอ สง่ิ ใด ก็จะมคี วามรูส ึกทไ่ี มดตี อ สิ่งน้นั ดว ย จึงแสดงออกมาในรปู ของความรสู ึกไมช อบหรือไมพอใจ 3. ดานพฤติกรรม ( Behavior Component) หมายถึง ความพรอ มท่ีจะกระทำซึง่ เปน ผลมาจากความคิดและความรสู ึกและจะออกมาในรูปของการยอมรับหรอื ปฏิเสธ การปฏบิ ตั ิหรือไม ปฏิบัติ ความหมายของวินยั คำวา วนิ ยั หรอื ตรงกบั คำศัพทภาษาองั กฤษวา Diacipine มผี ุใหค ำนิยามไวหลาย ลกั ษณะ อาทิ เชน พจนานุกรมราชบัณฑติ ยสถาน ไดใหค วามหมายของวนิ ยั ไว ดังน้ี วนิ ยั หมายความวา ระเบียบสำหรับกำกับความประพฤติใหเปนแบบแผนอันหนึง่ อันเดียวกนั เปน กฎระเบียบแบบแผน ขอ ตกลงที่สงั คมกำหนดใหบคุ คลประพฤติปฏบิ ัตติ ามเพื่อใหอยูรวมกันในสังคม ไดอยา งสนั ติสุข นอกจากนี้การใหนิยามของวินัย ยังมลี กั ษณะทแี่ ตกตางกนั ตามเงือ่ นไขของการใชค ำวา วินยั วามีความมุงหมายเพื่ออะไร เชน ในดานการศกึ ษา การใหคำนิยามของวินยั จะมคี วามหมายถงึ พฤตกิ รรมของครู ซ่งึ มเี จตนาท่ีจะสรางสรรคแ ละดำรงไวซง่ึ เงื่อนไขทีม่ ีความจำเปนทส่ี ุดในความเปน ระเบยี บเรียบรอย ในการเรียนการสอนและพัฒนาความสามารถในการควบคมุ ตนเองของผเู รียน ซึ่ง ระเบียบขอ บังคบั ตาง ๆ ท่สี ถาบันการศึกษาไดกำหนดข้นึ ใหผ ูเรยี นตองปฏิบติตาม ถาฝา ฝน จะตองมี การทำโทษตามกฎระเบยี บ ขอ บังคับท่ีกำหนดไว ทงั้ น้จี ากเอกสารการสอนวชิ าการบรหิ ารงานบคุ คลของมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าชได สรุปความหมายของวินัยไดเปน 2 แนวทาง คอื 1. ความหมายในทางรปู ธรรม หมายถึง ขอ ปฏิบัติ หรือ แบบสำหรับคนในองคก รในหมู ใน เหลา ในวงการแตล ะแหง โดยขอปฏิบตั ิหรอื แบบที่กำหนดไวส ำหรับสมาชกิ ในองคก รนั้น ๆ จะ เรยี กวา วนิ ยั อาทเิ ชน วนิ ยั ทหาร วินัยขาราชการพลเรือนสามญั ความหมายของวินยั ในทางรูปธรรม สามารถนำไปใชเ ปน หลักในทางปฏบิ ัตไิ ดวา 1.1 วนิ ัยในองคก รตา ง ๆ อาจมีลกั ษณะแตกตา งกนั ออกไป การกระทำอยางเดยี วกนั ใน องคก รหนึ่งอาจจะไมถ ือวาการปฏบิ ตั ิดงั กลาวเปนความผิด 1.2 ในการพจิ ารณาวา การกระทำใดผิดวนิ ยั หรือไม ตอ งพิจารณาวาเปนการกระทำที่ผิด ขอปฏิบัติ หรอื ผิดแบบของสมาชิดในองคก รนนั้ หรอื ไม ถาไมม กี ารกำหนดไวใ นขอปฏิบัติ จะไมถ อื วา เปนความผดิ หรอื ในกรณีกลับกันถาหากมขี อ ปฏบิ ัติกำหนดไวแ ละมกี ารฝาฝนก็ถอื วาผิดขอปฏิบัติ 1.3 ในการกำหนดระดับการลงโทษที่จะลงแกผูกระทำผดิ วนิ ยั จะตองพิจารณาการกำหนด ความหนกั เบาของโทษ โดยแตกตางกนั ออกไปในแตล ะองคกร

6 2. ความหมายในทางนามธรรม หมายถึง ลักษณะเชิงพฤตกิ รรม ( Behavior ) ท่ีแสดง ออกมาเปนการควบคมุ ตนเอง การยอมรับหรอื ปฏิบัติตามการนำ หรอื การบังคบั บญั ชา การมี ระเบียบและการอยใู นแบบแผน จากความหมายของวนิ ยั ในทางนามธรรม จะพบวา โดยแทจรงิ แลว วนิ ยั ท่ีตอ งการหาใชต วั ขอ ปฏิบัติ หรือตัวแบบแผนไม หากแตว นิ ัยท่ตี องการใหม ี คือ การควบคุมตน การปฏิบตั ติ าม ขอบงั คับ การอยูใ นแบบแผน การปฏิบตั ิตามการนำ การปฏบิ ัติตามการบังคบั บัญชา การมี ระเบียบและลกั ษณะเชิงพฤติกรรมดังกลาวจะแสดงออกมาดวยส่ิงทีม่ าจากพ้ืนฐานทางจติ ใจ ดวยเหตุ นี้ การทีจ่ ะทำใหทุกคนในองคก รมีวินัย จงึ จำเปนอยา งยิง่ ทต่ี องปรับพฤตกิ รรม ตอ งพฒั นาจิตใจ ตอง นำตองกำกบั ดว ย มใิ ชมุง แตจะพัฒนาหาทางกำหนดขอปฏบิ ัตหิ รอื ระเบยี บใหมีความครอบคลุมรดั กุม แตเพียงอยา งเดยี ว หรอื มงุ แตจ ะคอยลงโทษเมื่อมสี มาชกิ ในองคก รคนใดคนหนึง่ กระทำการฝาฝน ขอ ปฏิบัตหิ รอื ระเบียบขององคกร ประเภทของวินัย หลกั สำคญั ของวนิ ยั มไี วเพ่อื ควบคมุ พฤติกรรมของสมาชกิ ในสงั คมน้ัน ๆ ใหอ ยใู นกรอบ ปฏิบตั เิ ดียวกัน ดว ยเหตุทแ่ี ตล ะคนตางมีภมู หิ ลังที่แตกตา งกนั ไมวา จะเปนสภาวะแวดลอ ม ลกั ษณะ การอบรมเลีย้ งดู ตลอดจนความเชือ่ คานยิ มตา ง ๆ จงึ เปน สาเหตุหลกั ที่สง ผลใหสมาชิกในสงั คมแต ละบุคคลมคี วามแตกตางกัน ดังน้นั การมาอยรู วมกันจงึ อาจจะทำใหเ กดิ การกระทำตามความพึงพอใจ ของตนเอง ฉะน้นั การมีแนวทางปฏบิ ตั เิ ดียวกนั จึงเปนปจ จัยที่สำคัญในการรักษาไวซ่งึ ความสงบ เรียบรอยภายในสงั คม จงึ ไดมีการแบงประเภทของวินัยเปน 4 ประเภท คือ 1. วนิ ยั ในตนเอง 2. วินยั ในหองเรียน 3. วนิ ัยในโรงเรียน 4. วินัยทางสังคม แตโ ดยสวนใหญ แลว การแบง ประเภทของวนิ ัยโดยใชเ กณฑแหลง ทีม่ าของอำนาจท่ีใชใ น การควบคุมพฤติกรรม สามารถแบง ออกไดเ ปน 2 ประเภท ดงั น้ี 1. วนิ ยั ภายนอก หรือ สวนรวม หรอื วนิ ยั สำหรับหมคู ณะ ( External Authority Discipline ) วินยั ที่ออกมาจากอำนาจภายนอก เพ่อื บงั คบั ใหบุคคลทกุ คนในสงั คมปฏิบตั ิตามเพื่อ ความเปน ระเบยี บเรียบรอย ดงั นน้ั การทีบ่ คุ คลใดประพฤติปฏบิ ัติตามกด็ ว ยความเกรงกลัวอำนาจหรอื การลงโทษ จึงเปน การปฏบิ ัติตามที่บุคคลอยใู นภาวะจำยอมจากการถกู ควบคมุ เพื่อปอ งกันมใิ หเ กดิ การไมป ฏิบัตติ ามวินยั ซง่ึ ถกู กำหนด แตทัง้ น้ีโดยสวนใหญแลว วนิ ยั ประเภทน้ีจะตง้ั กฎเกณฑ แนวทางปฏบิ ตั ิไวเ ปน กลาง ๆ ดงั น้ันทุกคนจงึ สามารถประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามได

7 2. วินยั ในตนเอง ( Self - Discipline ) หมายถึง แนวทางท่บี คุ คลเลอื กปฏบิ ัติเพ่อื บงั คับ ตนเองใหป ฏบิ ัติตาม ทง้ั นเ้ี กดิ จากความสมัครใจโดยมิไดถกู บงั คับ ควบคมุ จากอำนาจภายนอกแต อยางใด และขอ ปฏิบตั ดิ ังกลาวจะตอ งไมข ดั ตอ กฎระเบียบของสงั คม ทั้งนีเ้ พอื่ เปาหมายหลักคือ การเกิดความสงบสขุ ภายในสงั คม วินยั ในตนเอง จึงเปน ความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณ และพฤตกิ รรมใหเปน ไป ตามความตองการของตน โดยมิไดเกิดจากการถูกบังคับจากอำนาจภายนอก หากแตเกิดจกาแรง กระตนุ ภายในของตวั บคุ คลนัน้ อันเปน ผลสืบเนอื่ งจากการเกิดการเรียนรวู าเปนคา นยิ มท่ดี ี ซ่งึ สอดคลองตามกฎเกณฑ ระเบยี บแบบแผนของสังคม และไมกอใหเกดิ ความยงุ ยากเดอื รอ นแก ตนเองและไมล ะเมดิ สทิ ธิของผูอ น่ื ทัง้ นี้ แมวาจะมีสิง่ เรา จากปจ จยั ภายนอกและภายใน กไ็ มเปน อุปสรรคในการทจี่ ะแสดงพฤติกรรมอยา งที่ตนหวังไว คณุ ลักษณะของผูมีวนิ ัยในตนเอง การทีบ่ คุ คลมวี นิ ยั ในตนเอง ยอมหมายถึง บุคคลนนั้ เปนผูมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ดว ยเหตุ ที่ วนิ ยั ในตนเอง คอื ลักษณะทมี่ ีความสำคัญตอ การแสดงออกทางคุณธรรมและจริยธรรม จงึ สรปุ ไดวา บุคคลทีม่ วี นิ ัยในตนเองควรมีคณุ ลักษณะและพฤติกรรมดังนี้ คอื มีความรบั ผิดชอบ มคี วาม เชื่อมัน่ ในตนเอง มคี วามต้งั ใจ มีความอดทน มีความเปน ผูนำ มคี วามซ่ือสตั ย ตรงตอ เวลา การเสริมสรางความมีวนิ ัยในตนเอง หากตองการทจ่ี ะปลูกฝงวินัยในตนเองควรที่จะเริ่มตนในวยั เดก็ เพราะพฤติกรรมในชว งวยั น้ี จะจดั อยูในประเภทพฤติกรรมที่ยงั ไมม ที ศิ ทางที่แนน อน ( Doubful Behavior) ซ่งึ การแสดง พฤตกิ รรมจะขึ้นอยกู ับสถานการณและองคป ระกอบทแี่ วดลอ ม ดังนน้ั จึงงายตอการปลูกฝง ความมี วนิ ัย และกระบวนการทเ่ี หมาะสมและไดผ ลดีทส่ี ุด คือ การถายทอดทางสังคม การตอ งการเสรมิ สรางระบบการสรางวินัยในตนเองทีด่ ี ไมค วรมงุ เนน ที่การลงโทษ อันเปน วถิ ที างที่จะสงผลกระทบในทางลงเสยี มากกวา หากแตการสรางวินัยในตนเองที่ดคี วรใชแนวทางใน การฝก อบรมหรอื ใหความรู ความเขาใจมากกวา โดยตองทำความเขา ใจวา เพราะเหตุใดจึงมีความ ตองการและความจำเปน ขององคก รในการท่ีตองการขอความรว มมอื จากสมาชิกในองคก ร ในสว น ของความมวี ินัยเพ่อื จะไดไปสจู ุดหมายรวมกัน โดยการเสริมสรางความมีวินัยในตนเองมี 4 แนวทาง ดังนี้ 1. เรียนรูและเขา ใจอยา งถองแทด ึงวนิ ยั ขององคก รท่ตี นเปน สมาชิกอยวู ามแี นวทางปฏิบัติ หรือหา มปฏิบตั ิอะไร อยางไรบาง 2. สำนกึ ในหนา ทวี่ า จะตอ งปฏิบัติตามแบบอยางหรอื ตองรกั ษาวนิ ยั ขององคกร

8 3. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของวนิ ยั วา จะสรา งความเจรญิ ความดีงามและความสำคญั ใหแกท ้งั ตนเองและองคก ร 4. ปฏิบตั ิตามขอ ปฏิบัติและละเวน การปฏิบตั ิในขอหา มอยางเครง ครัด กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ ไดแนะแนวทางในการสงเสริมความมวี ินยั ในตนเองไว ดังนี้ 1. สรา งบรรยากาศที่ผอนคลาย 2. ใหโอกาสเดก็ ทีจ่ ะริเริ่มทำกจิ กรรมอยางอสิ ระ 3. สนบั สนนุ ใหเ ดก็ มโี อกาสคิดและตัดสนิ ใจแกป ญ หาอยา งมีเหตุผล 4. เปดโอกาสใหเด็กชว ยกนั สรา งขอตกลง 5. แสดงความช่นื ชมเมอื่ เดก็ ปฏิบัติตามขอ ตกลง ใหกำลงั ใจและชวยเหลอื เดก็ ท่ี ไมสามารถปฏบิ ัติตามขอ ตกลงได 6. ทบทวนสง่ิ ทไ่ี ดก ระทำ โดยการถามหรือกลา วชมเชย ความสำคญั คุณคา และประโยชนข องความมวี ินัยในตนเอง คณุ คาของวินัย นั้นชวยใหก ลุมคนหรอื สังคมตา ง ๆ อยูรว มกนั ไดอ ยางสงบสขุ ซง่ึ วินยั ไมได หมายถงึ กฏเกณฑ หรอื ระเบยี บ ขอบงั คบั ในกลุมชนกลุมใดกลมุ หน่งึ เทานนั้ แตยังหมายถงึ กฏเกณฑหรอื ระเบยี บวนิ ยั ในตนเองดวย กลุมสังคมใดท่มี ีสมาชกิ ทม่ี ีวินยั ในตนเองมาก วินัยในสงั คม น้ันกอ็ าจไมจำเปน ท่จี ะตองสรางมากนัก เพราะทกุ คนในสงั คมจะมคี วามรับผิดชอบสงู และสามารถ ดำเนินชวี ติ อยูร ว มกันไดอยา งสงบสขุ ไมเบียดเบียนกัน และมคี วามเจรญิ กา วหนาไปอยา งดี จุดมุงหมายของวนิ ัยทัง้ หลายนน้ั มใิ ชการควบคุมพฤติกรรมของนกั เรียนใหเ ปนแนวทางท่ี ผใู หญต อ งการ แตจุดมุง หมายทแี่ ทจริงของวินยั คือ เพ่อื ใหเด็กเกิดความตอ งการทีจ่ ะกระทำสิ่งท่ีดี และเปนประโยชนแ กสงั คมดว ยตนเอง มใิ ชจากส่ิงที่อยูแวดลอมหรือการบงั คบั บัญชา วินัยท่ดี ีเกดิ ข้นึ จากแรงผลกั ดนั ภายในตัวเองมากกวา แรงบังคบั จากภายนอก คือ ความมวี นิ ยั ในตนเอง ประโยชนค วามมีวินัยในตนเอง - ชวยใหเ ดก็ มีพฤตกิ รรมเปน ระเบียบเรียบรอย - ชวยใหเดก็ มีความรบั ผิดชอบในหนาที่ของตนเอง - ชวยสรางความสามัคคีปรองดองใหเ กดิ ข้ึนในหมคู ณะ - ชว ยเสรมิ สรา งความเจริญกาวหนา ใหตนเอง - ชวยใหค รแู ละนักเรยี นอยูร ว มกนั อยา งมีความสขุ และประสบความสำเร็จในการเรยี น การสอน - ชว ยสง เสรมิ หลักการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย

9 ลกั ษณะของบคุ คลทม่ี ีวินัยในตนเอง วนิ ัยเปน สงิ่ สำคัญตอการพฒั นาเดก็ เพราะชวยตอเตมิ ความปรารถนาของเด็กใหเต็ม รวมทงั้ ใหเกิดการปรับตัวทางบุคลกิ ภาพและสังคมอยา งมีสุข บคุ คลทมี่ ีวินัยในตนเองจะมคี ณุ ลกั ษณะและ พฤตกิ รรม ดงั นี้ 1. มีความรบั ผดิ ชอบ 2. เชือ่ มน่ั ในตนเอง 3. มคี วามรสู กึ ผดิ ชอบ 4. ไมกงั วลใจ 5. มีความต้งั ใจจรงิ ใจคอมนั่ คง 6. มีลักษณะความเปน ผนู ำ 7. มคี วามซ่อื สตั ย จริงใจ มีเหตผุ ล 8. กลาคดิ กลาพูด กลาทำ 9. ม่ีความเห็นอกเห็นใจผอู นื่ และไมเ กรงใจโดยปราศจากเหตุผล 10. มคี วามอดทน ความอดทน ความสำคญั และความหมายของความอดทน ความอดทน คือ ความเขม็ แข็ง ความหนักแนนของจิตใจในการควบคุมอารมณ จิตใจ และ รางกายใหสามารถเผชญิ กับเหตกุ ารณต าง ๆ ได การท่บี ุคคลจะทำงานใหสำเร็จลุลวงไปไดต องอาศัยการฝก ฝน ความเพียรพยายามและที่ สำคัญตอ งมคี วามอดทนในสิง่ ที่ตนเองรับผดิ ชอบ เพือ่ งานส่ิงนั้นจะไดสำเรจ็ ลุลว ง การฝกความ อดทนมีหลายอยา ง เชน อดทนตอความลำบาก อดทนตอ ความทุกข อดทนตอ ความเจ็บใจ อดทน ตออำนาจกิเลส ฯลฯ การท่คี นเราจะมีระเบียบวินัยไดต องอาศยั ความอดทนในตวั เอง จงึ นำไปสูความเปน พลเมอื ง ท่ีดี ความอดทนจงึ เปนปจจยั สงเสรมิ ใหบุคคลเกิดวินยั ขน้ึ เชน การเขาแถวซ้ืออาหาร อดทนในการ ทำงานตา ง ๆ อดทนและทำตามกฎของบา นเมอื ง ผทู ่ีมวี นิ ยั ในตนเองสูง จะมคี วามรับผิดชอบสูง มี ความวติ กกังวลต่ำ มีความอดทน มเี หตุผลของตนเอง มคี วามยดื หยุนสในความคิดและพฤตกิ รรม ทางสงั คม

10 บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการศึกษาคน ควา การศึกษาคน ควาครงั้ น้ี มีวัตถปุ ระสงคเ พ่ือศกึ ษา “เจตคติที่มีตอวนิ ัยในตนเองดา นวนิ ยั ในหองเรยี น ความขยันอดทนทางการเรียนและแรงจงู ใจใฝส ัมฤทธท์ิ างการเรยี น ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 วิทยาลยั นาฏศลิ ปรอ ยเอ็ด สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม ไดด ำเนินการศึกษาตามลำดบั ดังนี้ 1. ขน้ั ตอนการดำเนินการวิจยั 2. ประชากรและกลมุ ตัวอยาง 3. เครื่องมือท่ใี ชใ นการวิจยั 4. การเกบ็ รวบรวมขอมลู 5. การวเิ คราะหข อ มลู 1. ข้ันตอนการดำเนนิ การวจิ ัย ผวู จิ ยั ไดก ำหนดขน้ั ตอนในการวิจยั ไวด ังนี้ 1. ศกึ ษาหลักการ ทฤษฏี แนวความคิดเกยี่ วกับความหมาย ประโยชน ลักษณะวินัยใน ตนเองดานวนิ ัยในหอ งเรียน ความขยนั อดทนและแรงจงู ใจใฝสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 2. กำหนดกรอบความคิดในการวิจยั ผวู จิ ัยไดกำหนดกรอบความคิด เพอ่ื ทำการศึกษา สภาพความมวี ินยั ในตนเองของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 วิทยาลัยนาฏศลิ ปรอยเอ็ด สถาบัน บณั ฑติ พัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม 3. กำหนดวตั ถุประสงค 4. กำหนดกลมุ ประชากร สำหรบั การวจิ ัยในคร้งั น้ี ไดกำหนดกลุม ประชากร คือ นกั เรยี น ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี 5 วทิ ยาลยั นาฏศิลปรอ ยเอด็ สถาบนั บัณฑติ พฒั นศิลป กระทรวงวฒั นธรรม ภาค เรยี นท่ี 1 ปการศึกษา 2562 จำนวน 90 คนกลมุ ตัวอยา งคอื นักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 วิทยาลัย นาฏศลิ ปรอ ยเอด็ สถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป กระทรวงวฒั นธรรม ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2562 จำนวน 43 คน 5. สรางเครอื่ งมอื การวจิ ัย การสรางเครื่องมอื การวิจัย ผูว จิ ัยศึกษาจากหลักการ ทฤษฎี แนวคดิ วัตถปุ ระสงค เพื่อจำแนกวาควรสรางเครื่องมือวัดดานใดบา ง ใหเหมาะสมกับสภาพของ นักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปรอยเอ็ด สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศลิ ป กระทรวง วฒั นธรรม ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศึกษา 2562 ท่ีตอ งการศึกษา 6. การเก็บรวบรวมขอ มลู ผวู จิ ัยนำเครือ่ งมอื ท่สี รางข้ึน ใหนกั เรยี นกลมุ ตวั อยา งไดต อบ

11 แบบสอบถามและเก็บขอมลู ดว ยตนเอง 7. การสรุปผลการวิจยั และนำเสนอผลการวจิ ัย โดยนำขอ มูลทไี่ ดมาวิเคราะหข อมูลและ เขียนสรุปผลการวเิ คราะหขอมลู 2. ประชากรและกลมุ ตัวอยา ง 1. ประชากร กลมุ ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 วิทยาลยั นาฏศิลปรอยเอ็ด สถาบนั บัณฑิต พฒั นศิลป กระทรวงวฒั นธรรม ภาคเรยี นที่ 1 ปการศกึ ษา 2562 จำนวน 90 คน 2. กลุมตวั อยา ง กลุมตวั อยาง คือ นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 วทิ ยาลัยนาฏศิลปรอ ยเอด็ สถาบันบัณฑิต พัฒนศิลป กระทรวงวฒั นธรรม ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศึกษา 2562 จำนวน 43 คน 3. เครอื่ งมอื ทใี่ ชในการวิจัย ในการวิจัยคร้งั นี้ เครอ่ื งมือท่ีใชเ ปนแบบสอบถาม ทผ่ี วู ิจัยสรา งข้ึน เพ่ือศึกษา เจตคตทิ ีม่ ตี อ วินัยในตนเองดานวินัยในหองเรียน ความขยนั อดทนทางการเรียนและแรงจูงใจใฝส ัมฤทธทิ์ างการ เรียน ของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 ปก ารศึกษา 2562 วิทยาลยั นาฏศิลปรอ ยเอ็ด สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป กระทรวงวฒั นธรรม โดยดำเนินการดงั นี้ 3.1 ศกึ ษาหลักการ ทฤษฏี แนวความคดิ เก่ียวกับความหมาย ประโยชน ลกั ษณะวนิ ยั ใน ตนเองดานวนิ ยั ในหองเรยี น ความขยันอดทนตอและแรงจงู ใจใฝสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 3.2 ผวู จิ ยั ไดกำหนดกรอบความคดิ เพอ่ื ทำการศึกษาสภาพความมีวินัยในตนเองของ นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 5 วิทยาลยั นาฏศลิ ปรอยเอด็ สถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป กระทรวง วฒั นธรรม การสรางเคร่อื งมือสำหรบั การวิจยั แบง แบบสอบถามออกเปน 3 สวน คือ 3.2.1 ความมวี นิ ัยในหองเรยี น 3.2.2 ความขยันอดทน 3.2.3 แรงจงู ใจใฝสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 4. การเก็บรวบรวมขอมูล ในการเกบ็ รวบรวมขอ มูล ผวู ิจยั นำเครือ่ งมอื ท่สี รางขน้ึ ใหนกั เรยี นกลุมตวั อยางไดต อบ แบบสอบถามและเก็บขอ มูลดวยตนเอง 5. การวเิ คราะหขอมลู ผวู จิ ัยใชคา รอยละในการวเิ คราะหข อ มูล

12 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข อ มลู ในบทนผ้ี วู จิ ยั จะนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ทีไ่ ดเ กบ็ รวบรวมขอมลู จากนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 5 ปก ารศึกษา 2562 วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปรอ ยเอ็ด สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป กระทรวงวัฒนธรรม ตามแนวทางการศึกษา เจตคติท่มี ตี อวนิ ัยในตนเองดา นวินยั ในหอ งเรียน ความขยันอดทนและแรงจูงใจใฝสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ตารางท่ี 1 เจตคติที่มตี อวินยั ในตนเองดา นวนิ ยั ในหองเรยี น ขอ คำถาม ทำประจำ ทำบางครงั้ ไมเคยทำ 1. ขณะเรียนวชิ าหนึง่ นกั เรียนมกั นำงานวิชาอน่ื ขน้ึ มาทำ 0 67.32 32.68 2. นักเรียนพูดคยุ กับเพ่อื นในขณะท่ีครูกำลงั สอน 11.24 85.67 3.09 3. นักเรียนสงการบานตรงตามเวลาท่ีครูกำหนด 58.05 37.86 4.09 4. เมอื่ นักเรยี นทำขอสอบไมได นกั เรียนแอบดขู อ สอบเพอื่ น 0 1.84 98.16 ในหอ งสอบ 5. นกั เรียนแอบนอนหลับในช่ัวโมงเรียน 3.86 9.61 86.53 6. นกั เรียนเลน กบั เพ่อื นขณะทค่ี รูสอน 7.69 9.61 82.70 7. นักเรยี นอา นหนงั สือการตนู ขณะท่ีครูสอน 0 5.77 94.23 8. นักเรยี นลอกการบา นเพื่อน 15.39 23.08 61.53 9. เมื่อใดท่ีรสู กึ ไมเ ขาใจ นกั เรยี นจะถามครู 13.46 53.85 32.69 จากตารางที่ 1 จากแบบสอบถามนักเรยี น เกย่ี วกับเจตคติที่มีตอวินัยในตนเองดา นวนิ ัย ในหอ งเรียน พบวา ขณะเรยี นวชิ าหนง่ึ นกั เรียนมักนำงานวิชาอืน่ ขึ้นมาทำ นกั เรียนที่ทำบางครง้ั มีคารอยละ มากทีส่ ดุ คิดเปน 67.32 % นกั เรยี นพดู คุยกับเพ่ือนในขณะทค่ี รกู ำลังสอน นกั เรียนที่ทำบางครัง้ มคี ารอยละมากทสี่ ุด คิดเปน 85.67 % นักเรียนสงการบานตรงตามเวลาทค่ี รกู ำหนด นักเรยี นทท่ี ำประจำ มีคารอ ยละมากท่ีสดุ คดิ เปน 58.05 %

13 เมอ่ื นักเรียนทำขอ สอบไมไ ด นักเรียนแอบดูขอ สอบเพื่อนในหอ งสอบ นักเรยี นที่ไมเ คยทำ มคี า รอยละมากที่สดุ คิดเปน 98.16 % นกั เรียนแอบนอนหลบั ในชั่วโมงเรียน นักเรียนท่ไี มเ คยทำ มีคารอ ยละมากท่สี ุด คิดเปน 86.53 % นกั เรียนเลน กบั เพื่อนขณะท่คี รูสอน นกั เรยี นทไี่ มเ คยทำ มคี ารอ ยละมากที่สุด คดิ เปน 82.70% นักเรยี นอานหนงั สอื การตนู ขณะที่ครสู อน นักเรียนที่ไมเคยทำ มีคารอยละมากที่สุด คิด เปน 94.23% นกั เรียนลอกการบานเพ่ือน นักเรยี นท่ีทำบางครั้ง มีคา รอยละมากที่สดุ คิดเปน 61.23 % เมื่อใดท่ีรสู กึ ไมเ ขาใจนักเรยี นจะถามครู มคี า รอยละมากท่ีสดุ คดิ เปน 53.85 % ตารางที่ 2 เจตคติที่มีตอวนิ ยั ในตนเองดานความขยนั อดทน ขอ คำถาม ทำประจำ ทำบางครั้ง ไมเ คยทำ 10. นกั เรียนทำการบานเสมอกอ นออกไปเลน 52.08 43.01 4.91 11. นกั เรียนหลกี เลย่ี งงานทคี่ ุณครูมอบหมาย 0 28.85 71.75 12. นักเรียนไมเ คยอดทนทำการบา น 15.39 30.76 53.85 13. ในการทดลอง นักเรียนจะพยายามทดลองจนเสรจ็ 48.96 42.86 8.18 14. เวลาใกลส อบ นกั เรยี นดูหนังสอื เอง โดยพอแมไ มตอ งบังคับ 36.73 51.02 12.24 15. เมือ่ นักเรียนทำผดิ จะพยายามแกไขโดยไมท อแท 36.73 53.06 10.20 จากตารางที่ 2 จากแบบสอบถามนักเรยี น เกย่ี วกบั เจตคตทิ ่ีมีตอวนิ ยั ในตนเองดา น ความขยันอดทน พบวา นักเรียนทำการบา นเสมอกอนออกไปเลน นักเรียนทที่ ำประจำและทำบางครั้งมจี ำนวนเทา กัน มคี า รอยละมากท่ีสุด คดิ เปน 43.01 % นักเรียนหลกี เล่ียงงานที่คุณครูมอบหมาย นักเรยี นทีไ่ มเคยทำ มีคารอ ยละมากที่สดุ คิดเปน 71.75 % นักเรยี นไมเ คยอดทนทำการบาน นกั เรยี นทไ่ี มเคยทำ มีคารอยละมากทสี่ ุด คิดเปน 30.76 % ในการทดลอง นักเรยี นจะพยายามทดลองจนเสร็จ นกั เรยี นท่ที ำประจำ มคี ารอยละมาก ทสี่ ดุ คดิ เปน 48.96 %

14 เวลาใกลส อบ นักเรียนดหู นงั สอื เอง โดยพอแมไ มต อ งบังคับ นกั เรียนทีท่ ำบางคร้งั มีคา รอ ยละมากท่ีสุด คดิ เปน 51.02 % เม่ือนกั เรยี นทำผดิ จะพยายามแกไขโดยไมทอ แท นกั เรยี นที่ทำบางคร้งั มคี ารอยละมาก ที่สดุ คิดเปน 53.06 % ตารางที่ 3 เจตคติที่มตี อวินยั ในตนเองดา นแรงจูงใจใฝส ัมฤทธท์ิ างการเรยี น ขอ คำถาม ทำประจำ ทำบางครงั้ ไมเคยทำ %%% 16. เม่อื มีการแขง ขนั นักเรียนจะพยายามอยางเตม็ ความสามารถ 67.35 20.41 12.24 เพราะตอ งการเปนผชู นะ 17. นักเรียนอยากประสบความสำเรจ็ ในการเรียน 69.39 24.49 6.12 18. ในการเรียนนักเรียนทุมเทอยางหนักเพือ่ ใหไ ดค ะแนนดี 53.06 40.82 6.12 19. นักเรยี นปฏบิ ัติตามคตปิ ระจำใจทวี่ า “ความพยายามอยูที่ 46.94 53.06 0 ไหน ความสำเรจ็ อยูที่นัน่ ” 20. ในวิชาใดก็ตาม เวลาสอบนกั เรียนจะพยายามอยางเต็มที่ใน 87.76 10.20 2.04 การสอบ 21. นกั เรยี นเตรียมวางแผนการเรยี นตั้งแตเปดภาคเรยี นในวนั แรก 30.61 51.02 18.37 เพอื่ จะไดเ รยี นดีที่สุด 22. นักเรยี นมีความพยายามอยางย่ิงทีจ่ ะทำอะไรใหด ี อยางที่ 51.02 44.90 4.08 ตัง้ ใจไว 23. ถา ผลการเรียนไมด ี นกั เรียนใชค วามพยายามมากย่ิงขึน้ 57.14 42.86 0 24. ในบทเรยี นที่ยาก ๆ นักเรยี นจะอานซำ้ หลาย ๆ คร้งั จน 40.82 55.10 4.08 เขา ใจแลว จึงผานไป 25. นกั เรียนพยายามหาความรูเพม่ิ เติมจากเอกสาร หรอื ตำราใน 34.69 48.98 16.33 หอ งสมดุ เมื่อมปี ญ หาเก่ยี วกับการเรียน ตารางท่ี 3 จากแบบสอบถามนกั เรียน เกี่ยวกบั เจตคตทิ ี่มีตอ วนิ ัยในตนเองดานแรงจงู ใจ ใฝสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เมอื่ มกี ารแขงขนั นักเรียนจะพยายามอยา งเต็มความสามารถ เพราะตอ งการเปน ผูชนะ นักเรียนท่ที ำประจำ มีคารอยละมากท่ีสุด คิดเปน 67.35 %

15 นักเรียนอยากประสบความสำเร็จในการเรียน นักเรยี นทีท่ ำประจำ มีคารอยละมากที่สุด คดิ เปน 69.39 % ในการเรียนนกั เรยี นทุม เทอยา งหนกั เพอื่ ใหไ ดค ะแนนดี นกั เรียนที่ทำประจำ มีคา รอยละ มากที่สุด คดิ เปน 53.06 % นักเรยี นปฏิบัติตามคตปิ ระจำใจทีว่ า “ความพยายามอยูท่ีไหน ความสำเรจ็ อยูท ่ีน่นั ” นกั เรียนทที่ ำบางครัง้ มีคารอ ยละมากท่ีสดุ คิดเปน 53.06 % ในวิชาใดก็ตาม เวลาสอบนกั เรยี นจะพยายามอยา งเตม็ ที่ในการสอบ นกั เรียนท่ีทำประจำ มีคา รอยละมากท่ีสุด คิดเปน 87.76 % นักเรียนเตรยี มวางแผนการเรียนต้งั แตเปดภาคเรยี นในวันแรก เพือ่ จะไดเรียนดีท่ีสุด นกั เรยี นท่ีทำบางครั้ง มีคารอยละมากทีส่ ดุ คดิ เปน 51.02 % นกั เรยี นมคี วามพยายามอยา งยง่ิ ที่จะทำอะไรใหดี อยา งทต่ี งั้ ใจไว นกั เรียนท่ีทำประจำ มี คา รอ ยละมากที่สดุ คิดเปน 51.02 % ถาผลการเรียนไมดี นกั เรียนใชความพยายามมากยง่ิ ข้นึ นักเรียนที่ทำประจำ มคี ารอยละ มากที่สุด คดิ เปน 57.14 % ในบทเรียนที่ยาก ๆ นกั เรยี นจะอานซำ้ หลาย ๆ คร้ัง จนเขา ใจแลวจึงผา นไป นกั เรียนทท่ี ำ บางครงั้ มีคา รอ ยละมากท่ีสดุ คดิ เปน 55.10 % นกั เรียนพยายามหาความรเู พ่มิ เตมิ จากเอกสาร หรอื ตำราในหองสมดุ เม่อื มีปญ หาเกย่ี วกับ การเรยี น นักเรียนทีท่ ำบางคร้งั มีคารอยละมากทสี่ ดุ คิดเปน 48.98 %

16 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ การพฒั นานกั เรยี นใหเ ปนบคุ คลที่มีคุณภาพ จำเปนตองมกี ารพัฒนาดานวนิ ัยในตนเอง ดว ย เหตุน้ผี วู ิจัยจึงมคี วามสนใจที่จะศึกษา เจตคติที่มีตอวนิ ัยในตนเองดา นวนิ ยั ในหอ งเรียน ความขยนั อดทนทางการเรียนและแรงจูงใจใฝสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยมจี ุดมุง หมายในการศึกษาดงั น้ี ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1. เพ่ือศกึ ษาเจตคติทีม่ ีตอวินัยในตนเองดานวนิ ยั ในหอ งเรยี น 2. เพอื่ ศึกษาเจตคติทมี่ ีตอวนิ ัยในตนเองดานความขยันอดทนทางการเรียน 3. เพอ่ื ศึกษาเจตคติทีม่ ตี อ วินยั ในตนเองดา นแรงจูงใจใฝสัมฤทธ์ิทางการเรยี น วธิ ดี ำเนนิ การศกึ ษาคนควา ประชากรและกลมุ ตัวอยา ง ประชากร กลมุ ประชากร คอื นกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 วิทยาลัยนาฏศิลปรอ ยเอ็ด สถาบันบัณฑิต พัฒนศิลป กระทรวงวฒั นธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2562 จำนวน 90 คน กลมุ ตวั อยา ง กลุมตัวอยาง คือ นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 วทิ ยาลยั นาฏศิลปรอ ยเอ็ด สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2562 จำนวน 43 คน ตัวแปรทศ่ี ึกษา ตวั แปรอิสระ คอื เจตคติทมี่ ่ีตอ วนิ ัยในตนเองไดแก 1. วนิ ัยในหองเรยี น 2. ความขยนั อดทนทางการเรียน 3. แรงจูงใจใฝสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ตัวแปรตาม คอื - พฤติกรรมดานความมวี นิ ยั ในตนเอง

17 เครอื่ งมือทใี่ ชใ นการวจิ ัย ในการวิจัยครงั้ นี้ เคร่อื งมอื ท่ใี ชเปน แบบสอบถาม ทผี่ วู ิจยั สรางข้ึน เพอื่ ศึกษา เจต คตทิ ่ีมีตอวินัยในตนเองดา นวินยั ในหองเรยี น ความขยันอดทนทางการเรยี นและแรงจงู ใจใฝส มั ฤทธ์ิ ทางการเรยี น ของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 5 ปการศกึ ษา 2562 วทิ ยาลัยนาฏศิลปรอ ยเอด็ สถาบันบัณฑิตพัฒนศลิ ป กระทรวงวฒั นธรรม โดยการสรางเครอื่ งมอื สำหรบั การวจิ ัย แบง แบบสอบถามออกเปน 3 สวน คือ 1. ความมวี ินยั ในหอ งเรียน 2. ความขยันอดทนทางการเรียน 3. แรงจูงใจใฝสัมฤทธิท์ างการเรยี น การเก็บรวบรวมขอมลู ในการเกบ็ รวบรวมขอมูล ผวู จิ ัยนำเครอ่ื งมอื ที่สรางขน้ึ ใหนกั เรียนกลุมตัวอยา งไดต อบ แบบสอบถามและเก็บขอมูลดว ยตนเอง การวเิ คราะหขอมูล ผูวจิ ัยใชคา รอยละในการวเิ คราะหขอมูล การอภิปรายผล จากผลการวเิ คราะหขอมูล สามารถนำผลการวจิ ัยมาอภปิ รายผล ไดดงั นี้ 1. เจตคตทิ ี่มีตอ วินยั ในตนเองดา นวินยั ในหอ งเรยี น พบวา 1.1 ขณะเรยี นวชิ าหนึง่ นักเรยี นมักนำงานวิชาอื่นขน้ึ มาทำ นกั เรยี นท่ีทำบางคร้ัง มคี า รอ ยละมากทสี่ ดุ คิดเปน 67.32 % สว นนักเรียนที่ไมเคยทำ คดิ เปน 32.68 % สวนนักเรียนท่ที ำ ประจำไมมเี ลย แสดงวา นกั เรยี นมีเจตคติท่ดี ตี อ การไมน ำวิชาอนื่ ๆ มาทำขณะท่เี รยี นวิชาหน่งึ อยู 1.2 นกั เรยี นพดู คยุ กับเพ่อื นในขณะท่คี รกู ำลังสอน นักเรยี นทท่ี ำบางครง้ั มีคารอ ยละมาก ทีส่ ดุ คดิ เปน 85.67 % นักเรียนทท่ี ำประจำมี 11.24 % สวนนักเรียนทีไ่ มเ คยทำมี 3.09 % แสดงใหเ หน็ วา นกั เรียนมกั ชอบพูดคยุ กันมากขณะทค่ี รสู อน เปนพฤติกรรมท่ตี องปรับปรงุ เพ่ือให บรรยากาศการเรยี นการสอนดีข้นึ นกั เรียนเกดิ การเรยี นรูอยางมคี ณุ ภาพ 1.3 นักเรยี นสงการบานตรงตามเวลาท่ีครกู ำหนด นกั เรียนทที่ ำประจำ มีคา รอยละมาก ทีส่ ดุ คดิ เปน 58.05 % สวน นักเรียนท่ีทำบางครั้ง และไมเ คยทำรวมกนั แลวมีถงึ 41.95 % แสดงใหเ หน็ วา นักเรยี น 2 กลุมหลงั นจ้ี ำเปน ตองไดรับการปรับปรงุ เจตคติเกย่ี วกับวินัยในตนเองดาน ความรับผดิ ชอบ มีวินยั ในตนเอง 1.4 เมอ่ื นักเรียนทำขอสอบไมได นกั เรยี นแอบดขู อสอบเพื่อนในหองสอบ นักเรยี นที่ไมเคย ทำ มีคารอ ยละมากท่ีสุด คดิ เปน 98.16 % นักเรียนท่ที ำบางครัง้ มี 1.84 % สว นนกั เรียนที่

18 ทำประจำไมม เี ลย แสดงวา นักเรียนมเี จตคติท่ดี ีมากท่จี ะไมก ระทำการแอบดูขอสอบเพอื่ นในหอง สอบ 1.5 นักเรียนแอบนอนหลับในชั่วโมงเรยี น นกั เรยี นทีไ่ มเคยทำ มีคารอยละมากที่สดุ คดิ เปน 86.33 % นักเรียนท่ที ำบางคร้ังมี 9.61 % สว นนักเรยี นทีท่ ำประจำมี 3.86 % แสดงวา นักเรียนมีเจตคตทิ ่ดี ี ไมป ระพฤติตนแอบนอนหลบั ในชว่ั โมงเรยี น สวนนักเรยี นทปี่ ฏิบัติตนใน ลักษณะดังกลา วบางและทำประจำ คงตอ งพจิ ารณาสาเหตขุ องการปฏิบัติและหาแนวทางแกไ ขตอ ไป 1.6 นักเรียนเลนกับเพ่ือนขณะทีค่ รูสอน นักเรยี นทีไ่ มเคยทำ มคี า รอยละมากที่สุด คดิ เปน 82.53% นกั เรยี นทที่ ำบางครง้ั มี 9.61 % สว นนักเรยี นท่ีทำประจำมี 7.86 % แสดงวา นักเรยี นมีเจตคตทิ ี่ควรไดรบั การปรบั พฤติกรรมเรือ่ งเก่ยี วกับการเลนกบั เพ่อื นขณะทีค่ รูสอน ซึ่ง อาจจะเปนลกั ษณะเฉพาะของวยั และเพศของนักเรยี น ตอ งจึงพิจารณาปรบั ลดพฤตกิ รรมดังกลาว 1.7 นักเรยี นอา นหนงั สอื การต ูน ขณะที่ครสู อน นักเรยี นท่ไี มเคยทำ มคี ารอยละมากท่สี ุด คดิ เปน 94.23% นักเรียนทที่ ำบางครัง้ มี 5.77% สว นนักเรียนทท่ี ำประจำไมมี แสดงวา นกั เรียนมี เจตคตทิ ด่ี ีตอการไมป ฏบิ ัติตนทีไ่ มเหมาะสม สวนนกั เรียนทที่ ำเปน บางครัง้ ควรท่จี ะไดรับการอบรมให พิจารณาถงึ ขอ เสียของพฤติกรรมดงั กลาวและงดเวนพฤติกรรมนเ้ี สีย 1.8 นกั เรยี นลอกการบา นเพ่ือน นักเรียนท่ีไมเคยทำ มีคารอยละมากท่ีสุด คดิ เปน 61.53 % นักเรียนทท่ี ำบางครง้ั มี 23.08 % สว นนักเรยี นทท่ี ำประจำมี 15.39% แสดงวายงั คงมี พฤตกิ รรมการลอกการบา นเพอื่ นอยอู กี พอควร จึงตอ งมีการหาสาเหตขุ องพฤตกิ รรมดังกลาวของ นักเรยี นวา เปนเพราะสาเหตใุ ด เชน เวลาเรียนนักเรยี นไมเขา ใจบทเรยี นจงึ ทำไมได การบานมาก จนทำไมท ัน นกั เรียนเกยี จครา นไมยอมทำแตกลัวความผดิ จงึ มาลอกการบานเพ่อื ใหมีสงครู ฯลฯ 1.9 เมอื่ ใดที่รูสกึ ไมเขาใจ นกั เรียนจะถามครู นักเรยี นทที่ ำบางครงั้ มีคา รอยละมากที่สดุ คดิ เปน 53.85 % นักเรยี นที่ทำประจำมี 13.46 % สว นนักเรยี นที่ไมเ คยทำมี 32.69 % แสดงวา นกั เรยี นมีแนวโนมทางเจตคตทิ ่ีดีตอการพัฒนาเรียนของตนเองใหด ีข้ึน เมอ่ื ไมเ ขา ใจนกั เรยี นตอ ง กลา ทจ่ี ะถามครู แตก ็ตองพฒั นาในกลุมนกั เรียนท่ีไมเคยทำเลย ใหมีพฤตกิ รรมดานนี้ใหมากขน้ึ จากการพจิ ารณาเจตคติทมี่ ีตอ วนิ ัยในตนเองดา นวนิ ัยในหอ งเรยี นของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษา ปท ่ี 5 พบวา สวนใหญม ีเจตคติทด่ี ถี งึ ดมี าก สวนกลมุ นกั เรยี นทยี่ งั มเี จตคตแิ ละพฤติกรรมที่ไมด ี สมควรทีจ่ ะคนหาสาเหตขุ องแตล ะบุคคลและในแตละกรณี เพอื่ ทำการพัฒนาศกั ยภาพของนักเรียน ตอไป 2. เจตคติทม่ี ีตอ วินัยในตนเองดา นความขยันอดทนทางการเรยี น พบวา 2.1 นกั เรยี นทำการบานเสมอกอนออกไปเลน นกั เรยี นทท่ี ำประจำ มคี ารอ ยละมากที่สุด คดิ เปน 52.08 % สวนนักเรยี นท่ไี มเ คยทำมี 4.91 % จากการพิจารณานกั เรยี นกลมุ ที่ทำบางคร้งั

19 และไมเคยทำ ควรไดร บั การพัฒนาตนเองดานความรับผดิ ชอบใหเปนผทู มี่ ีความรับผดิ ชอบตอ งาน ของตนเองใหม ากขน้ึ 2.2 นักเรียนหลีกเลย่ี งงานทีค่ ุณครมู อบหมาย นักเรียนทไ่ี มเคยทำ มีคารอยละมากที่สุด คิดเปน 71.75 % นักเรยี นทท่ี ำบางคร้ังมี 28.85 % สวนนกั เรียนท่ที ำประจำไมม ี แสดงวา นักเรยี นยังมเี จตคตเิ ร่ืองความรับผดิ ชอบตองานท่ีครมู อบหมายดี แตต องพิจารณาพฒั นานักเรยี นใน กลมุ นักเรยี นท่ีทำบางคร้ัง ใหม ีความถี่ของการหลีกเลี่ยงงานนอ ยลงใหม ากท่ีสดุ 2.3 นักเรยี นไมเคยอดทนทำการบาน นักเรียนทีไ่ มเคยทำ มีคารอยละมากทส่ี ุด คิดเปน 53.85 % นักเรียนทำบางครัง้ มี 30.76 % สวนนกั เรยี นที่ทำประจำมี 15.39 % แสดงวา นกั เรียนมีแนวโนม ทมี่ เี จตคติทด่ี ีตอการอดทนทำการบา น แตคงตอ งพัฒนาเจตคติของ นกั เรียนในกลุมท่ีทำประจำและทำบางครงั้ ใหมีความอดทนมากยงิ่ ข้ึน 2.4 ในการทดลอง นกั เรียนจะพยายามทดลองจนเสรจ็ นักเรียนที่ทำประจำ มีคารอยละ มากทสี่ ดุ คิดเปน 48.96 % นักเรยี นทำบางคร้ังมี 42.86 % นกั เรยี นทีไ่ มเคยทำ 10.22 % แสดงวา นักเรียนมีแนวโนม ทางเจตคติตอ ความพยายามในการทำการทดลอง สว นนกั เรียนในกลมุ ที่ ขาดความพยายามทำการทดลองจนเสร็จ ครูควรกระตุนใหน ักเรยี นเหน็ ความสำคญั ของการทำการ ทดลองใหสำเร็จ เพื่อทำข้ันตอนตอไปคือการสรุปผลการทดลองและอื่น ๆ 2.5 เวลาใกลส อบ นกั เรยี นดหู นงั สอื เอง โดยพอแมไมต อ งบังคับ นกั เรยี นทที่ ำบางคร้งั มคี ารอ ยละมากท่ีสดุ คิดเปน 51.02 % นักเรียนทที่ ำประจำมี 36.73 % นกั เรียนท่ไี มเคยทำ 12.24 % แสดงวา นักเรยี นมีแนวโนม เจตคตทิ ี่มพี ฤติกรรมในดานความรับผิดชอบตอตนเอง แต ตองกระตุน นกั เรยี นในกลมุ ทที่ ำบางคร้งั ใหรูจักหนา ทขี่ องตนเองและกระทำหนาที่ของตนเองใหด ี ขนึ้ รวมทง้ั พัฒนานักเรยี นในกลุมทไี่ มเคยทำ ใหมพี ฤติกรรมความรบั ผดิ ชอบในการดหู นงั สอื สอบ โดยไมตอ งมใี ครมาบงั คับ 2.5 เมอ่ื นกั เรยี นทำผิด จะพยายามแกไขโดยไมทอแท นกั เรียนท่ที ำบางครัง้ มีคารอยละ มากทส่ี ุด คิดเปน 53.06 % นักเรียนท่ีทำประจำมี 36.73 % นกั เรยี นท่ไี มเ คยทำ 10.20 % แสดงวา เมือ่ นกั เรยี นทำผดิ แลว นกั เรียนมแี นวโนมทีจ่ ะพยายามแกไขตนเองใหดีขึ้น สว นในกลมุ ที่ ไมเคยทำ ไมพยายามแกไขขอ บกพรองของตนเองครูควรอบรมชแี้ จงให จากการพิจารณาเจตคติท่ีมีตอวินยั ในตนเองดา นความขยนั อดทนทางการเรยี น ของนกั เรยี น ช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 5 พบวา สว นใหญม แี นวโนม ทางเจตคตทิ ี่ดี สวนนักเรียนในกลมุ ทยี่ งั มีเจตคติที่ไม ดนี นั้ ครคู วรตองอบรมชี้แจงใหนักเรียนเหน็ คุณคา คุณประโยชนข องความอดทนในการทำงาน ความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเองในการทำงานในหนาท่แี ละตองกระทำอยา งเต็มที่ ไมย อทอตอ ความ ยากลำบาก มีความอดทน อดกลนั้ ตอ ปญ หาและอปุ สรรคตาง ๆ รวมทั้งช้ใี หเปนถึงผลท่ีเกิดจาก ความสำเร็จในการทำงาน ยกตัวอยา งบุคคลทปี่ ระสบความสำเรจ็ ในการทำงานและความสำเร็จใน

20 ชวี ิตท่ีไดรับความชน่ื ชม ยกยอ งจากคนรอบขางและสังคม เพื่อใหนกั เรยี นในกลมุ นี้มแี นวโนม เจตคติท่ี มีตอวินัยในตนเองดานความขยันอดทนทางการเรียนดขี น้ึ 3. เจตคติทมี่ ีตอ วนิ ัยในตนเองดา นแรงจงู ใจใฝส ัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.1 เจตคตทิ มี่ ตี อ วินยั ในตนเองดานแรงจูงใจใฝสมั ฤทธ์ิตอ ความสำเร็จทางการเรยี น - เมอื่ มีการแขงขนั นกั เรยี นจะพยายามอยา งเต็มความสามารถ เพราะ ตองการเปนผชู นะ นกั เรยี นท่ที ำประจำ มีคารอ ยละมากทีส่ ดุ คดิ เปน 67.35 % นักเรยี นทท่ี ำ บางครง้ั มี 20.41 % นกั เรยี นที่ไมเ คยทำ 12.24 % - นักเรยี นอยากประสบความสำเร็จในการเรียน นกั เรียนที่ทำประจำ มีคา รอ ยละมากท่ีสดุ คดิ เปน 69.39 % นักเรยี นที่ทำบางครั้ง คดิ เปน 24.49 % สวนนกั เรยี นที่ไม เคยทำ คิดเปน 6.12 % - ในการเรยี นนักเรยี นทุม เทอยา งหนกั เพ่ือใหไ ดค ะแนนดี นักเรียนที่ทำ ประจำ มคี า รอ ยละมากท่ีสุด คิดเปน 53.06 % นักเรยี นที่ทำบางครัง้ คิดเปน 40.82 % สว นนกั เรยี นท่ีไมเคยทำ คิดเปน 6.12 % จากทัง้ 3 ขอขา งตน หากพิจารณาในภาพรวมจะเห็นไดวา นักเรียนมีเจตคตทิ ี่จะเปน ผทู ี่ ประสบความสำเรจ็ หรือใหไ ดร ับชัยชนะทั้งนกั เรยี นทท่ี ำประจำและทำเปนบางครัง้ สว นนกั เรียนทีไ่ ม เคยทำมอี ยูจำนวนหนึง่ ทคี่ รูตองกระตุน ใหเปนผูท่ีอยากประสบความสำเรจ็ โดยอาจจะเริม่ ตน จาก การไดรบั คำชมเชยจากการประสบความสำเรจ็ ในระดับและประเภทของความถนดั หรือความสามารถ ทแ่ี ตกตา งกนั ของนักเรยี นแตล ะคน เชน ศิลปะ ดนตรี กีฬา วิชาการ หรอื กจิ กรรมการบริการ (ลกู เสอื ) ฯลฯ 3.2 เจตคติท่ีมตี อ วินัยในตนเองดา นแรงจงู ใจใฝสัมฤทธ์ิตอ ความพยายามทางการเรียน - นกั เรียนปฏิบัติตามคติประจำใจที่วา “ความพยายามอยูทีไ่ หน ความสำเรจ็ อยู ท่ีนั่น” นักเรียนท่ที ำบางคร้งั มคี ารอ ยละมากที่สุด คิดเปน 53.06 % นักเรียนทที่ ำประจำ คิด เปน 46.94 % สวนนกั เรียนที่ไมเคยทำไมม ี - ในวชิ าใดก็ตาม เวลาสอบนักเรยี นจะพยายามอยา งเตม็ ที่ในการสอบ นักเรียน ท่ที ำประจำ มคี ารอ ยละมากท่ีสุด คดิ เปน 87.76 % นกั เรียนท่ีทำบางคร้งั คดิ เปน 10.20 % สว นนกั เรียนทไี่ มเ คยทำ คิดเปน 2.04 % - ถา ผลการเรยี นไมด ี นกั เรยี นใชความพยายามมากยง่ิ ขึ้น นกั เรียนทีท่ ำประจำ มคี า รอยละมากท่ีสดุ คิดเปน 57.14 % นกั เรยี นท่ีทำบางครงั้ คดิ เปน 42.86 % สว น นกั เรยี นท่ีไมเคยทำไมมี - นักเรยี นมคี วามพยายามอยางย่ิงท่จี ะทำอะไรใหดี อยางทต่ี ัง้ ใจไว นักเรียนที่ ทำประจำ มีคารอยละมากท่ีสุด คิดเปน 51.02 % นกั เรยี นทที่ ำบางคร้ัง คิดเปน 44.90 % สวนนกั เรยี นท่ีไมเคยทำ คดิ เปน 4.08 %

21 - ในบทเรยี นทย่ี าก ๆ นักเรยี นจะอา นซำ้ หลาย ๆ ครั้ง จนเขาใจแลว จึงผานไป นกั เรียนทที่ ำบางคร้งั มคี า รอ ยละมากทสี่ ุด คดิ เปน 55.10 % นกั เรยี นทีท่ ำประจำ คดิ เปน 40.82 % สว นนกั เรียนท่ไี มเ คยทำ คิดเปน 4.08 % - นกั เรยี นเตรียมวางแผนการเรยี นต้งั แตเปด ภาคเรียนในวนั แรก เพื่อจะไดเ รียน ดีทีส่ ุด นักเรียนท่ที ำบางครั้ง มีคา รอ ยละมากท่ีสุด คดิ เปน 51.02 % นกั เรียนที่ทำประจำ คิดเปน 30.61 % สว นนกั เรยี นทไี่ มเคยทำ คิดเปน 18.37 % - นักเรยี นพยายามหาความรเู พิม่ เตมิ จากเอกสาร หรอื ตำราในหองสมดุ เม่อื มี ปญหาเกีย่ วกบั การเรียน นักเรียนทีท่ ำบางครง้ั มีคารอ ยละมากที่สุด คิดเปน 48.98 % นักเรยี น ทท่ี ำประจำ คิดเปน 34.69 % สวนนักเรียนที่ไมเคยทำ คิดเปน 16.33 % จากขอ ขา งตน หากพิจารณาในภาพรวมจะเหน็ ไดวา เจตคตทิ ม่ี ตี อ วนิ ยั ในตนเองดา น แรงจูงใจใฝส มั ฤทธ์ิตอ ความพยายามทางการเรยี น นกั เรยี นมีแนวโนม ทจ่ี ะมคี วามพยายามทางการ เรียนอยา งเตม็ ท่ี ทำส่งิ ที่ดี เหมาะสมอยางท่ตี ัง้ ใจไว พยายามท่จี ะพฒั นาตนเอง ใฝหาความรูด ว ย ตนเอง ท้ังจากตำราเรียน คนควาในหองสมดุ รวมทงั้ การฝก ทักษะจากบทเรยี นที่ยาก การวางแผน การเรียนท่ดี ตี งั้ แตต นปก ารศกึ ษา สว นนักเรยี นท่ีไมเ คยทำมีจำนวนนอ ย ซึง่ ในนกั เรียนกลมุ นี้ จำเปน ตอ งไดรับการพัฒนาเจตคตทิ ี่ใหน กั เรยี นเห็นเปาหมาย คณุ ประโยชน คณุ คา ของความพยายาม รวมทงั้ การยอมรับของสังคมท่มี ตี อ ผูท่ีมคี วามพยายาม รวมท้งั กระตนุ นักเรียนทม่ี ีผลการเรยี นไมดี ใหมีความพยายาม ขยันหมั่นเพียรในดานการเรียน ใหน กั เรยี น ตระหนกั ในการวางแผนทางดา นการเรยี น มคี วามมุงมัน่ มแี รงจงู ใจใฝสมั ฤทธท์ิ างการเรียน และหาก ไดป ฏบิ ตั ติ นจนเปนนสิ ยั กจ็ ะเปนผูทม่ี ีความสำเร็จในชีวิตตามที่ตนไดม งุ หวังไวอ ยางแนนอน ขอ เสนอแนะ ผวู จิ ัยขอเสนอแนะแนวทางเพอ่ื นำขอ คน พบในการวิจัยไปใชในการพัฒนาการเรยี นการสอน คอื 1. ครคู วรศึกษาธรรมชาตขิ องเพศและวยั ของนักเรียน ประกอบกับพฤตกิ รรมของนกั เรียน เพือ่ พฒั นาเจตคตทิ ม่ี ตี อ วนิ ยั ในตนเองดา นวนิ ยั ในหองเรียน ความขยันอดทนทางการเรยี นและ แรงจูงใจใฝส ัมฤทธท์ิ างการเรยี น 2. ครูควรใชจิตวิทยาในการโนม นาวจิตใจใหน ักเรียนใหค วามรวมมือในการพฒั นาเจตคติ ทด่ี ี รวมทัง้ เหน็ คณุ คาของการปรบั เจตคติ

22 ขอ เสนอแนะในการทำวิจัยครง้ั ตอ ไป 1. การวจิ ยั ครงั้ ตอ ไป ควรศึกษาเจตคติที่มตี อ วนิ ัยในตนเองดา นวินัยทางสังคม 2. การวจิ ัยครัง้ ตอ ไป ควรศึกษาปจจัยที่มีผลตอ การพัฒนาเจตคติที่ดีของนักเรียน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook