Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จรรยา คำดี

จรรยา คำดี

Published by วิทย บริการ, 2022-07-12 02:01:44

Description: จรรยา คำดี

Search

Read the Text Version

40 2. คาrเปนบวกแสดงวา XและYมีความสัมพนั ธใ นทิศทางเดยี วกนั คือถาXเพมิ่ Yจะเพม่ิ แตถา X ลด Y จะลด 3. คา rเขาใกล 1แสดงวาX และYมีความสมั พนั ธในทศิ ทางเดียวกันและมีความสมั พันธกนั มาก 4. คาrเขาใกล- 1แสดงวาX และYมคี วามสมั พันธในทิศทางตรงขา มและมคี วามสมั พนั ธกนั มาก 5. คา rเทา กบั 0แสดงวา X และYไมมคี วามสัมพันธก นั เกณฑในการพิจารณาความสัมพันธ คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) ดังนี้ ± 0.81 ถึง ±1.00 หมายถึง มีความสัมพันธระดับสูงมาก ± 0.61 ถึง ±0.80 หมายถึง มีความสัมพันธระดับสูง ± 0.41 ถึง ±0.60 หมายถึง มีความสัมพันธระดับปานกลาง ± 0.21 ถึง ±0.40 หมายถึง มีความสัมพันธระดับตาํ่ ± 0.00 ถึง ±0.20 หมายถึง มีความสัมพันธระดับตาํ่ มาก มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหขอมูล การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลการวิจัย เรื่อง ความสัมพันธความฉลาดทางอารมณของ ผูบริหารสถานศึกษากับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีวัตถุประสงคเพ่ือ 1) ศึกษาความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน 3) ศึกษาความสัมพันธความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร สถานศึกษา กับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ราชบรุ ี เขต 1 ผูวจิ ัยนาํ เสนอตามลําดบั ดังนี้ 1. สญั ลกั ษณท ี่ใชใ นการวเิ คราะหข อ มูล 2. การวเิ คราะหขอ มูล 3. ผลการวิเคราะหขอมลู มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง สญั ลกั ษณทใ่ี ชในการวเิ คราะหขอ มูล ในการเสนอผลการวิเคราะหขอมูลการวิจัย และเพื่อใหเกิดความเขาใจที่ตรงกัน ผูวิจัยจึงได กาํ หนดสญั ลกั ษณมาใชใ นการวเิ คราะหข อมลู ดงั น้ี n แทน จาํ นวนกลุมตัวอยา ง Χ แทน คาเฉล่ยี S.D. แทน สวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน r แทน คาสัมประสทิ ธ์ิสหสัมพนั ธแบบเพยี รสัน X แทน ความฉลาดทางอารมณของผูบรหิ ารสถานศึกษา X1 แทน ตระหนักรูจักอารมณตน X2 แทน จดั การอารมณข องตน X3 แทน สรางแรงจูงใจทีด่ ีแกต นเอง X4 แทน สามารถรบั รูอ ารมณของผูอ่ืน X5 แทน การมที ักษะทางสังคม Xtot แทน ความฉลาดทางอารมณข องผูบรหิ ารสถานศกึ ษา Y แทน ผลการปฏบิ ัติงานของครผู สู อน Y1 แทน การปฏิบตั ิหนาทีค่ รู Y2 แทน การจัดการเรยี นรู Y3 แทน ความสมั พนั ธก ับผปู กครองและชมุ ชน Ytot แทน ผลการปฏบิ ัติงานของครูผูส อน ** แทน มีความสมั พันธอ ยางมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิท่ีระดับ .01

42 การวิเคราะหข อมลู เพื่อใหก ารวเิ คราะหข อ มูลตรงตามขอ มลู วัตถุประสงคการวิจัย ในการวิจัยครั้งน้ีไดใชสถิติในการ วิเคราะหข อมลู ดังน้ี 1. วิเคราะหข อมลู เกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ซ่ึงถามรายละเอียดเกี่ยวกับ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตําแหนงปจจุบัน และขนาดสถานศึกษา ใชคาความถ่ี (frequency) และคารอยละ (percentage) 2. การวิเคราะหระดับความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษาและผลการปฏิบัติงาน ของครูผูสอน ใชค าเฉลย่ี ( Χ ) และสว นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) 3. การวิเคราะหความสัมพันธระหวางความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากับผล การปฏิบัติงานของครูผูสอน ใชการวิเคราะหคาสหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ผลการวิเคราะหขอ มลู ตอนที่ 1 สถานภาพของผูต อบแบบสอบถาม การวเิ คราะหขอมูลสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ตําแหนง และขนาดสถานศึกษา ของผูตอบแบบสอบถาม ใชการแจกแจงความถี่ (frequency) และ คารอยละ (percentage) แลวนําเสนอในรปู ตารางประกอบความเรยี ง ดังรายละเอยี ดที่แสดงในตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จาํ นวน (คน) รอยละ ลําดับ ขอที่ สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม 102 41.50 2 1 เพศ 144 58.50 1 1. ชาย 246 100.00 2. หญงิ 36 14.60 4 รวม 81 32.90 1 2 อายุ 59 24.00 3 1.นอยกวา 30 ป 70 28.50 2 2. 31–40 ป 246 100.00 3. 41–50 ป 4. มากกวา 50 ปข ึ้นไป รวม

43 ตารางท่ี 3 (ตอ) ขอท่ี สถานภาพของผตู อบแบบสอบถามมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงจํานวน (คน)รอยละลาํ ดบั 3 ระดบั การศึกษา 65 26.40 2 169 68.70 1 1. ปริญญาตรี 12 4.90 3 2. ปรญิ ญาโท 246 100.00 3. ปริญญาเอก 98 39.80 2 148 60.20 1 รวม 246 100.00 4 ตาํ แหนงปจจบุ ัน 114 46.30 2 124 50.40 1 1. ผูบ รหิ ารสถานศึกษา 8 3.30 3 2. ครผู ูส อน 246 100.00 รวม 5 ขนาดสถานศึกษา 1. ขนาดเล็ก 2. ขนาดกลาง 3. ขนาดใหญ รวม จากตารางท่ี 3 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ เปนเพศหญิง จํานวน 144 คน คิดเปนรอยละ 58.50 เปนเพศชาย จํานวน 102 คน คิดเปนรอยละ 41.50 เปนผูท่ีมีอายุ 31–40 ป มากที่สุด จํานวน 81 คน คิดเปนรอยละ 32.90 รองลงมาคือมากกวา 50 ปข้ึนไป จํานวน 70 คน คิดเปนรอยละ 28.50 อายุ 41-50 ป จํานวน 59 คน คิดเปนรอยละ 24.00 และเปนผูท่ีมีอายุนอยกวา 30 ป นอยท่ีสุด จํานวน 36 คน คิดเปนรอยละ 14.60 สวนระดับการศึกษาพบวาจบการศึกษาระดับปริญญาโท มากที่สุด จํานวน 169 คน คิดเปนรอยละ 68.70 รองลงมาจบการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 65 คน คิดเปนรอยละ 26.40 และจบ การศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 4.90 ตําแหนง ปจจุบันของผูตอบแบบสอบถาม สวนใหญเปนครูผูสอน จํานวน 148 คน คิดเปนรอยละ 60.20 และผูบริหารสถานศึกษา จํานวน 98 คน คิด เปนรอยละ 39.80 มีขนาดสถานศึกษา ขนาดกลาง จํานวน 124 โรงเรียน คิดเปนรอยละ 50.40 รองลงมาคือ ขนาดเล็ก จํานวน 114 โรงเรยี น คดิ เปน รอ ยละ 46.30 และขนาดใหญ จํานวน 8 โรงเรียน คิดเปนรอยละ 3.30 ตามลาํ ดบั

44 ตอนท่ี 2 ความฉลาดทางอารมณของผูบรหิ ารสถานศึกษา สงั กัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1 ในการวิเคราะหระดับความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1 ผวู ิจัยวิเคราะหโ ดยใชค าเฉลยี่ ( Χ ) และสว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) จากกลุมตัวอยาง 246 คน แลวนาํ ไปเปรียบเทยี บกบั เกณฑตามแนวคิดของเบสท (Best) ท่กี าํ หนดไว มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตารางที่ 4 คาเฉลยี่ สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความฉลาดทางอารมณข องผบู ริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 โดยภาพรวม ความฉลาดทางอารมณข องผูบรหิ าร Χ S.D. คาระดบั ลําดับ สถานศกึ ษา 1. ดานตระหนกั รูจกั อารมณตน 4.38 0.38 มาก 1 2. ดา นจัดการอารมณข องตน 4.27 0.57 มาก 3 3. ดานสรา งแรงจูงใจทด่ี แี กตนเอง 4.38 0.47 มาก 2 4. ดานสามารถรบั รอู ารมณข องผอู ่ืน 4.13 0.35 มาก 5 5. ดา นการมีทกั ษะทางสงั คม 4.14 0.47 มาก 4 รวม 4.26 0.32 มาก จากตารางท่ี 4 พบวา ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 โดยภาพรวมอยูในระดับมาก ( Χ =4.26, S.D. = 0.32) และเมื่อแยก พิจารณาเปนรายดาน พบวาอยูในระดับมากทุกดาน โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอยดังน้ี ดาน ตระหนักรูจักอารมณต น ( Χ =4.38, S.D.=0.38) ดา นสรางแรงจงู ใจทีด่ ีแกตนเอง ( Χ =4.38, S.D.=0.47) ดาน จดั การอารมณของตน ( Χ = 4.27, S.D.=0.57) และดานสามารถรบั รูอารมณของผูอืน่ ( Χ =4.13, S.D.=0.35)

45 ตารางท่ี 5 คา เฉล่ยี สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดับความฉลาดทางอารมณข องผูบริหารสถานศึกษา สังกดั สาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 ดานตระหนักรูจักอารมณต น ความฉลาดทางอารมณข องผูบ รหิ าร Χ S.D. คา ระดับ ลาํ ดบั มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงสถานศึกษา 4.27 0.44 มาก 4 1. ผูบ รหิ ารสถานศกึ ษาเขา ใจอารมณและความคิด 4.40 ของตนเอง 4.26 0.49 มาก 2 2. ผูบรหิ ารสถานศกึ ษาควบคุมอารมณของตนเอง ไดเม่ือเกิดอารมณทบี่ ่ันทอนตอ การทาํ งาน เชน 4.38 0.44 มาก 5 โกรธ เสยี ใจ เปนตน 4.59 3. ผบู รหิ ารสถานศึกษาเขาใจความรูสึกของตนเอง 4.38 0.48 มาก 3 และซาบซงึ้ ในอารมของผูอน่ื เมอื่ เผชิญกบั 0.49 มากท่ีสุด 1 สถานการณตาง ๆ 0.38 มาก 4. ผูบริหารสถานศกึ ษาตระหนกั ไดวา ความรสู ึก เหลา นสี้ ามารถใหขอมูลท่เี ปนประโยชนเ ก่ียวกับ การตดั สนิ ใจทีย่ ากลําบากได 5. ผบู ริหารสถานศกึ ษาสามารถปรบั ตนเองให ดําเนนิ งานภายใตส ภาวะกดดันได รวม จากตารางท่ี 5 พบวา ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ดานตระหนักรูจักอารมณตน อยูในระดับมาก ( Χ =4.38, S.D.=0.38) และเม่ือแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวา มี 1 ดาน อยูในระดับมากท่ีสุด และมี 4 ดานอยูในระดับมาก โดย เรียงลําดับคา เฉล่ยี จากมากไปหานอยดังนี้ ผูบริหารสถานศึกษาสามารถปรับตนเองใหดําเนินงานภายใตสภาวะ กดดันได ( Χ =4.59, S.D.=0.49) ผูบริหารสถานศึกษาควบคุมอารมณของตนเองไดเมื่อเกิดอารมณท่ีบั่นทอน ตอ การทาํ งาน เชน โกรธ เสียใจ เปนตน ( Χ =4.40, S.D.=0.49) ผูบริหารสถานศึกษาตระหนักไดวาความรูสึก เหลานี้สามารถใหขอมูลที่เปนประโยชนเกี่ยวกับการตัดสินใจที่ยากลําบากได ( Χ =4.38, S.D.=0.48) และ ผบู ริหารสถานศึกษาเขาใจความรูสึกของตนเองและซาบซึ้งในอารมของผูอ่ืน เม่ือเผชิญกับสถานการณตาง ๆ มี คา เฉลยี่ นอ ยทสี่ ุด ( Χ =4.26, S.D.=0.44)

46 ตารางท่ี 6 คา เฉลยี่ สว นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดับความฉลาดทางอารมณข องผบู ริหารสถานศึกษา สังกดั สาํ นกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1 ดานสรา งแรงจูงใจท่ดี ีแกตนเอง ความฉลาดทางอารมณของผบู ริหาร Χ S.D. คาระดับ ลําดับ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงสถานศกึ ษา 4.30 0.54 มาก 3 1. ผูบรหิ ารสถานศึกษากระตุนและเตือนตนเอง 4.26 0.59 มาก 5 ใหค ิดรเิ ริม่ อยา งมีความคดิ สรางสรรค 2. ผูบริหารสถานศึกษาผลกั ดันตนเอง 4.30 0.54 มาก 4 มุง สเู ปาหมายที่ตัง้ ไว เพ่ือนํามาซ่ึงความสําเรจ็ 4.47 0.50 มาก 2 3. ผบู ริหารสถานศึกษามารถอดทนรอตอ การ แกป ญหา และอปุ สรรค เพอ่ื ใหบ รรลเุ ปา หมาย 4.60 0.49 มากท่ีสดุ 1 ของสถานศกึ ษา 4.38 0.47 มาก 4. ผบู รหิ ารสถานศึกษามีความกระตือรือรน มี พลงั และความต้งั ใจ ในการทํางาน 5. ผูบรหิ ารสถานศึกษาทาํ งานอยา งมี ประสิทธิภาพ ไมยดึ ตดิ กับเงนิ ผลประโยชนห รือ ตําแหนง รวม จากตารางท่ี 6 พบวา ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ดานสรางแรงจูงใจท่ีดีแกตนเอง อยูในระดับมาก ( Χ =4.38, S.D.=0.38) และเมื่อแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวา มี 1 ดาน อยูในระดับมากท่ีสุด และมี 4 ดานอยูในระดับมาก โดย เรียงลําดับคาเฉล่ียจากมากไปหานอยดังน้ี ผูบริหารสถานศึกษาทํางานอยางมีประสิทธิภาพ ไมยึดติดกับเงิน ผลประโยชนหรือตําแหนง ( Χ =4.60, S.D.=0.49) ผูบริหารสถานศึกษามีความกระตือรือรน มีพลัง และความ ตั้งใจ ในการทํางาน ( Χ =4.47, S.D.=0.50) ผูบริหารสถานศึกษากระตุนและเตือนตนเองใหคิดริเริ่มอยางมี ความคิดสรางสรรค ( Χ =4.30, S.D.=0.54) และผูบริหารสถานศึกษาผลักดันตนเองมุงสูเปาหมายที่ตั้งไว เพื่อ นํามาซ่งึ ความสาํ เร็จ มีคาเฉล่ยี นอยทสี่ ุด ( Χ =4.26, S.D.=0.59)

47 ตารางท่ี 7 คา เฉลีย่ สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ความฉลาดทางอารมณของผบู ริหารสถานศึกษา สงั กดั สํานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ดานจัดการอารมณข องตน ความฉลาดทางอารมณของผูบ รหิ าร Χ S.D. คาระดับ ลาํ ดับ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงสถานศกึ ษา 4.35 0.47 มาก 2 1. ผูบ รหิ ารสถานศึกษา สามารถควบคมุ ตนเอง 4.25 0.62 มาก 5 ใหแสดงออกไดอยางเหมาะสม 4.14 0.72 มาก 7 2. ผบู รหิ ารสถานศึกษาไมแสดงอารมณ 4.16 0.71 มาก 6 ความรูสึกตา ง ๆ เม่ือโกรธ ชอบ ไมช อบ เปน ตน 4.33 0.62 มาก 3 3. ผูบริหารสถานศกึ ษาสามารถปรบั เปลีย่ น 4.39 0.63 มาก 1 ความรสู กึ ทางลบใหเ ปน ทางบวกได 4.26 0.59 มาก 4 4. ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาคดิ ไตรต รองอยาง 4.27 0.57 มาก รอบคอบกอนตัดสนิ ใจกระทําสง่ิ ตาง ๆ 5. ผบู รหิ ารสถานศึกษาไมป ลอยใหความรสู ึก ชีน้ ําชีวิต 6. ผบู ริหารสถานศึกษาทาํ ความเขาใจและ ยอมรบั การเปลี่ยนแปลงในชวี ติ ได 7. ผูบ ริหารสถานศกึ ษายอมรับความลมเหลว และหาทางออกไดอยางสมเหตสุ มผล รวม จากตารางท่ี 7 พบวา ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ดานจัดการอารมณของตน อยูในระดับมาก ( Χ =4.27, S.D.=0.57) และ เมื่อแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวาอยูในระดับมากทุกดาน โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอยดังนี้ ผูบริหารสถานศึกษาทําความเขาใจและยอมรับการเปลี่ยนแปลงในชีวิตได ( Χ =4.39, S.D.=0.63) ผูบริหาร สถานศึกษา สามารถควบคุมตนเองใหแสดงออกไดอยางเหมาะสม ( Χ =4.35, S.D.=0.47) ผูบริหาร สถานศึกษาไมปลอยใหความรูสึกช้ีนําชีวิต ( Χ =4.33, S.D.=0.62) และผูบริหารสถานศึกษาสามารถ ปรบั เปล่ยี นความรสู ึกทางลบใหเปน ทางบวกได มีคาเฉลยี่ นอ ยที่สุด ( Χ =4.14, S.D.=0.72)

48 ตารางที่ 8 คา เฉล่ีย สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ความฉลาดทางอารมณข องผูบริหารสถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ดา นการมีทักษะทางสังคม ความฉลาดทางอารมณของผบู ริหาร Χ S.D. คา ระดับ ลําดับ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงสถานศึกษา 4.07 0.58 มาก 5 1. ผูบริหารสถานศกึ ษามีความสัมพันธอ นั ดีกบั 4.24 0.67 มาก 3 บคุ ลากรในสถานศึกษา 3.93 0.60 ปานกลาง 6 2. ผูบริหารสถานศกึ ษาสามารถทําใหผูรว มงาน 4.24 0.50 มาก 1 มคี วามรูสกึ ท่ีดตี อกนั 4.18 0.60 มาก 4 3. ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาเปนมิตรกับบคุ คลไดทุก 4.24 0.56 มาก 2 ประเภท 4.14 0.47 มาก 4. ผบู ริหารสถานศกึ ษามีความสามารถในการ ชักจูงหรอื โนมนา วใหผ ูอน่ื ปฏิบตั ติ าม 5. ผบู รหิ ารสถานศึกษามเี สรมิ สรางความ รวมมือในการงานและความสามัคคีในหมูคณะ 6. ผบู ริหารสถานศกึ ษาสามารถทาํ ใหผูท่ีอยรู อบ ขางมคี วามสุข รวม จากตารางท่ี 8 พบวา ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ดานการมีทักษะทางสังคม อยูในระดับมาก ( Χ =4.14, S.D.=0.47) และ เม่ือแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวา มี 5 ดาน อยูในระดับมาก และมี 1 ดานอยูในระดับปานกลาง โดย เรียงลําดับคาเฉล่ียจากมากไปหานอยดังน้ี ผูบริหารสถานศึกษามีความสามารถในการชักจูงหรือโนมนาวให ผูอื่นปฏิบัติตาม ( Χ =4.24, S.D.=0.50) ผูบริหารสถานศึกษาสามารถทําใหผูที่อยูรอบขางมีความสุข ( Χ =4.24, S.D.=0.56) ผูบริหารสถานศึกษาสามารถทําใหผูรวมงานมีความรูสึกที่ดีตอกัน ( Χ =4.24, S.D.=0.67) และผูบ รหิ ารสถานศึกษาเปน มิตรกับบุคคลไดทุกประเภท มีคาเฉล่ยี นอ ยท่สี ุด ( Χ =3.93, S.D.=0.60)

49 ตารางที่ 9 คา เฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความฉลาดทางอารมณข องผบู ริหารสถานศกึ ษา สังกดั สาํ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ดา นสามารถรบั รอู ารมณข องผูอ่ืน ความฉลาดทางอารมณของผูบ ริหาร Χ S.D. คา ระดบั ลาํ ดับ สถานศึกษามหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 4.00 0.53 มาก 6 1. ผูบริหารสถานศกึ ษารบั รูและเขาใจถงึ อารมณ และความรสู กึ ของบุคลากรในสถานศึกษา 4.09 0.28 มาก 3 2. ผูบรหิ ารสถานศกึ ษารเู ทาทันในความรสู ึก และ 4.05 0.35 มาก 5 ชว ยใหผ ูอื่นไมร สู ึกเสียหนาในสถานการณตาง ๆ ท่ี 4.30 0.63 มาก 1 เกดิ ข้นึ 3. ผบู รหิ ารสถานศึกษารคู วามตอ งการ ขอ วติ ก 4.08 0.46 มาก 4 กังวลของผอู น่ื ไดอยางชาญฉลาด และมไี หวพริบ 4. ผบู ริหารสถานศึกษาสนใจและเขา ใจในแงค ิด 4.28 0.52 มาก 2 ทรรศนะของผูอ ืน่ 4.13 0.35 มาก 5. ผูบริหารสถานศึกษาจะพจิ ารณาสภาพจิตใจ และอารมณของบุคลากร กอนตัดสนิ ใจทําสิ่งใด โดยคาํ นงึ ถงึ ความรูสกึ ของผูอ นื่ 6. ผบู ริหารสถานศึกษายอมรบั ขอ แตกตา งระหวา ง บคุ คลในสถานศกึ ษาโดยไมใชความคิดของตนเปน หลกั รวม จากตารางที่ 9 พบวา ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ดานสามารถรับรูอารมณของผูอ่ืน อยูในระดับมาก ( Χ =4.13, S.D.=0.35) และเมื่อแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวาอยูในระดับมากทุกดาน โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมาก ไปหานอยดังนี้ ผูบริหารสถานศึกษาสนใจและเขาใจในแงคิดทรรศนะของผูอื่น ( Χ =4.30, S.D.=0.63) ผูบริหารสถานศึกษายอมรับขอแตกตางระหวางบุคคลในสถานศึกษาโดยไมใชความคิดของตนเปนหลัก ( Χ =4.28, S.D.=0.52) ผูบริหารสถานศึกษารูเทาทันในความรูสึก และชวยใหผูอ่ืนไมรูสึกเสียหนาในสถานการณ ตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึน ( Χ =4.09, S.D.=0.28) และผูบริหารสถานศึกษารับรูและเขาใจถึงอารมณและความรูสึกของ บุคลากรในสถานศึกษา มคี าเฉลย่ี นอยที่สดุ ( Χ =4.00, S.D.=0.53)

50 ตอนท่ี 3 ผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 1 ในการวิเคราะหผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 1 ผูวิจัยวิเคราะหโดยใชคาเฉล่ีย ( Χ ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) จากกลุมตัวอยาง 246 คน แลวนาํ ไปเปรียบเทียบกับเกณฑตามแนวคิดของเบสท (Best) ทกี่ าํ หนดไว มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตารางที่ 10 คา เฉล่ีย สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน สงั กดั สํานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 โดยภาพรวม ผลการปฏิบตั งิ านของครูผูส อน Χ S.D. คา ระดับ ลําดบั 1. ดานการปฏบิ ตั หิ นาที่ครู 4.25 0.37 มาก 3 2. ดา นการจัดการเรยี นรู 4.51 0.38 มากที่สุด 1 3. ดานความสมั พันธกบั ผูป กครองและชุมชน 4.37 0.45 มาก 2 4.38 0.34 มาก รวม จากตารางท่ี 4 พบวา ผลการปฏบิ ัติงานของครูผสู อนสังกัดสํานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษา ราชบรุ ี เขต 1 โดยภาพรวมอยใู นระดับมาก (Χ =4.38, S.D. = 0.34) และเม่ือแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวา มี 1 ดาน อยูในระดับมากที่สุด และมี 2 ดานอยูในระดับมาก โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอยดังนี้ ดาน การจัดการเรียนรู ( Χ =4.51, S.D.=0.38) ดานความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน ( Χ =4.37, S.D.=0.45) และดานการปฏบิ ัตหิ นาทีค่ รู มีคา เฉล่ียนอยที่สุด ( Χ =4.25, S.D.=0.37) ตารางท่ี 11 คาเฉลย่ี สวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับผลการปฏิบตั ิงานของครูผสู อน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ดานการจดั การเรยี นรู ผลการปฏบิ ัติงานของครผู สู อน Χ S.D. คาระดบั ลําดบั 1. ครูมกี ารพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา การจดั การเรียนรู สอื่ การวัด 4.39 0.73 มาก 5 2. ครมู ีการประเมินผล การเรยี นรู บรู ณาการความรูและศาสตรการ สอนในการวางแผนและจัดการเรยี นรู 4.32 0.74 มาก 6 3. ครสู ามารถพฒั นาผเู รยี นใหมปี ญญารูคิด และมีความเปน นวัตกรรม ดแู ล ชว ยเหลอื 4.46 0.49 มาก 3 4. ครูมีการพัฒนาผเู รยี นเปนรายบุคคลตามศักยภาพ สามารถรายงาน ผลการพัฒนาคุณภาพผเู รยี นไดอยางเปนระบบ จัดกิจกรรมและสรา ง บรรยากาศการเรียนรูใหผ ูเ รียนมีความสขุ ในการเรยี น โดยตระหนักถึง สุขภาวะของผูเ รยี น 4.66 0.47 มากทส่ี ดุ 2

51 ตารางที่ 11 (ตอ) Χ S.D. คา ระดับ ลาํ ดับ ผลการปฏบิ ตั ิงานของครผู ูส อน 0.38 มากที่สุด 1 4.82 0.61 มากที่สุด 4 5. ครตู ระหนักถงึ สุขภาวะของผเู รยี น วิจัย สรา ง 4.42 0.38 มากทสี่ ดุ นวัตกรรม และประยุกตใชเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ใหเ กดิ 4.51 ประโยชนตอ การเรยี นรขู องผูเรยี น ปฏิบัติงาน รวมกบั ผอู นื่ อยางสรางสรรค 6. ครูมีสว นรว มในกิจกรรมการพัฒนาวชิ าชีพ รวม มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง จากตารางที่ 11 พบวา ผลการปฏิบัติงานของครผู สู อนสงั กดั สํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 1 ดานการจัดการเรียนรู โดยภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด (Χ =4.51, S.D. = 0.38) และเมื่อแยก พจิ ารณาเปนรายดาน พบวามี 3 ดาน อยูใ นระดับมากที่สุด และมี 3 ดานอยูในระดับมาก โดยเรียงลําดับคาเฉล่ีย จากมากไปหานอ ยดงั น้ี ครตู ระหนักถึงสขุ ภาวะของผูเรียน วิจัย สรางนวัตกรรม และประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล ใหเกิดประโยชนตอการเรียนรขู องผูเรยี น ปฏบิ ัตงิ านรวมกบั ผูอ ่นื อยางสรางสรรค ( Χ =4.82, S.D.=0.38) ครมู กี าร พัฒนาผูเรียนเปนรายบุคคลตามศักยภาพ สามารถรายงานผลการพัฒนาคุณภาพ ( Χ =4.66, S.D.=0.47) ครูสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีปญญารูคิด และมีความเปนนวัตกรรม ดูแล ชวยเหลือ ( Χ =4.46, S.D.=0.49) และ ครมู ีการประเมินผล การเรียนรู บูรณาการความรูและศาสตรการสอนในการวางแผนและจัดการเรียนรู มีคาเฉล่ีย นอยท่ีสดุ ( Χ =4.32, S.D.=0.74) ตารางที่ 12 คา เฉล่ีย สว นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ผลการปฏบิ ตั งิ านของครูผสู อน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ดานความสัมพันธกับผปู กครองและชุมชน ผลการปฏิบัตงิ านของครผู ูสอน Χ S.D. คา ระดบั ลาํ ดับ 1. ครูมีความรวมมือกบั ผูปกครองในการพัฒนาและแกปญหา ผเู รียนใหม ีคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค 4.43 0.49 มาก 2 2. ครูสรางเครือขายความรว มมือกับผูปกครองและชุมชน 4.60 0.84 มากทส่ี ดุ 1 3. ครูสนับสนุนการเรียนรูท่มี ีคุณภาพของผเู รยี น มีการศึกษา เขาถึงบริบทของชุมชน 4.35 0.89 มาก 3 4. ครูสามารถอยูร วมกันบนพ้ืนฐานความแตกตางทาง วฒั นธรรมสงเสริมอนุรักษว ัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถ่ิน 4.12 0.71 มาก 4 รวม 4.37 0.45 มาก

52 จากตารางที่ 12 พบวา ผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ดานความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน โดยภาพรวมอยูในระดับมาก (Χ =4.37, S.D. = 0.71) และเมื่อแยกพจิ ารณาเปนรายดาน พบวา มี 1 ดา น อยูในระดับมากท่ีสุด และมี 3 ดานอยูในระดับ มาก โดยเรียงลาํ ดับคาเฉล่ียจากมากไปหานอ ยดงั นี้ ครูสรางเครือขายความรวมมือกับผูปกครองและชุมชน ( Χ =4.60, S.D.=0.84) ครูมีความรวมมือกับผูปกครองในการพัฒนาและแกปญหาผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค ( Χ =4.43, S.D.=0.49) ครูสนับสนุนการเรียนรูท่ีมีคุณภาพของผูเรียน มีการศึกษาเขาถึงบริบทของ ชุมชน ( Χ =4.35, S.D.=0.89) และครูสามารถอยรู วมกนั บนพืน้ ฐานความแตกตางทางวฒั นธรรมสง เสริมอนุรักษ วัฒนธรรม และภูมิปญ ญาทองถิ่น มีคาเฉล่ยี นอยทสี่ ุด ( Χ =4.12, S.D.=0.71) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ตารางที่ 13 คา เฉล่ยี สวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับผลการปฏิบตั งิ านของครผู ูสอน สงั กัดสํานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ดานความสมั พนั ธก ับผปู กครองและชุมชน ผลการปฏบิ ตั ิงานของครูผสู อน Χ S.D. คาระดบั ลาํ ดับ 1. ครูมีความรว มมือกบั ผูปกครองในการพฒั นาและแกปญหา ผเู รยี นใหม ีคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค 4.43 0.49 มาก 2 2. ครูสรางเครือขายความรว มมอื กับผูปกครองและชุมชน 4.60 0.84 มากทส่ี ุด 1 3. ครูสนับสนุนการเรียนรูที่มีคุณภาพของผูเรยี น มีการศึกษา เขาถึงบริบทของชุมชน 4.35 0.89 มาก 3 4. ครูสามารถอยูร วมกันบนพื้นฐานความแตกตางทาง วัฒนธรรมสงเสริมอนุรักษวฒั นธรรม และภูมปิ ญญาทองถิ่น 4.12 0.71 มาก 4 รวม 4.37 0.45 มาก จากตารางที่ 13 พบวา ผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ดานความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน โดยภาพรวมอยูในระดับมาก (Χ =4.37, S.D. = 0.71) และเม่อื แยกพิจารณาเปน รายดา น พบวา มี 1 ดาน อยใู นระดับมากท่ีสุด และมี 3 ดานอยูในระดับ มาก โดยเรียงลําดบั คา เฉลย่ี จากมากไปหานอยดังนี้ ครูสรางเครือขายความรวมมือกับผูปกครองและชุมชน ( Χ =4.60, S.D.=0.84) ครูมีความรวมมือกับผูปกครองในการพัฒนาและแกปญหาผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค ( Χ =4.43, S.D.=0.49) ครูสนับสนุนการเรียนรูท่ีมีคุณภาพของผูเรียน มีการศึกษาเขาถึงบริบทของ ชุมชน ( Χ =4.35, S.D.=0.89) และครสู ามารถอยูรว มกนั บนพน้ื ฐานความแตกตางทางวฒั นธรรมสง เสรมิ อนุรกั ษ วฒั นธรรม และภมู ิปญญาทองถ่ิน มีคาเฉลี่ยนอยทีส่ ุด ( Χ =4.12, S.D.=0.71)

53 ตอนท่ี 4 ความสัมพันธระหวางความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากับผลการปฏิบัติงาน ของครูผูสอน สังกดั สํานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1 ในการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากับผลการ ปฏิบัติงานของครูผูสอนของสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ผูวิจัยใชการ วิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (rxy) ของเพียรสัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) เพื่อวิเคราะหวามฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน สังกดั สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ดงั มรี ายละเอียดในตารางที่ 14 ตารางที่ 14 คาสัมประสิทธ์สิ หสัมพันธระหวางความฉลาดทางอารมณข องผบู รหิ ารสถานศกึ ษา และผล การปฏิบัตงิ านของครผู ูสอน มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ผลการปฏิบตั ิ งาน (Y1) (Y2) (Y3) (Ytot) ความฉลาดทางอารมณ (X1) .095 .205** -.182** .029 (X2) .081 .090 -.209** -.030 (X3) .083 .080 -.201** -.029 (X4) .859** .605** .411** .709** (X5) .935** .858** .557** .893** (Xtot) .539** .489** .077 .406** ** มคี วามสัมพันธอยา งมีนัยสาํ คัญทางสถิติทร่ี ะดบั .01 จากตารางที่ 14 พบวา ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา และผลการปฏิบัติงาน ของครูผูสอน สงั กดั สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีความสัมพันธกันปานกลาง (r =0.406) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ซึ่งเม่ือพิจารณารายละเอียด พบวา ทั้งในภาพรวมและรายคู มคี าความสัมพันธกันในทางบวกหรือมีความสัมพันธกันในลักษณะท่ีคลอยตามกันทุกคู ซ่ึงความฉลาดทาง อารมณของผูบริหารสถานศึกษา กับดานการปฏิบัติหนาท่ีครู (Y1) มีความสัมพันธกันปานกลาง (r =0.539) มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และดานการจัดการเรียนรู (Y2) โดยมีความสัมพันธกันปานกลาง (r =0.489) มีนยั สําคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .01

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ การวิจัยคร้ังน้ี มีวัตถุประสงคเพ่ือ 1) ศึกษาความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน 3) ศึกษาความสัมพันธความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร สถานศึกษา กับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 1 กลุมตัวอยางคือ โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จาํ นวน 123 โรงเรียน โดยมีผใู หขอมูล ผูอํานวยการสถานศึกษา และครูผูสอน จํานวน 246 คน โดยใชวิธี สมุ กลมุ ตวั อยา งแบบแบงช้นั เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณ คา 5 ระดับ มีคาความเช่ือมั่นเทากับ .894 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก การแจกแจงความถ่ี คารอยละ คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) สรุปผลการวจิ ัย 1. ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 โดยภาพรวมอยูในระดับมาก และเมื่อแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวาอยูใน ระดับมากทุกดาน โดยเรียงลําดับคาเฉล่ียจากมากไปหานอยดังน้ี ดานตระหนักรูจักอารมณตน ดานสราง แรงจูงใจทดี่ แี กต นเอง ดานจัดการอารมณข องตน และดา นสามารถรับรูอ ารมณข องผอู ่ืน 2. ผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 โดยภาพรวมอยใู นระดับมาก และเม่ือแยกพิจารณาเปนรายดา น พบวา มี 1 ดาน อยูในระดับมากท่ีสุด และ มี 2 ดานอยูในระดับมาก โดยเรียงลําดับคาเฉล่ียจากมากไปหานอยดังนี้ ดานการจัดการเรียนรู ดาน ความสัมพนั ธก ับผูปกครองและชมุ ชน และดานการปฏบิ ตั หิ นา ทค่ี รู 3. ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา และผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน สังกัด สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีความสัมพันธกันปานกลาง (r =0.406) อยางมี นัยสําคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .01 อภปิ รายผลการวิจัย จากผลการวิเคราะหข อมลู การวจิ ยั ขา งตน สามารถอภปิ รายผลการวจิ ยั ไดด ังน้ี ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา และผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน สังกัด สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีความสัมพันธกันปานกลาง (r =0.406) อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซ่ึงสอดคลองกับสมมติฐานของการวิจัยที่วาความสัมพันธความฉลาดทาง อารมณของผูบริหารสถานศึกษา กับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีความสัมพันธกันในทางบวก ในระดับปานกลาง ท้ังนี้เปนเพราะ สถานศึกษามีครูและบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถ ประกอบดวยผูบริหารที่มีวิสัยทัศน มีทักษะดาน การบริหารงานดานการวางกลยุทธ การปฏิบัติตามแผนท่ีเปนระบบรวมถึงมีทักษะในการแกปญหา มุงมั่น

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 55 พัฒนาใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน มีครู และบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีความตั้งใจในการพัฒนานักเรียนใหมี ความรู มีทักษะในการเรียนรูอยางเต็มศักยภาพ ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของ จิราพรรณ คะษาวงค (2551, บทคัดยอ) ท่ีศึกษาวิจัยเรื่อง ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารที่สงผลตอประสิทธิผลของการ ดําเนินงานดานบุคคลของโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษานครพนม เขต 2 ผลการวิจัย พบวา ความสัมพันธระหวางความฉลาดทางอารมณของผูบริหารที่สงผลตอประสิทธิผลของการดําเนินงานดาน บุคคลของโรงเรียน มีความสัมพันธเชิงบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และสอดคลองกับ งานวจิ ยั ของ อรุณี นลิ สระคู (2551, บทคัดยอ ) ทศ่ี กึ ษาวิจัยเรื่อง ความสัมพันธความฉลาดทางอารมณ ของผูบริหารสถานศึกษากับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอน ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดบุรีรัมย ผลการวิจัย ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา โดยรวมมีความสัมพันธเชิงบวกกับผลการ ปฏิบัติงานของครูผูสอน ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดบุรีรัมย อยูในระดับปานกลางอยางมี นัยสําคัญทางสถิติท่รี ะดับ .01 ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา กับดานการปฏิบัติหนาที่ครู (Y1) มคี วามสัมพันธกันปานกลาง มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ท้ังน้ีเปนเพราะ ผูบริหารและครูมีความ มุงม่นั พัฒนาผเู รียน ดวยจติ วญิ ญาณความเปน ครู ประพฤตติ นเปนแบบอยา งท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความเปนพลเมืองที่เขมแข็ง สงเสริมการเรียนรูเอาใจใส และยอมรับความแตกตางของผูเรียน แตละบุคคล สรางแรงบันดาลใจผูเรียนใหเปนผูใฝเรียนรู และผูสรางนวัตกรรม พัฒนาตนเองใหมี ความรอบรู ทนั สมัย และทันตอการเปล่ียนแปลง ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ วิทย วิศทเวทย (2555, 200) ที่กลาววา ครูเปนคนที่ฐานะสูงในสังคมไทยและมีการพูดถึงครูวา “ครูยอมเปนผูที่ทรงคุณวุฒิ วิชา สามารถที่จะใหแกศิษยไดบริบูรณ ทั้งตองเปนท้ังผูท่ีจะเพาะสันดานและกิริยาอัธยาศัยใหศิษย เปนคนดี ดว ยการเปน ครยู อมเปน ตาํ แหนงสงู จงึ ไดเ นน บทบาทของครูวาครูตองทําตนเปนตัวอยางที่ดี ใหเดก็ ทงั้ ในดานความรู ความประพฤติและอนามยั ตองรกั เดก็ เหมือนลูกของตน” ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา กับดานการจัดการเรียนรู โดยมี ความสัมพันธกันปานกลาง มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ทั้งนี้เปนเพราะ ครูมีการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา การจัดการเรียนรู สื่อ การวัดและประเมินผล การเรียนรู บูรณาการความรูและศาสตร การสอนในการวางแผนและจัดการเรียนรู ท่ีสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีปญญารูคิด และมีความเปน นวัตกรรม ดูแล ชวยเหลือ และพัฒนาผูเรียนเปนรายบุคคลตามศักยภาพ สามารถรายงานผลการ พัฒนาคุณภาพผูเรียนไดอยางเปนระบบ จัดกิจกรรมและสรางบรรยากาศการเรียนรูใหผูเรียนมี ความสุขในการเรียน โดยตระหนักถึงสุขภาวะของผูเรียน วิจัย สรางนวัตกรรม และประยุกตใช เทคโนโลยีดิจิทัลใหเกิดประโยชนตอการเรียนรูของผูเรียน ปฏิบัติงานรวมกับผูอ่ืนอยางสรางสรรค และมสี วนรว มในกิจกรรมการพฒั นาวิชาชพี ซง่ึ สอดคลองกับแนวคิดของ อลงกรณ มีสุทธา และ สมิต สัชฌุกร (2552, 71-72) ท่ีกลาววา องคกรใดจะบรรลุผลตามท่ีตั้งเปาหมายไวอยางมีประสิทธิภาพ ปจจัยก็คือ คนหรือบุคลากรในองคกร ซ่ึงถือเปนปจจัยท่ีสําคัญที่สุด และเปนท่ียอมรับกันวามนุษย หรือคนเปนทรัพยากรท่ีมีคุณคาและสําคัญท่ีสุดตามหลักการบริหาร การสรางเสริมความตองการใน การปฏิบัติงานใหกับบุคลากร เพ่ือใหมีความรูสึกท่ีดีในการปฏิบัติงาน และพรอมท่ีจะอุทิศตนเพ่ือ ความสําเร็จของงาน และขององคกรอยางตอเน่ืองสมบูรณ จึงเปนส่ิงท่ีจําเปนสําหรับผูบริหารที่ตอง คาํ นงึ ถงึ เพราะดานความตอ งการในการปฏบิ ัติงานยอ มสง ผลใหเ กดิ ประสทิ ธิภาพของงานดียิ่งขึ้น ซึ่งมี

56 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความตองการหรือสิ่งจูงใจผูปฏิบัติงาน โดยมุงอธิบายถึงองคประกอบตาง ๆ ท่ี เปน สงิ่ ที่ทาํ ใหบคุ ลากรเกิดความพอใจในการปฏิบัตงิ าน ทมุ เทความรู ความสามารถมีความรับผิดชอบ และเอาใจใสใ นงานอยางแทจ ริงไปสูความรกั ความผกู พนั และความซื่อสตั ยใ นองคกร ขอ เสนอแนะ 1. ขอ เสนอแนะในการนําผลการวจิ ยั ไปใช ตามที่ผูวิจัยไดมีขอเสนอแนะของการวิจัยดังกลาวไวขางตน เพ่ือใหงานวิจัยเกี่ยวกับความฉลาด ทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ไดแพรหลายออกไป และเปนประโยชนในการศึกษาคนควาของ ผูบริหาร นักวิชาการ และผสู นใจทัว่ ไป จงึ ขอเสนอแนะเพื่อการวจิ ัยคร้ังตอไปดงั นี้ 1.1 ดานสามารถรับรูอารมณของผูอื่น ผลการวิจัยพบวา มีคาเฉล่ียอยูในลําดับที่นอยท่ีสุด ผูบริหารสถานศึกษาควรจะพิจารณาสภาพจิตใจและอารมณของบุคลากร กอนตัดสินใจทําสิ่งใดโดย คํานึงถึงความรูสึกของผูอื่น และผูบริหารสถานศึกษาควรยอมรับขอแตกตางระหวางบุคคลในสถานศึกษา โดยไมใชค วามคิดของตนเปนหลัก 1.2 ดานการปฏิบัติหนาที่ครู ผลการวิจัยพบวา มีคาเฉลี่ยอยูในลําดับที่นอยท่ีสุด ครูควร พัฒนาตนเองใหมีความรอบรูทันสมัย ทันตอการเปล่ียนแปลง และยอมรับความแตกตางของผูเรียนแตละ บคุ คล สรางแรงบันดาลใจผูเรยี นใหเปนผูใฝเ รียนรู และผสู รางนวัตกรรม 2. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป ตามท่ีผูวิจัยไดมีขอเสนอแนะของการวิจัยดังกลาวไวขางตน เพ่ือใหงานวิจัยเก่ียวกับความฉลาด ทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ไดแพรหลายออกไป เพื่อเปนประโยชนในการศึกษาคนควาของ ผูบรหิ าร นักวชิ าการ และผูสนใจทัว่ ไป จึงขอเสนอแนะเพื่อการวิจยั ครั้งตอไปดงั น้ี 2.1 ควรมีการศึกษาพัฒนารูปแบบความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษาในสังกัด อื่น ๆ 2.2 ควรมีการศึกษาพัฒนารูปแบบผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา เพ่ือหา รูปแบบที่เหมาะสมในการปฏบิ ตั ิงานของผูบรหิ ารสถานศึกษา 2.3 ควรมีการศึกษาความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา และผลการปฏิบัติงาน ของครผู ูสอนในสถานศึกษา ท่ีสงผลตอคุณภาพการจดั การศึกษา มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 57 บรรณานกุ รม

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 58 บรรณานุกรม กร ศริ โิ ชควฒั นา. (2551). E.Q. บริหารอารมณอยางฉลาด (พิมพค ร้ังท่ี 5). กรุงเทพฯ : ยแู พดอินเตอร. กรมสุขภาพจิต. (2546). สุขภาพจติ ไทย พ.ศ. 2545-2546. กรงุ เทพฯ : ผแู ตง. กวีกาญจน พุฒพิมพ. (2552). ความสมั พนั ธร ะหวางความฉลาดทางอารมณกับพฤตกิ รรมผูน ําของผูบริหาร สถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน สงั กัดสํานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาสุรินทร เขต 1. วิทยานิพนธค รุศาสตร มหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ นิ ทร. กลั ยาภรณ อุดคํามี. (2555). อิทธิพลของความฉลาดทางอารมณของผบู ริหารโรงเรยี นตอประสิทธิผล ของโรงเรียน สังกัดสํานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาระนอง. ปริญญานพิ นธก ารศึกษา มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั บูรพา. ขอบงั คบั ครุ ุสภา วา ดว ยจรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. 2556. (2556). ราชกิจจานุเบกษา. เลม 130 ตอนพิเศษ 130 ง ลงวนั ท่ี 4 ตลุ าคม 2556. จันทนา บรรณทอง. (2553). ผลการใชชุดฝก อบรมทางการแนะแนวเพอ่ื พัฒนาความฉลาดทาง อารมณของพอแมนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 3 โรงเรียนชัยนาทพทิ ยาคม จงั หวัดชยั นาท. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. จริ าพรรณ คะษาวงค. (2551). ความฉลาดทางอารมณข องผบู รหิ ารทสี่ งผลตอประสิทธผิ ล ของการดาํ เนินงานดานบุคคลของโรงเรียน สงั กัดสํานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษานครพนม เขต 2. วทิ ยานพิ นธค รศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร. ชัยสทิ ธ์ิ สุวจสวุ รรณ. (2544). ความสัมพนั ธร ะหวางความฉลาดอารมณของผูบริหารโรงเรียนกับขวัญ ในการปฏิบตั ิงานของครผู ูสอนในโรงเรียน สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวดั จันทบรุ .ี ปริญญานิพนธก ารศึกษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัย บูรพา. ฐติ พิ ร เขมกรรม. (2552). ปจจยั ทมี่ ีความสัมพันธกับความฉลาดทางอารมณของผูบริหารโรงเรยี น ประถมศกึ ษา สังกัดสาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาอุดรธาน.ี วทิ ยานพิ นธค รุศาสตร มหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานี. ดฤษวรรณ แกวกิตติคุณ. (2549). ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารในสถานศึกษาเอกชนอําเภอบา นโปง สํานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาราชบุรีเขต 2. สารนพิ นธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร การศึกษา บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร. ตะวัน คงทวนั . (2560). การศึกษาความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศกึ ษาตามความคิดเหน็ ของครูในอาํ เภอเกาะสมุย สังกัดสํานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธานี เขต 1. การคนควา อสิ ระครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัย ราชภัฏสุราษฎรธ านี.

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 59 บรรณานุกรม (ตอ) ธิดารตั น รัศมี. (2556). ความฉลาดทางอารมณก ับการใชอํานาจของผูบรหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สํานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาสมทุ รสาคร. วทิ ยานิพนธศ กึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. ธรี ศักด์ิ อัครบวร. (2545). ความเปน ครูไทย. กรุงเทพฯ : ก. พลทพิ ย 1996. ธีราภรณ ธะนะหมอก. (2561). การศึกษาความสัมพนั ธระหวางความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร สถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสังกัดสาํ นกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา นครราชสมี า เขต 4 ตามทศั นะของคร.ู วิทยานิพนธศ ึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. บณั ฑิตย ทมุ เทยี ง. (2548). การศกึ ษาความสัมพันธระหวางความฉลาดทางอารมณกบั ภาวะผูนําการ เปลยี่ นแปลงของผูบริหารสถานศกึ ษาในเขตจังหวดั รอยเอด็ . วิทยานิพนธค รุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ ินทร. บุญชม ศรสี ะอาด. (2550). การวิจยั เบื้องตน (พิมพค รัง้ ที่ 3). กรุงเทพฯ : สุวรี ยิ าสาสน. ประดบั บุญธรรม. (2551). ระบบดูแลชวยเหลือนกั เรียนเพื่อพัฒนาผูเ รียนของโรงเรียนทม่ี ีการปฏบิ ัติ ทด่ี ี : พหุกรณศี ึกษา/ประดับ บุญธรรม. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พรกนก กาตบิ๊ . (2555). ความตอ งการพัฒนาความฉลาดทางอารมณของผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา ในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม เขต 5. วทิ ยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารการศึกษา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั เชยี งใหม. พิมพใ จ วิเศษ. (2554). ความสัมพนั ธระหวา งความฉลาดทางอารมณของผูบรหิ ารสถานศกึ ษากับความพึง พอใจในการปฏบิ ตั ิงานของขาราชการครูอาํ เภอบานนา สังกดั สํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ประถมศกึ ษานครนายก. วทิ ยานิพนธศ ึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบรหิ าร การศึกษา คณะครุศาสตรอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี. มนตรี อนนั ตรักษ, และคณะ. (2554). พ้ืนฐานการวจิ ัยการศึกษา. นครพนม : มหาวทิ ยาลยั นครพนม. ยนต ชมุ จิต. (2553). ความเปน ครู22 (พมิ พครัง้ ท่ี 5). กรุงเทพฯ : โอเดยี สโตร. วิทย วิศทเวทย. (2555). ปรชั ญาการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั . วีระวัฒน ปนนติ ามัย. (2542). เชาวอารมณ(EQ) : ดัชนีวัดความสุขและความสาเร็จของชวี ิต. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอรเ น็ท. วรี ะวัฒน ปนนติ ามัย. (2551). เชาวนอ ารมณ (EQ) : ดัชนีวัดความสุขและความสําเรจ็ ของชีวติ (พิมพค รั้งที่ 7). กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั . ศศิธร ศริ ิพฒั นโกศล. (2553). ความฉลาดทางอารมณข องผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้นื ท่ี การศึกษาสระแกว เขต 2. ปรญิ ญานพิ นธการศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั บูรพา.

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 60 บรรณานุกรม (ตอ ) สรอยกัญญา โพธิสมภาพวงษ. (2557). ความสัมพันธร ะหวางความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร สถานศกึ ษากับประสิทธผิ ลการบรหิ ารสถานศึกษาตามทัศนะของผูบรหิ ารสถานศกึ ษา และครู สงั กดั สํานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสงิ หบ ุรี. วิทยานิพนธครศุ าสตร มหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เทพสตรี. สาํ นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1. (2560). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน. ราชบุรี : ผแู ตง . _______. (2561). รายงานผลการดําเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารและผลการดาํ เนินงาน ตามยทุ ธศาสตรของ สพฐ. ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2561. ราชบุรี : ผูแตง . _______. (2562). ขอมลู สารสนเทศทางการศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2562. ราชบรุ ี : ผแู ตง . สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน. (2553). การประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงวา ดวยระบบ หลกั เกณฑ และวธิ กี ารประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ : ผแู ตง. สํานักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ. (2553). การบริหารการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ : ผูแ ตง. สุเทพ พงศศรวี ฒั น. (2548). ภาวะผูนาํ ทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ : ศาสตรแ ละศิลปส คู วามเปนผนู ําที่ สมบรู ณ (พิมพคร้ังที่ 2). กรงุ เทพฯ : วริ ัตนเอด็ ดูเคชั่น. สุภิญญา งามพริ้ง. (2556). ความฉลาดทางอารมณข องผบู ริหารสถานศกึ ษา สังกัดสาํ นักงานเขตพ้นื ท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาสระแกว เขต 2. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ า การบริหารการศกึ ษา บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั บูรพา. สุรยี พร รุง กําจดั . (2556). ความฉลาดทางอารมณข องผูบริหารสถานศึกษากับการดาํ เนินงานดานบุคคล ของสถานศึกษา อาํ เภอองครักษ สังกดั สาํ นกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครนายก วทิ ยานพิ นธศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีการบรหิ ารการศึกษา คณะครุศาสตร อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร.ี อนกุ ูล ทรงกลิน่ . (2559). ความฉลาดทางอารมณ การรบั รูความสามารถของตนเองและภาวะผูตามท่ีมีความ กลา หาญท่ีสงผลตอประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ัติงานของพนักงานฝายปฏิบตั ิการในอุตสาหกรรม ช้ินสวนยานยนต. การคนควา อิสระบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต สาขาการจดั การทั่วไป คณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร.ี อลงกรณ มีสุทธา, และ สมใต สัชฌกุ ร. (2552). การประเมินผลการปฏิบัตงิ าน การประเมนิ โดยใช Competency (พิมพครั้งท่ี 14). กรุงเทพฯ : ซีเอด็ ยเู คช่นั . อรุณี นลิ สระค.ู (2551). ความสัมพนั ธค วามฉลาดทางอารมณข องผูบ ริหารสถานศกึ ษากับผล การปฏิบัติงานของครูผสู อน ในสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน จงั หวดั บุรีรมั ย. วิทยานพิ นธ ครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ นิ ทร.

61 บรรณานุกรม (ตอ ) อิสริยาภรณ ชยั กหุ ลาย. (2553). ความฉลาดอารมณของผูบริหารสถานศกึ ษา สงั กัดสํานักงานเขตพนื้ ท่ี การศึกษาเลย เขต 1 เขต 2 และเขต 3. วทิ ยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย. อุไรวรรณ ชมู ี (2561). การศกึ ษาความฉลาดทางอารมณข องผูบริหารสถานศกึ ษาตามการรับรขู อง ครูผูส อนสงั กดั สํานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1. วิทยานิพนธค รุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ านี. Bolon, D. S. (1997). Organizational citizenship behavior among hospital employees: a multidimensional analysis involving job satisfaction and organizational commitment. Hospital and Health Services Administration, 42, 221-242. Cooper, R. K., & Sawaf, A. (1997). Executive EQ: Emotional intelligence in leadership and organization. New York: Berkley. Golman, D. (1998). Working with emotional intelligence. New York: Bantam Book. Salover P., & Mayer. J. D. (1990). Emotional intelligence, imagination, cognition and personality. New York: Basic Books. มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

ภาคผนวกมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ

63 ภาคผนวก ก เครื่องมอื ทใี่ ชในการวิจยั มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 64 แบบสอบถามเพอื่ การวิจยั เร่อื ง ความสัมพนั ธความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษากับผลการ ปฏิบัติงานของครผู สู อนในสถานศึกษา สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 คาํ ชีแ้ จง 1. แบบประเมินนี้สรางข้ึนเพ่ือสอบถามความคิดเห็นของทานเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณของ ผูบริหารสถานศึกษากับผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 2. แบบประเมินนีแ้ บงเปน 2 ตอนคอื ตอนที่ 1 สถานภาพของผตู อบ ตอนท่ี 2 เปนแบบสอบถามศึกษาความฉลาดทางอารมณของผบู ริหารสถานศึกษา ของ สถานศึกษา ในสงั กดั สํานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ตอนที่ 3 เปนแบบสอบถามศึกษาผลการปฏิบัติงานของครูผูสอนในสถานศึกษา สํานักงานเขต พน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ขอมูลท่ีจะไดจากการตอบคําถามของทานมีคาและเปนประโยชนตองานวิจัยฉบับนี้เปน อยางย่ิง ฉะนั้นจึงไมมีขอคําตอบท่ีถูกตองหรือผิด การสรุปผลการวิจัยครั้งนี้จะเปนการสรุปผลโดย สวนรวมไมมีการระบุช่ือของผูตอบแบบสอบถาม ดังนั้นจึงขอใหทานตอบตามความคิดเห็นและ ขอ เทจ็ จริงใหมากทสี่ ดุ ขอขอบพระคุณอยางยงิ่ ในความอนุเคราะห นางสาวจรรยา ดาํ ดี นกั ศึกษาปริญญาโทครุศาสตรมหาบัณฑิต

65 ตอนที่ 1 สถานภาพของผตู อบ คําช้ีแจง กรณุ าใหร ายละเอยี ดเกยี่ วกับตัวทา นเอง โดยกาเคร่ืองหมาย / ลงใน หนา ขอความทตี่ รงกับสภาพความเปนจริงเกยี่ วกับตัวทา น 1. เพศ หญงิ ชาย มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2. อายุ 31-40 ป นอยกวา 30 ป มากกวา 50 ป 41-50 ป 3. ระดับการศึกษา ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาตรี อน่ื ๆ....................................................... ปรญิ ญาเอก 4.ตําแหนง ครูผสู อน ผบู รหิ ารสถานศึกษา 5. ขนาดสถานศึกษา ขนาดเลก็ ขนาดกลาง ขนาดใหญ

66 ตอนที่ 2 ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา ของสถานศึกษา ในสังกัดสํานักงานเขต พ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 คาํ ชีแ้ จง แสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศึกษา ของ สถานศกึ ษา ในสงั กดั สํานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1อยใู นระดบั ใด มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง5 หมายถึง ความฉลาดทางอารมณของผบู ริหารสถานศึกษา อยูในระดับมากท่ีสดุ 4 หมายถึง ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศกึ ษา อยูในระดบั มาก 3 หมายถงึ ความฉลาดทางอารมณของผูบริหารสถานศกึ ษา อยูในระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง ความฉลาดทางอารมณของผบู รหิ ารสถานศึกษา อยูในระดบั นอย 1 หมายถงึ ความฉลาดทางอารมณของผบู ริหารสถานศกึ ษา อยูในระดับนอยท่ีสดุ ระดับ มากที่สดุ มาก ปาน นอ ย นอ ย ขอ ความฉลาดทางอารมณข องผูบริหาร กลาง ทสี่ ุด สถานศึกษา 5 4321 ตระหนกั รจู ักอารมณตน 1. ผบู ริหารสถานศึกษาเขาใจอารมณและ ความคิดของตนเอง 2. ผูบรหิ ารสถานศึกษาควบคุมอารมณของ ตนเองไดเม่ือเกดิ อารมณท ่บี ่ันทอนตอการ ทาํ งาน เชน โกรธ เสยี ใจ เปนตน 3. ผูบรหิ ารสถานศึกษาสามารถปฏิสมั พนั ธกับ บุคลากรไดอยางมีประสิทธภิ าพ 4. ผูบรหิ ารสถานศึกษาเขาใจความรูสึกของ ตนเองและซาบซง้ึ ในอารมของผอู น่ื เม่ือเผชิญ กบั สถานการณต าง ๆ 5. ผบู รหิ ารสถานศึกษาตระหนักไดว าความรูสึก เหลา นี้สามารถใหขอมลู ท่ีเปนประโยชน เกี่ยวกับการตัดสินใจที่ยากลาํ บากได

67 ระดับ มากทส่ี ดุ มาก ปาน นอย นอ ย ขอ ความฉลาดทางอารมณของผูบริหาร กลาง ท่ีสดุ สถานศกึ ษา 5 4321 จัดการอารมณข องตนมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1. ผบู ริหารสถานศึกษา สามารถควบคุมตนเอง ใหแ สดงออกไดอยา งเหมาะสม 2. ผบู ริหารสถานศึกษาไมแสดงอารมณ ความรสู กึ ตาง ๆ เม่ือโกรธ ชอบ ไมช อบ สามารถปรับเปล่ยี นความรูสึกทางลบใหเปน ทางบวกได 3. ผบู รหิ ารสถานศึกษาคิดไตรตรองอยาง รอบคอบกอนตัดสนิ ใจกระทําสิง่ ตาง ๆ ไม ปลอ ยใหความรูส ึกชนี้ าํ ชีวติ 4. ผบู ริหารสถานศึกษาทําความเขาใจและ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงในชีวิตได 5. ผูบริหารสถานศึกษายอมรบั ความลมเหลว และหาทางออกไดอยางสมเหตุสมผล สรางแรงจูงใจทด่ี ีแกตนเอง 1. ผบู รหิ ารสถานศึกษากระตนุ และเตือนตนเอง ใหค ิดรเิ ร่ิมอยางมีความคดิ สรางสรรค 2. ผบู ริหารสถานศึกษาผลักดันตนเอง มงุ สูเ ปาหมายทีต่ ้ังไว เพ่ือนํามาซ่ึงความสําเร็จ 3. ผบู ริหารสถานศึกษามารถอดทนรอตอการ แกปญหา และอุปสรรค เพื่อใหบรรลุ เปา หมายของสถานศึกษา 4. ผูบรหิ ารสถานศึกษามีความกระตือรือรน มี พลัง และความตั้งใจ ในการทาํ งาน 5. ผบู รหิ ารสถานศึกษาทํางานอยางมี ประสิทธิภาพ ไมยึดติดกับเงิน ผลประโยชน หรอื ตาํ แหนง

68 ตอนที่ 3 ผลการปฏบิ ัติงานของครูผูสอนสงั กัดสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ีเขต 1 คําชีแ้ จง แสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั ผลการปฏิบตั ิงานของครูผูสอนสงั กัดสานักงานเขตพ้นื ท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรเี ขต 1 อยใู นระดับใด 5 หมายถงึ ผลการปฏบิ ัตงิ านของครผู สู อน อยใู นระดับมากท่ีสุด 4 หมายถึง ผลการปฏิบตั ิงานของครผู ูสอน อยูในระดับมาก 3 หมายถึง ผลการปฏิบัตงิ านของครูผูสอน อยูในระดับปานกลาง 2 หมายถงึ ผลการปฏบิ ัติงานของครผู สู อน อยูในระดับนอย 1 หมายถึง ผลการปฏิบัติงานของครผู สู อน อยูในระดบั นอ ยทสี่ ุด มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ระดับ มากที่สดุ มาก ปาน นอย นอ ย ขอ ผลการปฏิบัตงิ านของครูผูสอน กลาง ทีส่ ดุ 5 4321 การปฏบิ ัติหนาท่ีครู 1. ครูมีความมุงม่ันพัฒนาผเู รียน ดวยจิต วิญญาณความเปน ครู 2. ครูประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดี มคี ุณธรรม จริยธรรม 3. ครูมีความเปนพลเมืองท่ีเขมแข็ง สงเสริมการ เรยี นรูเอาใจใส 4. ครูยอมรับความแตกตางของผเู รียนแตล ะ บุคคล สรา งแรงบันดาลใจผูเรียนใหเปน ผูใฝ เรยี นรู และผสู รางนวตั กรรม 5. ครูพัฒนาตนเองใหมคี วามรอบรู ทันสมยั และ ทันตอการเปลี่ยนแปลง การจัดการเรียนรู 1. ครูมีการพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา การ จดั การเรียนรู สื่อ การวดั และประเมินผล การ เรยี นรู บรู ณาการความรูและศาสตรก ารสอน ในการวางแผนและจดั การเรียนรู 2. ครูสามารถพัฒนาผเู รียนใหม ปี ญญารูคิด และ มคี วามเปน นวัตกรรม ดูแล ชวยเหลือ 3. ครูมีการพฒั นาผูเรยี นเปนรายบคุ คลตาม ศกั ยภาพ สามารถรายงานผลการพฒั นา คุณภาพผูเรยี นไดอยา งเปน ระบบ

69 ระดับ คุณลกั ษณะของผูบริหารสถานศึกษาใน มากทสี่ ุด มาก ปาน นอ ย นอ ย ขอ ศตวรรษท่ี 21 กลาง ที่สดุ 5 4321 4. ครูตระหนักถึงสุขภาวะของผูเรียน วิจยั สรางมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง นวตั กรรม และประยุกตใชเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลให เกิดประโยชนต อการเรียนรูของผเู รยี น ปฏิบตั งิ านรวมกบั ผูอนื่ อยางสรางสรรค .5. ครูมีสวนรวมในกิจกรรมการพัฒนาวชิ าชีพ ความสัมพนั ธกับผูปกครองและชุมชน 1. ครูมีความรวมมือกบั ผูปกครองในการพฒั นา และแกปญหาผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค 2. ครูสรางเครือขายความรว มมือกบั ผปู กครอง และชุมชน 3. ครูสนับสนุนการเรียนรทู ่ีมีคุณภาพของผเู รียน มีการศึกษาเขาถึงบริบทของชุมชน 4. ครูมีการศึกษาเขาถึงบริบทของชมุ ชนมาสูการ เรียนการสอน 5. ครูสามารถอยรู ว มกันบนพ้ืนฐานความ แตกตางทางวฒั นธรรมสง เสริมอนรุ ักษ วัฒนธรรม และภูมปิ ญญาทองถิ่น

ภาคผนวก ขมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ผลการตรวจสอบความตรงของแบบสอบถาม

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 71

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 72

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 73

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 74

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 75

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 76

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 77

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ 78

79 ภาคผนวก ค รายชือ่ ผเู ช่ยี วชาญตรวจสอบเครอ่ื งมอื วจิ ยั มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

80 รายชอ่ื ผเู ชย่ี วชาญตรวจสอบเครื่องมือวจิ ยั 1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมคิด ดวงจักร ตาํ แหนง อาจารย สถานทที่ าํ งาน มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู า นจอมบงึ 2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชวน ภารังกูล ตาํ แหนง อาจารย สถานทีท่ าํ งาน มหาวิทยาลยั ราชภัฏหมบู านจอมบึง 3. อาจารย สุดจิต หม่ันตะคุ ตําแหนง อาจารย สถานที่ทาํ งาน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมบู า นจอมบงึ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

ภาคผนวก งมหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง คา ความเชอ่ื ม่นั ของแบบสอบถาม

82 Reliability Scale: ALL VARIABLES Reliability Statistics Cronbach's Alpha มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงN of Items .894 44 Item Statistics Mean Std. Deviation N 1 4.00 .000 30 2 3.70 .915 30 3 4.00 .000 30 4 3.60 1.037 30 5 4.13 .730 30 1 4.13 .730 30 2 4.10 .712 30 3 3.27 1.015 30 4 3.47 .860 30 5 3.33 1.028 30 6 4.23 .430 30 7 3.57 .858 30 1 4.00 .910 30 2 3.90 .759 30 3 3.67 1.028 30 4 4.23 .430 30 5 4.10 .712 30 1 4.00 .000 30 2 4.00 .000 30 3 3.70 .915 30 4 4.07 .254 30 5 3.97 .615 30 6 4.07 .254 30 1 3.17 .699 30 2 3.17 .699 30 3 3.33 .758 30 4 3.87 .819 30 5 3.33 .758 30 6 4.07 .254 30

83 1 3.67 .758 30 2 3.63 .765 30 3 4.07 .254 30 4 3.97 .615 30 5 4.07 .254 30 1 4.50 .509 30 2 3.13 .507 30 3 4.07 .254 30 4 4.07 .254 30 5 4.07 .254 30 6 4.07 .254 30 1 4.07 .254 30 2 4.67 .479 30 3 4.27 .450 30 4 3.13 .507 30 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

ประวัติยอ ผูว ิจยั ชื่อ-นามสกลุ นางสาวจรรยา ดาํ ดี วัน เดอื น ปเ กิด วนั ที่ 14 มิถนุ ายน พ.ศ. 2532 สถานท่ีอยูปจจุบนั 163/4 หมู 11 ตําบลยางซาย อาํ เภอเมืองสโุ ขทัย จงั หวัดสุโขทัย ตาํ แหนงปจจบุ นั ครู ค.ศ.1 สถานทท่ี ํางานปจ จบุ นั โรงเรยี นบานเขาอสี าน ตาํ บลดอนทราย อาํ เภอปากทอ จงั หวัดราชบรุ ี มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ประวตั ิการศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนสุโขทยั วิทยาคม ตาํ บลบานกลว ย พ.ศ. 2540 อาํ เภอเมืองสโุ ขทยั จังหวัดสโุ ขทัย การศึกษาบณั ฑติ (กศ.บ.) วชิ าเอกวิทยาการคอมพวิ เตอร 16 มหาวิทยาลัยนเรศวร อําเภอเมืองพิษณโุ ลก จงั หวัดพษิ ณุโลก ครุศาสตรมหาบัณฑติ (ค.ม.) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา พ.ศ. 2551 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง อาํ เภอจอมบึง จงั หวดั ราชบรุ ี พ.ศ. 2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook