Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่3-เพชร-โต๊ส

บทที่3-เพชร-โต๊ส

Published by dreammy.1511, 2021-10-05 19:15:02

Description: บทที่3-เพชร-โต๊ส

Search

Read the Text Version

บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนนิ การวจิ ยั จากการศึกษาคน้ ควา้ คณะผ้วู จิ ัยได้ทำการออกแบบวธิ กี ารดำเนนิ การวจิ ยั โดยมหี ัวขอ้ ในการดำเนินการ วจิ ัยดงั นี้ 1. การออกแบบและสร้างสอ่ื การเรยี นการสอนในรูปแบบแอนิเมชนั 2. การศึกษาประสทิ ธภิ าพการเรยี นรู้ทางสอื่ การเรียนการสอนในรูปแบบแอนเิ มชัน 3. การศกึ ษาประสทิ ธผิ ลความพงึ พอใจของกลมุ่ ตวั อย่างต่อสอื่ การเรียนการสอนในรปู แบบแอนเิ มชัน 3.1 วธิ กี ารศกึ ษาค้นคว้า 1. ศกึ ษาขอ้ มูลเบอื้ งตน้ ศกึ ษาและวิเคราะห์ ศึกษาขอ้ มลู เกย่ี วกับสอื่ การเรียนการสอน ศึกษาทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ท่ี สภาพปัญหา เกยี่ วขอ้ ง ออกแบบและสรา้ งชนิ้ งาน 2. สร้างส่ือการเรยี นการสอน ขัน้ วางแผน (Plan) ข้นั ปฏบิ ตั ิ (Do) ขน้ั ตรวจสอบ (Check) ขั้นปรับปรุง ออกแบบและเตรยี มการ สร้างส่อื การเรยี น ทดลองใชง้ านเพอื่ ตรวจสอบ (Action) 3. สร้างเคร่ืองมือแบบประเมนิ แบบบันทึก เครื่องมอื ฉบับ สมบูรณ์ ศึกษาขอ้ มลู ออกแบบสรา้ งสอ่ื การเรียน ตรวจสอบโดยกลมุ่ ตัวอย่างผู้ใชง้ าน 4. ทดลองใชแ้ ละเก็บรวบรวมข้อมูล ทดลองใชช้ นิ้ งาน ประเมนิ โดยกลมุ่ ตัวอย่างผใู้ ชง้ าน ปรับปรงุ บนั ทกึ ข้อมูล รวบรวม ข้อมูล 5. วิเคราะหข์ อ้ มลู แปรผล สรปุ ผล แผนภูมทิ ่ี 3.1 ขนั้ ตอนวธิ ีการดำเนนิ การวิจัย

5 3.2 ศกึ ษาการออกแบบและสร้างส่ือการเรยี นการสอนในรปู แบบแอนิเมชนั 3.2.1 โปรแกรมและแอพพลิเคชันทใ่ี ช้ในการสรา้ งส่ือการเรียนการสอนในรูปแบบแอนิเมชนั ภาพท่ี 3.1 Cap cut ภาพท่ี 3.2 Powtoon ภาพที่ 3.3 แอพเสยี งบนั ทึก 3.2.2 ข้นั ตอนการออกแบบ และสรา้ งสื่อการเรยี นการสอนในรปู แบบแอนิเมชนั 3.2.2.1 การออกแบบส่ือการเรียนการสอนในรูปแบบแอนิเมชัน ภาพที่ 3.4 การออกแบบส่ือการเรยี นในรูปแบบอนิเมชนั ออกแบบโดยใช้ Powtoon

6 3.2.2.2 เขยี นสรปุ เนอื้ หาทจี่ ะสร้างเปน็ สื่อการเรยี นการสอน ภาพที่ 3.5 ตัวอยา่ งสรปุ เนื้อหา 3.2.2.3 ใช้โปรแกรม Powtoon ในการสรา้ งวดี โี อ ภาพที่ 3.6 สร้างวีดโี อโดยโปรแกรม Powtoon

7 3.2.2.4 บันทกึ เสียงพากยแ์ อนเิ มชนั โดยโปรแกรม เสยี งบนั ทกึ ภาพท่ี 3.7 พากย์เสยี งแอนิเมชันโดยโปรแกรม เสยี งบันทกึ 3.2.2.5 นำเสยี งท่ีบนั ทึกไว้มาตดั ตอ่ ใส่ในแอนิเมชันโดยโปรแกรม Capcut ภาพที่ 3.8 ตัดตอ่ เสียงใสใ่ นแอนเิ มชนั โดยโปรแกรม Capcu

8 3.2.2.6 หลงั จากตดั ต่อเสียงและวิดโี อเสรจ็ ทำการ Render ไฟล์ออกมาเปน็ วิดโี อ ภาพท่ี 3.9 การ Render ไฟล์ออกมาเป็นวิดีโอ 3.3 การศกึ ษาประสิทธิผลความพึงพอใจของกลุ่มตวั อย่างต่อสื่อการเรยี นการสอนในรปู แบบแอนเิ มชนั คณะผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้ สื่อการเรียนรู้ในรูปแบบแอนิเมชันและให้กลุ่มตัวอย่างประเมิน ประสิทธิผลความพงึ พอใจ 3.3.1 ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง ในการดำเนินการวิจยั ในคร้ังน้ีกลุ่มผู้วิจัยได้ให้กลุ่มตัวอย่างที่มีความรู้ และประสบการณ์เกี่ยวกับส่ือการเรียนรู้ ในรูปแบบแอนิเมชัน 20 คน โดยคณะครูวิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด 10 คน และ นักศึกษาแผนกปโิ ตรเคมี 10 คน รวมท้ังส้ิน 20 คน 3.3.2 ขั้นตอนการตอบแบบสอบถามประสิทธิผลความพึงพอใจจากกลุ่มตัวอย่าง มีความพึงพอใจต่อสื่อการ เรยี นรใู้ นรปู แบบแอนิเมชนั และหาความพงึ พอใจ 1. ทำการตรวจสอบความเหมาะสมของเนื้อหาในการนำมาทำเป็นสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบแอนิเมชัน และความถูกตอ้ งของเนอ้ื หาให้กบั กลมุ่ ตวั อยา่ ง 2. ทำการอธิบายขอ้ มลู แบบสอบถามความพึงพอใจ และการกรอกแบบสอบถาม 3. แจกแบบสอบถามประสิทธิผลความพึงพอใจให้กับคณะครูวิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด 10 ใบ และ นกั ศึกษาแผนกปิโตรเคมี 10 ใบ 4. ทำการเกบ็ รวบรวมแบบสอบถามความพึงพอใจตามจำนวนที่ได้แจกไปให้กับคณะครวู ทิ ยาลัยเทคนิค มาบตาพุด และนักศึกษาแผนกปิโตรเคม

9 5. สรปุ ผลตามแบบสอบถามประสิทธผิ ลความพงึ พอใจและนำไปวเิ คราะหผ์ ล 3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล การวิจัยในครั้งนี้ทางคณะผู้วิจัยได้มีการเก็บข้อมูลจากการทดลองหาประสิทธิภาพ และข้อมูลจาก แบบสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 20 คน ทำการประเมินส่ือการเรียนรู้ในรปู แบบแอนิเมชันเพ่ือ พิจารณาประสิทธภิ าพ โดยให้กลมุ่ ผ้วู ิจยั สาธิตการสื่อการเรียนรู้ในรปู แบบแอนิเมชัน จากนั้นกลุ่มตัวอย่างประเมิน คุณภาพการใช้งานโดยใช้แบบสอบถามและขอ้ เสนอแนะความคดิ เห็น ซ่ึงมขี น้ั ตอนการดำเนินการดังน้ี เชญิ และนัดหมายกลมุ่ ตวั อย่าง ชี้แจงรายละเอยี ดกอ่ นสาธิต สาธติ การใชง้ านสือ่ การเรียนรู้ในรปู แบบแอนิเมชนั กลมุ่ ตัวอยา่ งประเมินความคดิ เหน็ เก็บรวบรวมขอ้ มูลจากกลมุ่ ตวั อย่าง แผนภมู ิที่ 3.2 ขน้ั ตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.5 การวิเคราะห์ข้อมลู และสรปุ ผล คณะผูว้ ิจัยไดท้ ำการรวบรวมข้อมูลจากแบบประเมินและสอบถามความพงึ พอใจของกลุ่มตวั อยา่ งท่มี ตี ่อส่ือการ เรยี นรใู้ นรปู แบบแอนิเมชันนำมาหาค่าดัชนี ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.5.1 การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสรปุ ผลมกี ารดำเนนิ การดังน้ี 3.5.1.1 นำแบบสอบถามให้กลุ่มตัวอยา่ งแต่ละคนพิจารณาลงความเหน็ ว่าจดุ ประเมินแต่ละข้อวัดได้ตรง ตามท่รี ะบุไว้หรือไมต่ ามแบบประเมนิ ท่ีกำหนดให้ 3.5.1.2 บันทึกผลการพิจารณาลงความเห็นของกลุ่มตัวอย่างในแต่ละหัวข้อแล้วหาคะแนนผลรวม คะแนนความคิดเหน็ ของกลุ่มตัวอยา่ งทง้ั หมดเปน็ รายข้อแทนค่าสูตร 3.5.1.3 กำหนดคะแนนจุดตัดเพื่อที่จะหาค่าคะแนนที่ต่ำที่สุดที่ยอมรับว่าแบบสอบถามสามารถวัดได้ตรง ตามขอ้ ความที่กำหนดไว้ 3.5.1.4 แปลความหมายดัชนีความสอดคล้องสอ่ื การเรยี นรู้ในรปู แบบแอนิเมชนั

10 3.5.1.5 การคำนวณหาคา่ เฉล่ีย (Mean) ของการประเมนิ โดยการใชห้ ลกั สูตร ดังน้ี X= Σx N X = คา่ เฉล่ยี ΣX = ผลรวมของข้อมลู ทั้งหมด N= จำนวนขอ้ มลู ทง้ั หมด คา่ X ทีไ่ ด้จากการประเมินจะมีคา่ อยู่ระหวา่ ง 1.00 ถึง 5.00 ซง่ึ มคี วามหมายตา่ ง ๆ ดังน้ี คา่ อยรู่ ะหวา่ ง 4.50 - 5.00 หมายถงึ มรี ะดับคณุ ภาพดีมาก ค่าอยรู่ ะหวา่ ง 3.50 - 4.49 หมายถงึ มรี ะดับคณุ ภาพดี คา่ อยรู่ ะหวา่ ง 2.50 - 3.49 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพพอใช้ ค่าอยู่ระหวา่ ง 1.50 - 2.49 หมายถึง มีระดบั คณุ ภาพควรปรบั ปรงุ คา่ อยรู่ ะหวา่ ง 1.00 - 1.49 หมายถงึ มรี ะดบั คณุ ภาพตอ้ งปรบั ปรงุ การคำนวณหาคา่ ส่วนเบีย่ งมาตรฐาน (Standard deviation) ของผลการประเมินโดยใชส้ ูตร ดงั นี้ S.D. =√n ∑ x2-( ∑ x2) n(n-1) S.D. = ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน X= ขอ้ มูลแต่ละจำนวน X= ค่าเฉลยี่ ของขอ้ มลู แตล่ ะจำนวน N= จำนวนข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook