วชิ าเศรษฐศาสตร์เบ้ืองตน้ สอนโดย อ.ขวญั ตา จน่ั อิ๊ด โทร.083-9893239
บทท่ี 1 เรื่อง ความรู้เบอื้ งต้นเกยี่ วกบั เศรษฐศาสตร์
• เศรษฐศาสตร์ คอื อะไร เศรษฐศาสตร์ เป็ นวชิ าสาขาหนึ่งของสังคมศาสตร์ เพราะเป็ นวชิ าเกยี่ วกบั การศึกษาพฤตกิ รรมมนุษย์ใน สังคม โดยเน้นเร่ืองพฤติกรรมการทามาหากนิ เพอื่ ดารงชีพของมนุษย์
•อดมั สมิท (Adam Smith) “เศรษฐศาสตร์ เป็ นวชิ าท่ีว่าด้วยทรัพย์ อนั หมายถงึ เศรษฐทรัพย์ ถ้า ใครมีมากย่อมเป็ นผู้ม่ังคงั่ อยู่ดกี นิ ด”ี •อลั เฟรด มาร์แชล (Alfred Marshall) “ เศรษฐศาสตร์เป็ นวชิ าทศี่ ึกษาพฤตกิ รรมของมนุษย์ เกยี่ วกบั การดารงชีวติ ”
•ลอี อนเนล รอบบนิ ส์ (Leonel Robbins) “ เศรษฐศาสตร์เป็ นวชิ าท่ศี ึกษาถงึ การเลอื กหา หนทางในการใช้ปัจจัยการผลติ อนั มอี ยู่อย่าง จากดั อย่างมีประสิทธิภาพ เพอ่ื ผลติ สินค้าและ บริการ ไปบาบัดความต้องการของมนุษย์อนั มี อยู่อย่างไม่จากดั
จากความหมายของคานิยามมคี าอยู่ 6 คา ทคี่ วรขยาย คอื 1. การเลอื ก (choice ) เกิดข้ึนเพราะปัจจยั การผลิตต่างๆ ท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั ไปในทางที่ก่อ ประโยชนส์ ูงสุด จาเป็นตอ้ งเลือกใชป้ ัจจยั การผลิตที่มี อยอู่ ยา่ งจากดั ไปใชเ้ พื่อใหไ้ ดร้ ับความพอใจสูงที่สุด
2. ปัจจยั การผลติ ( factors of production) หรือทรัพยากรการผลิต หมายถึง องคป์ ระกอบท่ีใช้ ในการผลิตเพ่ือใหเ้ กิดสินคน้ และ บริการ ปัจจยั การผลิตแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ - ท่ีดินหรือทรัพยากรธรรมชาติ - แรงงาน - ทุน - การประกอบการ
3. มอี ยู่อย่างจากดั (scarcity ) หมายถึง ปัจจยั การผลิตท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั เม่ือนาไปใชจ้ ึงผลิต สินคา้ ในปริมาณท่ีจากดั ดว้ ย 4. ประสิทธิภาพ (efficiency ) หมายถึง การท่ีใชป้ ัจจยั การผลิตจานวนนอ้ ยที่สุดแต่ใหไ้ ดร้ ับ ผลผลิตจานวนมากที่สุด
5. สินค้าและบริการ (goods and services ) หมายถึง ส่ิงที่ไดจ้ ากการรวบรวม ผสมผสานปัจจยั การผลิตเขา้ กบั วตั ถุดิบ สาหรับ บาบดั ความตอ้ งการของมนุษย์ 6. ความต้องการทม่ี อี ยู่อย่างไม่จากดั (unlimited want ) หมายถึง ความอยาก ไดโ้ ดยไม่มีท่ีสิ้นสุด
ประวตั ิของวชิ าเศรษฐศาสตร์ ศตวรรษที่ 13-16 ซึ่งเป็ นช่วงทธี่ ุรกจิ การค้าของทวปี ยุโรปเจริญก้าวหน้ามาก เพราะประชาชนตระหนักว่าการค้านา ความมง่ั คงั่ มาสู่ประเทศ จงึ หาวธิ ีการทจี่ ะส่งสินค้าออกไปขาย ให้ได้มากกว่าการซื้อสินค้าจากประเทศอนื่ เข้ามา หรือทเ่ี รียกว่า การได้เปรียบทางการค้า แนวคดิ นีเ้ รียกว่า “ลทั ธิพาณิชย์นิยม” ในขณะท่ี อดมั สมทิ ชาวองั กฤษ ได้เขยี นหนังสือช่ือ “ความมั่ง คงั่ ของชาติ” (The Wealth of Nations) ซึ่งถือเป็ นหนังสือทางเศรษฐศาสตร์เล่มแรก
•ประเทศไทยใช้หลกั การทางด้านเศรษฐกจิ ในกจิ การ ด้านการค้า การเกบ็ ภาษอี ากร มาต้งั แต่สมัยสุโขทยั แต่ยงั ไม่ได้รวบรวมหลกั วชิ าการอย่างเป็ นแบบแผน จนถึง พ.ศ. 2454 พระยาสุริยานุวตั ร์ ได้เรียบ เรียงหนังสือช่ือว่า “ทรัพยาศาสตร์” ขนึ้ ถือเป็ น หนังสือเศรษฐสาตร์เล่มแรกของประเทศไทย
แขนงของวชิ าเศรษฐศาสตร์ แบ่งออกเป็ น 2 แขนง คอื 1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค เป็ นการศึกษาพฤติกรรม ทางเศรษฐกจิ ของส่วนย่อย ๆ ในสังคม 2. เศรษฐศาสตร์มหภาค เป็ นการศึกษาถึงภาวะ เศรษฐกจิ โดยส่วนรวมท้งั ระบบเศรษฐกจิ หรือท้งั ประเทศ
ทาไมต้องเรียนเศรษฐศาสตร์ เพอ่ื ท่ีจะนาความรู้ความเขา้ ใจมาแกป้ ัญหาการขาด แคลนทรัพยากรในท้งั ส่วนบุคคลและประเทศ ประโยชน์ของวชิ าเศรษฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์เป็นวชิ าที่มีประโยชนม์ ากเพราะเป็น ความรู้ที่เก่ียวขอ้ งกบั การดารงชีวติ ประจาวนั ของมนุษย์ ไม่วา่ จะอยใู่ นฐานะผผู้ ลิตหรือผบู้ ริโภคกต็ าม ซ่ึงจะ ส่งผลถึงการพฒั นา เศรษฐกิจของประเทศดว้ ย
เศรษฐศาสตร์ผู้บริโภค (Consumers Economics) หมายถงึ วชิ าทว่ี ่าด้วยการประยุกต์ทฤษฎที าง เศรษฐศาสตร์รวมถงึ เครื่องมอื และเทคนิคมาใช้ ในการตดั สินใจและการจดั การต่างๆ ของ ผู้บริโภค เพอ่ื ให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ของผู้บริโภค อย่างมีประสิทธิภาพ
ความสาคญั ของเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภค 1.มคี วามสาคญั กบั ชีวติ ประจาวนั ของมนุษย์ ต้งั แต่การ เลอื กใช้สินค้า การบริโภค ราคาสินค้า การใช้จ่ายให้ เพยี งพอกบั รายได้ 2.มคี วามสาคญั กบั ผู้บริหารประเทศ 3.มคี วามสาคญั กบั นักเรียน 4.มคี วามสาคญั กบั ผลประโยชน์ของประเทศ 5.มคี วามสาคญั กบั ความมนั่ คงของประเทศ
เศรษฐกจิ (economy) คอื การ ดาเนินกจิ กรรมเกย่ี วกบั การผลติ การจาแนก แจกจ่าย และการบริโภค สินค้าและบริการ โดย มุ่งหวงั ทจี่ ะกระทาอย่างมปี ระสิทธิภาพ ประหยดั และได้ประโยชน์มากทสี่ ุด
ปัญหาพนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ 1. ปัญหาว่าจะผลติ อย่างไร 2. ปัญหาว่าจะผลติ อะไร 3. ปัญหาว่าจะผลติ เพอ่ื ใคร
เศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficient Economy) หมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถงึ ความจาเป็ นทจี่ ะต้องมีระบบภูมิคุ้มกนั ในตวั ท่ี ดีพอสมควรต่อการมผี ลกระทบใดๆอนั เกดิ จากการ เปลยี่ นแปลงท้งั ภายนอกและภายใน เศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื เศรษฐกจิ ทส่ี ามารถอ้มุ ชูตวั เอง
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตผุ ล มีภมู ิคมุ้ กนั ในตวั ที่ดี เง่ือนไขความรู้ เง่ือนไขคณุ ธรรม รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ สตปิ ัญญาขยนั อดทน แบ่งปัน นาไปสู่ เศรษฐกจิ /สงั คม/สิง่ แวดลอ้ ม/วฒั นธรรม สมดลุ /พรอ้ มรบั ต่อการเปลย่ี นแปลง
บทท่ี 2 เร่ือง องค์ประกอบของเศรษฐกจิ
องค์ประกอบของเศรษฐกจิ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคอื ระบบเศรษฐกจิ (Economic Syutem) บุคคลในระบบเศรษฐกจิ
ระบบเศรษฐกจิ (Ecouomic Syutem) หมายถงึ รูปแบบทรี่ ัฐบาลจัดระบบทางเศรษฐกจิ โดย กาหนดผู้กระทากจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ควบคุมการ กระทากจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ให้เหมาะสมและเป็ น ผลดีต่อประโยชน์ประชาชนในประเทศ
รูปแบบระบบเศรษฐกจิ 1.ระบบเศรษฐกจิ ทุนนิยม - ประชาชนมีสิทธ์ิเป็นเจา้ ของทรัพยส์ ินไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี - ธุรกิจมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพ - ใชร้ ะบบราคา - มีการแข่งขนั อยา่ งเสรี - รัฐไม่ไดเ้ ขา้ ไปควบคุมกิจการต่างๆ
2.ระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยม - รัฐเป็นเจา้ ของการผลิตและดาเนินกิจการทางเศรษฐกิจท่ี สาคญั เสียเอง - ประชาชนยงั สามารถมีกรรมสิทธ์ิในทรัพยไ์ ดบ้ า้ ง - ระบบราคามีบทบาทนอ้ ยกวา่ แบบทุนนิยม - รัฐใชน้ โยบายการเกบ็ ภาษีในอตั รากา้ วหนา้ - มีวธิ ีการดาเนินการแบบสนั ติวิธี
3.ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม 1. ประชาชนและธุรกิจมีกรรมสิทธ์ิเป็น เจา้ ของทรัพยส์ ินไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ 2. รัฐจะเขา้ ไปดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่ สาคญั และคนส่วนใหญ่ใชป้ ระโยชน์ 3. ระบบราคายงั คงมีบทบาทสาคญั แต่ราคาที่ เกิดข้ึนอาจจะไม่ไดถ้ กู กาหนดจากกลไกตาดอยา่ งเสรี
4.ระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมวิ นิสต์ 1. รัฐเป็นเจา้ ของทรัพยส์ ินและปัจจยั การ ผลิตทุกอยา่ งประชาชนไม่มีสิทธ์ิเป็นเจา้ ของใดๆ 2. รัฐเป็นผดู้ าเนินการผลิตสินคา้ แต่เพยี งผเู้ ดียว ตลอดจนการคา้ การศึกษา การประชาสมั พนั ธ์ 3. ระบบราคาไม่มีบทบาท ใชว้ ธิ ีปันส่วน
บุคคลในระบบเศรษฐกจิ มี 3 ประเภท คอื 1.ผู้บริโภค (consumer) 2.ผู้ผลติ (producer) 3.เจ้าของปัจจยั การผลติ (factor owner)
จุดมุ่งหวงั ของบุคคลในระบบเศรษฐกจิ จุดมุ่งหวงั ของผู้บริโภค - ความพอใจสูงสุด จุดมุ่งหวงั ของผู้ผลติ - กาไรสูงสุด จุดมุ่งหวงั ของเจ้าของปัจจยั การผลติ - รายได้สุทธิสูงสุด
ผู้บริโภคต้องเผชิญกบั ปัญหาในระบบเศรษฐกจิ คอื 1.เสียเปรียบผู้ผลติ 2.สินค้าขาดคุณภาพ 3.สินค้ามรี าคาแพง 4.ถูกหลอกลวง 5.ขาดความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกบั สินค้า 6.ซื้อสินค้าตามค่านิยม 7.บริการหลงั การขาย
บทท่ี 3 การผลติ (Production) • การผลติ หมายถึง กระบวนการในการแปรรูปปัจจยั การผลิตเขา้ กบั วตั ถุดิบ โดยหน่วยการผลิตเพอ่ื ใหเ้ กิด เป็นสินคา้ และบริการต่างๆ นาไปบาบดั ความตอ้ งการ ของมนุษย์
การผลติ คือ ขบวนการท่ีเปลย่ี นแปลงปัจจัยการผลติ (Input) ให้ออกมาเป็ น ผลผลติ (Output) กระบวนการผลติ ผลผลิต(output) ปัจจยั การผลิต(input) ทดี่ นิ แรงงาน ทุน และ วธิ ีใดมีประสิทธิภาพที่สุด ผู้ประกอบการ วตั ถุดิบ สินค้าและบริการข้นั สุดท้าย (final goods)
การสร้างอรรถประโยชน์ (Utility) „ อรรถประโยชน์ด้านรูปลกั ษณ์ (Form Utility) เปลย่ี นรูปลกั ษณ์ ของสินค้า „ อรรถประโยชน์ด้านสถานที่ (Place Utility) การเคลอื่ นย้าย สินค้า „ อรรถประโยชน์ด้านเวลา (Time Utility) การเกบ็ รักษาหรือ ถนอมอาหาร - อรรถประโยชน์ทเ่ี กดิ จากการเปลย่ี นกรรมสิทธ์ิ (Possession Utility) „ อรรถประโยชน์ด้านบริการ (Service Utility)
การผลติ ขนาดใหญ่ การผลิตขนาดใหญ่เป็นการผลิตที่ตอ้ งใชเ้ ครื่องจกั ร เครื่องทุ่นแรง การจดั การและวทิ ยาการทนั สมยั เขา้ ช่วย เพื่อผลิตสินคา้ ใหไ้ ดค้ ราวละมากๆ สนองตอบความ ตอ้ งการของประชาชนท่ีเพมิ่ มากข้ึน ลาดบั ข้นั ในการผลติ 1. การผลติ ข้นั ประถม หมายถึง การผลิตท่ีใช้ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นปัจจยั สาคญั
2. การผลติ ข้นั มธั ยม หมายถึง การผลิตท่ีนาเอา ผลผลิตที่ไดจ้ ากการผลิตข้นั ประถมมาผลิตอีกต่อหน่ึง เพ่ือใหเ้ กิดเป็นสินคา้ และบริการใหม่ข้ึนมา 3. การผลติ ข้นั อดุ ม การผลิตในข้นั น้ีเป็นการ ใหบ้ ริการเพอ่ื อานวยความสะดวกในดา้ นการขนส่ง การคา้ ส่ง การคา้ ปลีก การเงิน การประกนั ภยั
หน่วยการผลติ หน่วยการผลติ หมายถึง ผทู้ ่ีประกอบกิจกรรมการผลิต สินคา้ และบริการรวมท้งั การขนส่งการจาหน่ายเพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของผบู้ ริโภค
1. เจ้าของคนเดยี ว หน่วยการผลิตแบบน้ีมี บุคคลคน เดียวหรือคนใกลช้ ิดกบั เป็นเจา้ ของในการดาเนิน กิจการซ่ึงตอ้ งรับผดิ ชอบทุกอยา่ ง • เป็ นรูปแบบการประกอบธุรกจิ ทม่ี ีผู้ดาเนินการมากทสี่ ุดและมี อายุเก่าแก่มากทสี่ ุด • ส่วนมากเป็ นธุรกจิ ในครอบครัว
2. ห้างหุ้นส่วน เป็นหน่วยการผลิตซ่ึงมีบุคคลต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป ร่วมกนั ดาเนินธุรกิจผเู้ ป็นหุน้ ส่วนมีสญั ญา ที่ออกทุนตามจานวนที่ตกลงกนั ห้างหุ้นส่วนแบ่งออกเป็ น 3 ชนิด 1) หา้ งหุน้ ส่วนสามญั 2) หา้ งหุน้ ส่วนสามญั นิติบุคคล 3) หา้ งหุน้ ส่วนจากดั
การเปรียบเทียบความแตกต่าง ห้ างหุ้นส่ วนสามญั ห้างหุ้นส่วนสามญั นิติ ห้ างหุ้นส่ วนจากดั บุคคล •ตอ้ งจดทะเบียน •ไม่ตอ้ งจดทะเบียน •ตอ้ งจดทะเบียน •มีฐานะเป็ นนิติบุคคล •หุน้ ส่วนมี 2ประเภท คือ •มีฐานะเป็นบุคคลธรรมดา •มีฐานะเป็นนิติบุคคล จากดั ความรับผดิ ชอบ และ ไม่จากดั ความรับผดิ ชอบ •หุน้ ส่วนมีประเภทเดียว •หุน้ ส่วนมีประเภทเดียว •ผถู้ ือหุน้ ประเภทไม่จากดั ความรับผดิ ชอบเท่าน้นั มี คือ ไม่จากดั ความ คือ ไม่จากดั ความ สิทธิเขา้ มาจดั การงานได้ •เสียภาษีจากกาไรสุทธิ รับผดิ ชอบ รับผดิ ชอบ •หุน้ ส่วนทุกคนมีสิทธิเขา้ •หุน้ ส่วนทุกคนมีสิทธิเขา้ มาจดั การงานได้ มาจดั การงานได้ •ตอ้ งเสียภาษีจากยอด •เสียภาษีจากกาไรสุทธิ รายไดไ้ ม่วา่ จะขาดทุนหรือ กาไร
3. บริษทั จากดั เป็นหน่วยการผลิตต้งั ข้ึนเพ่อื รวมทุน โดยออกหุน้ มี มลู ค่าหุน้ ละเท่าๆกนั และจะตอ้ งมีผู้ ร่วมลงทุนต้งั แต่ 7คนข้ึนไป ข้อดแี ละข้อเสีย ข้อดี มีทุนดาเนินงานมากสามารถขยายกิจการได้ อยา่ งรวดเร็วโดยการออกหุน้ กมู้ ีความมนั่ คงสูง ข้อเสีย อานาจในการจดั การมกั ตกอยกู่ บั ผถู้ ือหุน้ จานวนมาก
4. สหกรณ์ เป็นองคก์ รธุรกิจรูปแบบหน่ึงซ่ึงสมาชิกผมู้ ี ความเดือดร้อนในเรื่องคลา้ ยๆ กนั ร่วมกนั จดั ต้งั ข้ึน สหกรณ์ในประเทศไทยแบ่งออกเป็น 6 ประเภท คือ - สหกรณ์การเกษตร - สหกรณ์ประมง - สหกรณ์นิคม - สหกรณ์ออมทรัพย์ - สหกรณ์ร้านคา้ - สหกรณ์บริการ
5. รัฐวสิ าหกจิ คือ หน่วยการผลิตรูปแบบหน่ึงท่ีมีการ ดาเนินงานในลกั ษณะ ขององคก์ ารของรัฐบาลหรือ หน่วยงานธุรกิจท่ีรัฐบาลเป็นเจา้ ของ - เพ่อื ใหส้ วสั ดิการแก่ประชาชนไดบ้ ริการสินคา้ และบริการ - เพ่อื ควบคุมการผลิตและการบริโภค - เพ่ือความมนั่ คงและปลอดภยั ของประเทศ - เพื่อหารายไดส้ ่วนหน่ึงมาใชา้ ยในการบริหารประเทศ
บทท่ี 4 การบริโภค (Consumption) ความหมายของการบริโภค หมายถงึ การกนิ และการใช้สินค้าและบริการเพอื่ สนองความต้องของมนุษย์ การบริโภคในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถงึ การใช้ ประโยชน์จากสินค้าและบริการเพอ่ื สนองความต้องการของ มนุษย์ ท้งั ทางตรงและทางอ้อม
ประเภทของการบริโภค การบริโภคสินค้าไม่คงทน คือ การบริโภคของ ชนิดใดชนิดหน่ึงแลว้ ของชนิดน้นั จะหมดไป การบริโภคสินค้าคงทน คือ การบริโภคของชนิด ใดชนิดหน่ึงแลว้ ของชนิดน้นั ยงั คงใชไ้ ดอ้ ีกหลายหน
ปัจจัยท่เี ป็ นตัวกาหนดการบริโภค 1. รายได้ของผู้บริโภค หมายถึง รายไดส้ ุทธิของ ผบู้ ริโภค ซ่ึงเป็นรายไดซ้ ่ึงหกั ภาษีออกแลว้ รายไดข้ อง ผบู้ ริโภคนบั วา่ เป็นปัจจยั สาคญั ที่สุดในการกาหนด ค่าใชจ้ ่ายสาหรับผบู้ ริโภค ความโนม้ เอียงที่จะบริโภคเพม่ิ ข้ึน (MPC) ความโนม้ เอียงที่จะออม (MPS)
2. นิสัยการใช้จ่ายของผู้บริโภค คนเรามีนิสยั แตกต่าง กนั คนท่ีมีนิสยั สุรุ่ยสุร่ายพอใจหรืออยากไดส้ ิ่งใดกร็ ีบทนั ที คนประเภทน้ีมกั มีหน้ีสิน บางคนมีนิสยั ประหยดั ใชจ้ ่าย อยา่ งจาเป็นกจ็ ะเป็นคนท่ีมีการศึกษาดี มกั จะรู้สึกมนั่ คงใน การดาเนินชีวติ 3. การศึกษา ประสบการณ์และการเรียนรู้ของ ผู้บริโภค บุคคลที่มีการศึกษาท่ีดีมกั จะรู้สึกถึงประเภท และชนิดของอาหารท่ีเป็นประโยชนต์ ่อร่างกาย
4. ปริมาณของสินค้าในตลาด สินคา้ ใดมีปริมาณ มากกจ็ ะมีโอกาสซ้ือมาบริโภคมากด ส่ิงใดท่ีมีปริมาณ นอ้ ยเรากม็ ีโอกาสบริโภคนอ้ ย 5. ระบบการค้า ในปัจจุบนั การซ้ือขายโดยชาระ เงินสด จะเป็นที่นิยมแลว้ กย็ งั มีระบบแบบผอ่ นส่งซ่ึง เป็ นที่นิยมในหมู่คนทุกระดบั 6. การโฆษณา การโฆษณากเ็ ป็นอีกหน่ึงแรงจูงใจที่ทา ใหเ้ ลือกบริโภคส่ิงน้นั มากข้ึนดว้ ยความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการ บริโภค รายได้ การออมและการลงทุน
ผลท่ีเกิดจากการบริโภค ผลดี ผลเสีย • เกดิ การขยายตัวด้านการผลติ • เกดิ การบริโภคสินค้าอย่าง ฟ่ ุมเฟื อย • เกดิ การจ้างงานเพมิ่ ขนึ้ • ทาให้ขาดดุลการค้าเพม่ิ ขนึ้ • มีการใช้เทคโนโลยใี นการผลติ เพมิ่ ขนึ้ • ทาให้เกดิ การผลติ สินค้าและ บริการทขี่ าดคุณภาพ • เกดิ การขยายตวั ของธุรกจิ ที่ เกย่ี วข้อง • ทาให้เกดิ ภาวะเงนิ เฟ้ อ • เกดิ การออมมากขนึ้
ความสัมพนั ธ์ระหว่างการบริโภค รายได้ การออมและการลงทนุ ประชาชนโดยทวั่ ไปมกั ไม่บริโภคเกินรายไดท้ ่ีเขามีอยู่ เขาจะออมส่วนที่ไดเ้ พือ่ ใชจ้ ่ายยามจาเป็นในอนาคต หรือนาไปลงทุนทาธุรกิจดว้ ยตนเอง ดงั น้นั เงินออมที่ เกบ็ ไวจ้ ะกลายเป็นเงินลงทุน
การวเิ คราะห์พฤตกิ รรมผู้บริโภคด้วย ทฤษฎอี รรถประโยชน์ ความหมายของอรรถประโยชน์ หมายถึง ความ พอใจจากบุคคลไดร้ ับจากการบริโภคสินคา้ ชนิดใด ชนิดหน่ึงในระยะเวลาหน่ึง ประเภทของอรรถประโยชน์ อรรถประโยชนเ์ พมิ่ (MU) อรรถประโยชน์รวม (TU)
Search