Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือประวัติศาสตร์

คู่มือประวัติศาสตร์

Published by nanthintungtong06, 2021-05-22 07:09:46

Description: คู่มือประวัติศาสตร์

Search

Read the Text Version







คำนำ ตามมติคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2563 ณ ห้องประชุมเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ จังหวัดนราธิวาส ได้มีข้อสรุป เรื่อง การสนับสนุนให้ครูและบุคลากรเข้ารับการ อบรมจติ อาสา 904 และการจัดกิจกรรมทสี่ ่งใหเ้ กิดความรักชาติ เกิดความรกั ความสามัคคี เปน็ รากฐานท่ีเหนียวแน่น ในการพัฒนาประเทศชาติ ให้มีความเจริญมั่นคง สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ท่กี ำหนดดา้ นการพัฒนาการศึกษาเพ่ือความม่ันคง จงึ จำเป็นตอ้ งสง่ เสริมให้ความรู้ เรื่อง บุญคุณพระมหากษัตริย์ การปกป้อง และเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์และสถาบันสำคัญของชาติ และความ ปรองดองสมานฉันท์ มีความเข้าใจร่วมกัน เกิดความสมัครสมานสามัคคี เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และยึดมั่นในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตริย์เป็นประมขุ สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี จึงได้จัดโครงการจิตอาสา ให้กับกลุ่มเป้าหมาย อันประกอบด้วย ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ครู กศน.ตำบล ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น เพอื่ ให้การดำเนินงาน ขับเคลื่อนโครงการจิตอาสาของ สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี จะสามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบาย และจุดเน้นของ สำนักงาน กศน. ในการจัดโครงการจิตอาสา ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทำให้ผู้เข้ารับ การอบรม ให้ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ มีจติ สาธารณะพร้อมเป็นอาสาสมัครในการบำเพ็ญประโยชน์ต่อสว่ นรวม และเกิด ความรักชาติ เกิดความสามัคคี ร่วมกันปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ และสามารถขยายผลโครงการสู่ นกั ศกึ ษาและประชาชนในพน้ื ท่ซี งึ่ เปน็ รากฐานที่เหนียวแนน่ ในการพฒั นาประเทศใหม้ ีความเจริญมั่นคงสืบไป คณะผจู้ ดั ทำ

สารบัญ หนา้ ก เร่ือง ข คำปฏญิ าณ 1 บทราชสวสั ด์ิ ๗ 1. ความเปน็ มาของชนชาตไิ ทยและสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ไทย ๘ ๒. อาณาจักรโบราณตา่ งๆ ในดนิ แดนประเทศไทย ๘ ๓. อาณาจักร ละโว้ ๙ ๔. อาณาจกั ร โยนกนคร ๙ ๕. อาณาจักร หริภญุ ชัย ๙ ๖. อาณาจักร ตามพรลงิ ค์ ๑๐ ๗. อาณาจักร ศรวี ิชยั ๑๑ ๘. อาณาจกั ร ศรีโคตรบูร ๑๕ ๙. อาณาจักรสุโขทัย ๒๙ ๑๐. อาณาจกั รอยธุ ยา ๓๓ ๑๑. การสถาปนากรงุ รัตนโกสินทร์ ๓๔ บรรณานกุ รม คณะผู้จัดทำ

1 ความเปน็ มาของชนชาตไิ ทยและสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ไทย โดย นายไชยเดช ไฝทอง ครผู ู้ชว่ ย วิทยากรจิตอาสา 904 และทมี งาน สยามประเทศหรือประเทศไทยในปัจจุบันเป็นชนชาติมีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานกว่า 800ปี โดยมี การค้นพบหลกั ฐานจากแหล่งโบราณคดตี ่างๆ ในภมู ภิ าคของประเทศ แตใ่ นความเป็นชนชาติกลบั พบร่องรอยหลักฐาน ในจารึกหรือพงศาวดารที่เกา่ แก่ว่า ก่อนจะมชี นชาติไทย ดนิ แดนแถบนเ้ี คยมีความเจริญรงุ่ เรือง ของอาณาจักรต่างๆ ท่สี ำคญั มาก่อนซึง่ ผลดั กนั เรืองอำนาจ และล่มสลายลงไป และยังปรากฎร่องรอยในอดีต ทิ้งไวเ้ ปน็ มรดกแก่ชนชาติไทย ใหพ้ บเหน็ ในปัจจบุ นั แหล่งโบราณคดีทค่ี ้นพบในประเทศไทย ในดินแดนประเทศไทย ได้มีการค้นพบอารยธรรมของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์กระจายอยู่ทั่วไป เรียกว่า แหลง่ โบราณคดี แหลง่ โบราณคดใี นประเทศไทยทีส่ ำคัญ ได้แก่ - แหลง่ โบราณคดีบ้านเก่า ตำบลบา้ นเกา่ อำเภอเมือง จงั หวดั กาญจนบุรี - แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง ตำบลบา้ นเชยี ง อำเภอหนองหาน จังหวดั อดุ รธานี - แหล่งโบราณคดีพงตึก ตำบลพงตกึ อำเภอท่ามะกา จงั หวดั กาญจนบรุ ี เปน็ ต้น แหล่งโบราณคดีเหล่านี้มีการขุดค้นพบ โครงกระดูกมนุษย์ โลงไม้ เครื่องมือหินกะเทาะ ขวานหินขัด ภาชนะ ดินเผา ลายเขียนสี เครื่องมือเครื่องใช้ และเครื่องประดับที่ทำดว้ ยสำริด เหล็ก ลูกปัดโบราณ แสดงให้เห็นว่าดินแดนประเทศ ไทยแห่งนี้ มีมนุษยอ์ าศยั อยจู่ รงิ และไดส้ ร้างอารยธรรม วัฒนธรรม ท่รี ่งุ เรอื งในอดีตท่นี า่ ศกึ ษา

2 แนวคิดเกีย่ วกบั ถ่นิ กำเนดิ ของชนชาตไิ ทย คนไทยมาจากไหน เป็นหนึ่งในคำถามที่ยังไม่ได้ข้อสรุปท่ีชัดเจนแน่นอน ได้มีนักวิชาการ นักโบราณคดี นกั ประวัตศิ าสตร์ ทัง้ ไทยและตา่ งประเทศ ไดท้ ำการศกึ ษาค้นควา้ ถึงต้นกำเนิดของคนไทย จนสามารถสรปุ เป็นแนวคิด ที่เกย่ี วกับถิน่ กำเนิดของชนชาติไทยไว้อยา่ งน่าสนใจ อยู่ 5 แนวคิด ดังน้ี - แนวคดิ ท่ี 1 ชนชาติไทยอาศยั อยูแ่ ถบเทือกเขาอลั ไตบรเิ วณเอเชียกลาง ตอนเหนือของประเทศจนี - แนวคิดที่ 2 ชนชาตไิ ทยอาศยั อยู่แถบบริเวณมณฑลเสฉวน ลุม่ แม่น้ำแยงซีเกยี ง ตอนกลางของประเทศจนี - แนวคิดที่ 3 ชนชาติไทยอาศยั อยกู่ ระจายทวั่ ไปทางตอนใตข้ องประเทศจีน - แนวคิดท่ี 4 ชนชาตไิ ทยตั้งถิ่นฐานอย่ใู นพ้นื ท่ที เ่ี ป็นประเทศไทยปจั จบุ นั - แนวคดิ ท่ี 5 ชนชาตไิ ทยอาศยั อยู่บริเวณคาบสมุทรมลายู และหม่เู กาะทางใต้ แนวคิดท่ี 1 เชื่อว่าถ่นิ กำเนิดของชนชาตไิ ทยอยู่ทางตอนเหนอื ของประเทศจนี แถบเทอื กเขาอัลไต ผู้สนับสนุนแนวคิดนี้ คือ ดร.วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ (Dr.william Clifton Dodd) มิชชันนารีชาวอเมริกันได้เข้า มายงั ประเทศไทย และ ขนุ วิจิตรมาตรา

3 ซึ่งแนวคิดนี้ ไม่เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์ในปัจจุบัน เนื่องจากมีอุปสรรคในการเดินทางไปตั้งถิ่นฐานของ คนไทย และกลมุ่ คนไทยไม่นา่ จะอาศยั อยู่ไกลถงึ เทือกเขาอัลไต เพราะพน้ื ท่ดี งั กล่าวมีอากาศหนาวเยน็ มาก นอกจากน้ันการ เดนิ ทางลงมาทางใต้ต้องผา่ นทะเลทรายโกบี อนั กว้างใหญไ่ พศาล แนวคดิ ท่ี 2 เช่อื ว่าถ่ินกำเนิดของชนชาตไิ ทยอยทู่ างตอนกลางของประเทศจนี บริเวณมณฑลเสฉวน แผนท่แี สดงแนวคดิ ถนิ่ กำเนิดของชนชาตไิ ทยอยู่ในบริเวณตอนกลางของจีน ผู้สนับสนุนแนวคิดนี้ คือ แตร์รีออง เด ลา คูเปอรี (Terrien de la Couperie) และ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ พระบดิ าแหง่ ประวัติศาสตรไ์ ทย

4 ซึ่งแนวคิดนี้ระยะต่อมามีนักวิชาการได้ศึกษาค้นคว้าอย่างจริงจัง เกี่ยวกับวัฒนธรรมทางภาษาลักษณะเผ่าพันธ์ุ จากหลักฐานประเภทจดหมายเหตุจีน กล่าวถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณดังกล่าวไม่น่าจะมีความเกี่ยวข้องกับ คนไทยท่ีอาศยั อย่ใู นปัจจบุ ันมากนกั ดงั นั้น แนวคิดนจี้ ึงไม่เปน็ ที่ยอมรับของนกั วิชาการ แนวคดิ ที่ 3 เช่อื วา่ ถน่ิ กำเนดิ ของชนชาตไิ ทยอยทู่ างตอนใตข้ องประเทศจีนบริเวณมณฑลยูนาน ผู้สนับสนุนแนวคิดนี้ คือ อาร์ชิบัลด์ รอสส์ คอลูน (Archibald Ross Colquhoun) นักสำรวจชาวอังกฤษ ซึ่งได้พบ กลมุ่ ชนชาตไิ ทยอาศัยอยบู่ ริเวณตอนใตข้ องจนี มภี าษาพูดและความเปน็ อยคู่ ลา้ ยคลงึ กนั ในบรเิ วณท่ีไดเ้ ดนิ ทางสำรวจ ซง่ึ แนวคิดน้ี มผี ู้เชย่ี วชาญอีกหลายท่านทสี่ นับสนุนแนวคิดน้ี รวมถึง อ.ี เอช.ปารเ์ กอร์ : E.H.Parker ซึ่งเป็นชาวอังกฤษเคยเป็นกงสุลอังกฤษประจำเกาะไหหล่ำ ได้ลงความเห็นวา่ ในพุทธศตวรรษที่ 13 ชนชาติไทยได้ต้ัง อาณาจกั รน่านเจา้ ที่มณฑลยูนาน ตอ่ มาถูกจนี รกุ รานเลยถอยรน่ ลงมาทางตอนใต้ของจนี และหลายครวั เรอื นไดอ้ พยพ มาสู่แผ่นดนิ สุวรรณภมู ิ

5 แนวคดิ ท่ี 4 เชือ่ ว่าถ่ินกำเนดิ ของชนชาติไทยอยู่บรเิ วณดนิ แดนประเทศไทย มาราว 3,000 – 4,000 ปี แผนทแ่ี สดงแนวคดิ ถิ่นกำเนิดของชนชาติไทยอยู่ในประเทศไทย ผู้สนับสนุนแนวคิดนี้ คือ พอล เบเนดิกต์ (Paul Benedict) นักวิชาการชาวสหรัฐอเมริกา, ศาสตราจารย์นายแพทย์ สุดแสงวิเชียร ผู้เชี่ยวชาญด้านกายวิภาคศาสตร์ และ ศาตราจารย์ ชิน อยู่ดี ผู้เชี่ยวชาญ ทางโบราณคดีสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ในประเทศไทย

6 โดยใหเ้ ห็นผลวา่ พ้ืนทซ่ี ง่ึ เปน็ ดินแดนประเทศไทยในปจั จุบนั มรี ่องรอยของผคู้ นอาศัยอยมู่ าตง้ั แตย่ ุคหินเก่า ยุคหนิ กลาง ยุคหนิ ใหม่ ยคุ โลหะและเขา้ สู่ยคุ ประวัตศิ าสตร์ เน่ืองจากไดม้ ีการขุดคน้ พบร่องรอยทางโบราณคดีท่ีแสดงหลักฐานของ การอาศยั อยู่ของมนษุ ยจ์ ริง ไมว่ ่าจะเปน็ ที่ บ้านเกา่ / เมืองพงตกึ จังหวัดกาญจนบุรี หรอื ทีบ่ ้านเชียง ที่จงั หวดั อดุ รธานี ที่มีการขุดค้นพบโครงกระดูกมนุษย์โบราณ รวมถึงเครื่องใช้ของโบราณของมนุษย์ซ่ึงมีการคำนวนตามหลักโบราณคดี และวิทยาศาสตร์พบว่าสิง่ ทข่ี ดุ พบมอี ายตุ ่ำกวา่ 4 พนั ปี ข้นึ ไป ซึ่งแนวคิดนีน้ กั วิชาการในปัจจบุ ันให้ความสนใจและพูดถึงกันเป็นจำนวนมากแตท่ ั้งน้ีก็ต้องอาศัยการค้นคว้าด้วย วิธีการต่าง ๆ เพื่อหาข้อสรุปกันต่อไป ซึ่งผมต้องฝากคุณ ครู กศน.ทุกท่านช่วยกันค้นคว้าและหาคำตอบเพื่อเป็น ข้อมลู ทางวิชาการและประวัตศิ าสตร์ของชาติไทยต่อไป แนวคดิ ท่ี 5 เชื่อวา่ ถิ่นกำเนิดของชนชาตไิ ทยอย่บู รเิ วณคาบสมุทรอนิ โดจนี หรอื คาบสมทุ รมลายู แผนทแี่ สดงแนวคดิ ถ่นิ กำเนิดของชนชาติไทยอยู่ในคาบสมทุ รมลายูและหมเู่ กาะอนิ โดนเี ซยี

7 ผู้สนับสนุนแนวคิดน้ี คือ นักวิชาการทางการแพทยโ์ ดย นายแพทยส์ มศักด์ิ พันธุ์ สมบญุ , นายแพทย์ประเวศ วะสี คณะนักวิจัย ดา้ นพนั ธุศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ จากผลงานการวิจัยทางพันธุศาสตร์ของนายแพทย์สมศักดิ์พันธ์ุ สมบุญ เกี่ยวกับหมู่เลือด ลักษณะและความถี่ของยีน พบว่าหมู่เลือดของ คนไทยมี ความคล้ายคลึงกับคนชาวเกาะชวา ซึ่งอยู่ทางตอนใต้มากกว่าของคนจีนที่อยู่ ทางตอนเหนือรวมทั้ง ลักษณะความถี่ของยีนระหว่างคนไทยกับคนจีน ก็มีความแตกต่างกันและจากผลงานการวิจัยเรื่องฮีโมโกลบิน อี ของ นายแพทย์ประเวศ วะสี พบว่า ฮีโมโกลบิน อี พบมากในผู้คนแถบเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ คือไทย เขมร มอญ ปรากฏว่าฮโี มโกลบนิ อี แทบจะไม่มใี นหม่คู นจีน แนวคดิ น้ปี จั จุบนั ยงั เป็นทถ่ี กเถยี งกันอยวู่ ่า มีความเปน็ ไปไดม้ ากนอ้ ยแคไ่ หน และยังไม่เปน็ ทีย่ อมรับของ นักวชิ าการทค่ี น้ คว้าเกยี่ วกับถิ่นกำเนดิ ของชนชาติไทย อาณาจักรโบราณตา่ งๆ ในดนิ แดนประเทศไทย ประเทศไทยเดิมยังไม่เรียกประเทศไทยเพราะมีอาณาจักรหลากหลายอาณาจักรที่เจริญรุ่งเรืองกระจายอยู่ในช่วงยุค ประวัติศาสตร์ก่อนการบันทึก ซึ่งกล่าวง่ายๆว่า ก่อนจะมีอาณาจักรสโุ ขทัย ดินแดนไทยแห่งนี้ประกอบด้วยอาณาจักร โบราณตา่ งๆที่สำคญั และเคยเจรญิ รุ่งเรืองมาก่อนทจ่ี ะมีสโุ ขทัย ซงึ่ ประกอบด้วย อาณาจักร ทวารวดี เป็นอาณาจักรตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา สันนิษฐานว่าเมืองหลวงอาจอยู่ที่บริเวณนครปฐม หรือ อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี หรือราชบุรี ซึ่งยังไม่เป็นที่แน่ชัด แต่มีการค้นพบเหรียญเงินจารึกด้วยภาษาสันสกฤตที่นครปฐม สุพรรณบุรี และสิงห์บุรี มีข้อความวา่ “ศรีทวารวดีศวรปุณยะ” ซึ่งแปลได้วา่ “บุญกุศลของผู้เป็นเจ้าแห่งศรีทวารวด”ี อีกทั้งยังปรากฏร่องรอยการขุดพบโบราณวัตถุที่สำคัญ ที่แสดงให้เห็นถึงศิลปวัฒนธรรมสมัยทวาราวดีที่สำคัญ เช่น ธรรมจกั รและกวางหมอบ พระพิมพ์ ลกู ปัดโบราณ ในราวศตวรรษท่ี 12 เปน็ ต้น

8 อาณาจักร ละโว้ คือลพบุรีในเวลาต่อมา รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอาณาจักรเขมร ศิลปกรรมที่พบได้แก่ รูปปั้นพระโพธิสัตว์ อวโลกิเตศวร พระพุทธรูปนาคปรก พระปรางค์สามยอด เป็นอาณาจักรที่มีความเจริญรุ่งเรืองในราว ศตวรรษท่ี 15 และครองอำนาจยาวนานถงึ ศตวรรษที่ 18 ในดนิ แดนประเทศไทย ก่อนจะปรากฏอาณาจักร สโุ ขทัย อาณาจักร โยนกนคร ตั้งอยู่ทางภาคเหนือตอนบนของไทยในปัจจุบัน ศูนย์กลางคือเมือง “เชียงแสน” (เชียงราย) ต่อมาพญามังรายทำศึก สงครามขยายอาณาเขต ย้ายเมืองหลวงไปตั้งท่ี “นพบุรีศรีนครพิงค์” หรือ เชียงใหม่ เป็นเมืองหลวงของอาณาจักร “ลา้ นนา” มีความเจรญิ ทางวัฒนธรรม มตี วั หนังสอื เป็นของตนเอง เรยี กวา่ “อักษรธรรมล้านนา” หรอื “อักษรเมือง” ใช้ในการจารึกพระไตรปิฎก ถือเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนา ศิลปกรรมที่พบ ได้แก่ พระพุทธรูป เครื่องปั้นดินเผา ซ่งึ มคี วามเจรญิ รุ่งเรอื งราว ศตวรรษท่ี 16 และเป็นตน้ แบบใหอ้ าณาจักรทางลา้ นนาต่าง ๆ ไดเ้ จรญิ รุ่งเรอื งสืบตอ่ มา

9 อาณาจกั ร หรภิ ุญชยั ศนู ยก์ ลางอยทู่ เ่ี มอื งลำพนู หริ หมายถึง พระวษิ ณุ ในตำนานจามเทววี งศ์ ไดก้ ลา่ วถึง การสร้างเมืองหริภุญชัย ว่ามีการเชิญพระนางจามเทวี ธิดากษัตริย์มอญจากเมือง ละโว้ให้มาครองเมือง ต่อมาพระนางได้สร้างเขลางค์นครขึ้นมาอีกเมืองหนึ่ง ปัจจุบัน คือ ลำปาง ศิลปกรรมที่พบได้แก่ เจดีย์กู่กุด พระธาตุหริภุญชัย พระพิมพ์ดินเผา ซึ่งมคี วามเจรญิ รุ่งเรืองใน ศตวรรษที่ 16 อาณาจักร ตามพรลิงค์ ตั้งอยู่บริเวณภาคใต้ของไทย(บริเวณ จังหวัดนครศรีธรรมราช) หรือคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน คำว่า “ลิงค์” คอื “ลงึ ค์” หรอื อวยั วะเพศชาย “ สันนษิ ฐานว่าหมายถงึ “ศิวลึงค์” ในคติพราหมณ์ไศวะนิกาย ภายหลงั เปลี่ยนมานับ ถือพุทธศาสนา ตามจดหมายเหตุของจีนเรียกแคว้นนี้ว่า ตันเหมยหลิง ศิลปกรรมที่พบ ได้แก่ เทวรูปพระนารายณ์ ศวิ ลึงค์ เสาชิงช้า โบสถ์พราหมณ์ ซีง่ คล้ายกบั เสาชงิ ชา ทปี่ รากฏใน กรงุ เทพมหานครในปัจจุบนั อาณาจกั ร ศรวี ิชยั ตั้งอยู่ทางภาคใต้ของไทย ปรากฏชื่อในบันทึกของหลวงจีนอี้จิงว่า ชิลิโฟชิ (Shih-Li-Fo-Shih) คือ เมืองไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในปัจจุบัน ศิลปกรรมที่พบได้แก่ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พระบรมธาตุไชยา สถูปเจดีย์ ทรงกลม ซงึ่ รบั วัฒนธรรมมาจากชวา หรือประเทศอินโดนเิ ซยี ในราวศตวรรษท่ี 16

10 อาณาจักร ศรีโคตรบูร ตั้งอยู่ที่บริเวณภาคอีสานของไทยในปัจจุบัน มีศูนย์กลางอยู่ที่นครพนม โบราณสถานทางพระพุทธศาสนาที่พบคือ พระธาตุพนม พระธาตุนาดูร เป็นต้น ซึ่งมีอายุราว ศตวรรษที่ 13 นอกจากนี้ยังมีอาณาจักรอีกมากมาย ที่ไม่ได้ ปรากฏในช่วงรอยต่อประวัตศิ าสตร์แต่ถูกบนั ทึกในตำนานพนื้ บา้ น เชน่ ตำนานล้านนา ซงึ่ เปน็ อาณาจกั ร ซงึ่ เคยมีความ เจริญรุ่งเรืองอยู่ในดินแดนประเทศไทยในปัจจุบัน ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-16 มีความเจริญครอบคลุมไปยัง ดินแดนภาคเหนือ และภาคกลางของประเทศไทยในปัจจุบัน ตลอดจนถึงหัวเมืองมอญ ริมฝั่งทะเลอันดามัน ซึ่งอาณาจักรที่สำคัญเหล่านี้ล้วนเป็นดินแดนเขตชายฝั่งทะเลที่มีการติดต่อค้าขาย ทางทะเลกับอินเดียจีน อาหรับ และเป็นแหล่งที่มีความอุดมสมบูรณ์ด้านการเพาะปลูก จึงดึงดูดให้ผู้คน จากดินแดนภายนอก ตอนบนเคลื่อนย้ายลง มาต้ังหลักแหล่ง เปน็ จำนวนมาก จึงทำให้เกดิ เมืองใหญ่ๆ ขึ้น หลายเมอื ง นอกจากน้ันชมุ ชนแถบน้ียังได้รับอิทธิพล จากอินเดีย ทางด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และแบบแผนการปกครอง โดยนำมาปรับให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม ดั้งเดิมของตนเอง ซึ่งหลังจากพุทธศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา อาณาจักรขอมได้ขยายอิทธิพลเข้ามายังบริเวณ ภาคกลางในประเทศไทยในปัจจุบันทำให้ความสำคัญของอาณาจักรละโว้ ลดลง อิทธิพล ศิลปวัฒนธรรมของขอมได้ แพร่เข้ามาในดนิ แดนประเทศไทย โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น ปราสาทพนมรุ้ง จงั หวดั บรุ ีรมั ย์ ปราสาท หินพิมาย จังหวัดนครราชสีมาและเลยมาทางตะวันตกได้แก่ ปราสาทเมืองสิงห์ จังหวัดกาญจนบุรีและในช่วงเวลา ดังกล่าวละโว้เป็นศูนย์กลางที่สำคัญทางภาคกลาง จึงได้รับอิทธิพลศิลปะขอม โดยนำมาผสมผสานรูปแบบให้เป็น ลักษณะเฉพาะของตนเอง เช่นการสร้างพระปรางค์และเทวสถานต่างๆ ในดินแดนไทย ซึ่งมีคติความเช่ือเพื่อบูชาเทพ เจ้าจากอินเดีย คือพระศิวะ นั้นเอง ร่วมถึงการกำเนิดอาณาจักรสุพรรณภูมิหรือ “เจนลีฟู”สุพรรณภูมิเป็นชุมชนที่ เจริญเติบโตจากการค้าขายกับชาวจีน โดยพ่อค้าชาวจีนมาตั้งหลักแหล่งที่ไทย ในพุทธศตวรรษท่ี 19 อาณาจักร สุพรรณภมู มิ ีความรงุ่ เรอื งดา้ นเศรษฐกจิ อย่างมาก บรรดาเมอื งสำคญั ของอาณาจกั รสพุ รรณภูมิ เชน่ อูท่ อง กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี มีแม่น้ำไหลผ่านเมืองสามารถใช้เป็นเส้นทางติดต่อกับดินแดนภายในและติดต่อทางทะเลได้สะดวก โดยเฉพาะเมืองเพชรบุรี เป็นเมืองท่าที่สำคัญที่สามารถคุมเส้นทางติดต่อกับอาณาจักรตามพรลิงค์ (นครศรีธรรมราช) อาณาจักรสุพรรณภมู ิ ซง่ึ เติบโตระยะเวลาใกล้เคยี งกับอาณาจักรอโยธยาท่ีมกี ษัตริยป์ กครองเช่นเดียวกัน ประชาชนใน อาณาจักรสุพรรณภูมิให้การนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทเป็นหลัก แต่จากการที่สุพรรณภูมิมีการติดต่ออย่าง ใกล้ชดิ กบั เมืองละโว้ (ลพบุรี) ซึ่งมีความสมั พนั ธท์ างเครือญาติกบั กษัตรยิ ์ขอมสันนิษฐานไดว้ า่ อาณาจกั รสพุ รรณภูมิมีที่ ตั้งอยู่คนละฟากแม่น้ำกับเมืองละโว้ อาจรับอิทธิพลทางศิลปกรรมและพระพุทธศาสนานิกายมหายานไว้ด้วย โดยสงั เกตไดว้ ่าอิทธิพลของนิกายมหายานได้ปรากฏในหลายท้องถ่ินของอาณาจักรสุพรรณภูมิ เชน่ การสร้างปราสาท เมืองสิงห์ที่จังหวัดกาญจนบุรี และการสร้างพระปรางค์ที่วัดมหาธาตุ จังหวัดลพบุรี และพระปรางค์วัดมหาธาตุ จงั หวดั ราชบรุ ี

11 อาณาจกั รสุโขทยั การก่อตั้งอาณาจักรสุโขทัยก่อตั้งขึ้นประมาณ พ.ศ. 1780 โดยพ่อขุนศรี อินทราทิตย์ ทรงพระนามเดิมว่าพ่อขุนบางกลางหาว และพ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราด ทรงสถาปนาสุโขทัยขึ้นมาโดยขับไล่พวกขอมหรือเขมรโดยมีขอม สมาญโขลญลำพง เป็นผู้นำขอม ท้ังสองพระองค์ทรงสร้างความเป็นปึกแผ่นให้กับ ชนชาติไทย โดยขยายเขตการปกครองออกไปอย่างกว้างขวาง สุโขทัยเป็น ราชอาณาจักรของชาติไทย อยู่ประมาณ 200 ปี จึงถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ อาณาจักรอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 1893 เดิมที สุโขทัย เป็นสถานีการค้าของแคว้น ละโว้ (ลวรัฐ) ของอาณาจักรขอม บนเส้นทางการค้าผ่านคาบสมุทรระหว่างอ่าว เมาะตะมะ กับเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลาง (ประเทศลาว) คาดว่าเริม่ ตัง้ เป็น สถานกี ารค้า ในราวพทุ ธศักราช 1700 ในรชั สมัยของพระยาธรรมิกราช กษัตริย์ ละโว้ โดยมพี ่อขนุ ศรีนาวนำถม เป็นผปู้ กครองและดูแลกิจการภายในเมืองสโุ ขทยั และศรีสชั นาลยั ตอ่ มาเม่ือพ่อขุนศรี นาวนำถมสวรรคต ขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งเป็นคล้ายๆ กับผู้ตรวจราชการจากลวรัฐ เข้าทำการยึดอำนาจ การปกครองสุโขทัย จึงส่งผลให้พ่อขุนผาเมือง (พระราชโอรสของพ่อขุนศรีนาวนำถม) เจ้าเมืองราด และ พ่อขุนบาง กลางหาว เจ้าเมืองบางยาง ตัดสินพระทัยจะยึดดินแดนคืน การชิงเอาอำนาจจากผู้ครองเดิมคือ อาณาจักรขอม เม่อื ปี พ.ศ. 1781 และสถาปนาเอกราช ให้กรงุ สโุ ขทยั ข้ึนเป็นรัฐอิสระ โดยไมข่ ึ้นตรงกบั รัฐใด และพ่อขุนผาเมือง ก็ยกเมืองสุโขทัย ให้พ่อขุนบางกลางหาวปกครอง พร้อมทั้ง พระแสงขรรค์ชัยศรี และ พระนาม กำมรเตงอัญศรีอินทรบดินทราทิตย์ ซึ่งพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงพระราชทานให้พ่อขุนผาเมืองก่อนหน้านี้ โดยคาดว่า เหตุผลคือพ่อขุนผาเมืองมีพระนางสิขรเทวีพระมเหสี (ราชธิดาของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7) ซึ่งพระองค์เกรงว่า ชาวสุโขทยั จะไม่ยอมรบั แต่ก็กลวั วา่ ทางขอมจะไม่ไว้ใจจงึ มอบพระนามพระราชทาน และพระแสงขรรค์ชัยศรี ข้ึนบรม ราชาภิเษก พ่อขนุ ผาเมืองใหเ้ ป็นกษัตรยิ ์ เพ่ือเปน็ การตบตาราชสำนกั ขอม หลังจากมีการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นเป็นราชธานี และมีพ่อขุนศรี อินทราทิตย์ เป็นปฐมกษัตริย์ พระองค์ทรงดูแลพระราชอาณาจักร และบำรุงราษฎร เป็นอย่างดี ความเจริญรุ่งเรืองของสุโขทัย ยังขยายความรุ่งโรจน์อย่างมากในสมัย พ่อขุน รามคำแหงมหาราชทรงพระปรีชาสามารถทั้งในด้านนิรุกติศาสตร์ การปกครอง กฎหมาย วศิ วกรรม ศาสนา ความสมั พันธร์ ะหวา่ งประเทศ เปน็ ตน้ ผลงานของพระองค์ ที่ปรากฏให้เห็น อาทิ ศิลาจารึกที่ค้นพบในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ที่อธิบายถึงความเป็นมา ลีลาชีวิตของชาวสุโขทัยโบราณ น้ำพระทัยของ พระมหากษัตริย์ การพิพากษาอรรถคดี ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผลงานทางวิศวกรรมชลประทาน คือ การสร้างสรีดภงค์ หรือที่เรียกว่าทำนบพระร่วง ไว้เพื่อเป็นที่เป็นการกักเก็บน้ำไว้ใช้ในยามแล้ง มีการทำท่อส่งน้ำจากตัวเขื่อนมาใช้ใน เมืองและในสุโขทัยยังมีพระมหากษัตริย์ที่ทรงทำนุบำรุงศาสนามากที่สุดคือ พญาลิไท ในรัชสมัยของพระองค์มีการ สร้างวดั มากที่สุด กษตั รยิ ์พระองค์สดุ ท้ายในฐานะรัฐอิสระ คอื พระมหาธรรมราชาท่ี 4 (บรมปาล) ตอ่ จากน้ัน อาณาจักรได้ถูกแบ่งส่วน ออกเปน็ ของอาณาจกั รอยุธยา และอาณาจกั รลา้ นนา จนในทีส่ ุด อาณาจกั รท้ังหมด กถ็ ูกรวมศนู ย์ เขา้ เปน็ ดินแดนสวน หนงึ่ ของอาณาจักรอยุธยา โดยสมัย สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 2 (เจา้ สามพระยา) แห่งอาณาจกั รอยุธยา

12 การปกครองกรุงสโุ ขทัย ปรากฏเปน็ จารกึ ว่ามรี ูปแบบการปกครอง 2 ลักษณะ กล่าวคือ 1. แบบพ่อปกครองลูก พระมหากษตั ริย์กับประชาชนมีความใกลช้ ดิ แบบเครอื ญาติ เรยี กพระมหากษัตรยิ ์วา่ พอ่ ขุน 2. แบบธรรมราชา พระมหากษตั รยิ ์ เปน็ แบบอย่างของธรรมราชา เรยี กพระมหากษัตรยิ ว์ ่าพระมหาธรรมราชา รายพระนามพระมหากษตั ริย์ทเี่ คยครองกรุงสุโขทยั (อาณาจักรสโุ ขทยั ) 1.ราชวงศ์นำถุม (ราชวงศ์ผาเมอื ง) - พ่อขุนศรีนาวนำถุม ครองราชยป์ ใี ดไม่ปรากฏ - พ.ศ. 1724 ขอมสบาดโขลญลำพง - ขอมสบาดโขลญลำพง (พ.ศ. 1724 - พ.ศ. 1780) 2.ราชวงศพ์ ระรว่ ง - พอ่ ขนุ ศรอี ินทราทิตย์ (พ.ศ. 1780- สวรรคตปใี ดไมป่ รากฏ (ประมาณ พ.ศ. 1801) ) - พอ่ ขุนบานเมือง (หลังพ่อขุนศรีอนิ ทราทติ ยส์ วรรคต - พ.ศ. 1822) - พอ่ ขุนรามคำแหงมหาราช (พ.ศ. 1822 - พ.ศ. 1842) (ในพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยา เรียกว่า พ่อขนุ รามราช) - ป่ไู สสงคราม (รกั ษาราชการชวั่ คราวแทน พญาเลอไท ซึ่งขณะนน้ั ไม่ได้อยู่ในเมืองสโุ ขทัย) - พญาเลอไท (พ.ศ. 1842 - พ.ศ. 1833) - พญาง่ัวนำถมุ (พ.ศ. 1833 - พ.ศ. 1890) [1] - พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลไิ ท) (พ.ศ. 1890 - พ.ศ. 1913) - พระมหาธรรมราชาที่ 2 (ลือไท) (พ.ศ. 1913 - พ.ศ. 1931) (ตกเปน็ ประเทศราชของอยธุ ยาในปี พ.ศ. 1921) - พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสยลือไท) (พ.ศ. 1931 - พ.ศ. 1962) - พระมหาธรรมราชาท่ี 4 (บรมปาล) (พ.ศ. 1962 - พ.ศ. 1981) (ยคุ ทกี่ รุงสุโขทัยตกเป็นเมอื งประเทศราชใหก้ ับอาณาจกั รอยุธยา) - พระยายทุ ธิษฐิระ (พ.ศ. 1991 - พ.ศ. 2011) (เปน็ ประเทศราชล้านนาในปี พ.ศ. 2011) ราชวงศ์สุพรรณภูมิ - สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 2011 - พ.ศ. 2031) (สถาปนา และประทบั ณ พิษณุโลก จนส้นิ รัชกาล) - พระเชษฐาธริ าช (พ.ศ. 2031 - พ.ศ. 2034) (ตำแหนง่ พระมหาอุปราชของอยุธยา) - พระอาทติ ยวงศ์ (พระหน่อพทุ ธางกูร) (พ.ศ. 2034 - พ.ศ. 2072) (ตำแหน่งพระมหาอปุ ราชของอยธุ ยา) - พระไชยราชา (พ.ศ. 2072 - พ.ศ. 2077) (ตำแหน่งพระมหาอปุ ราชของอยุธยา) ราชวงศส์ ุโขทยั - พระมหาธรรมราชา (ขนุ พเิ รนทรเทพ) (พ.ศ. 2077 - พ.ศ. 2111) (เจ้าราชธานีฝ่ายเหนอื ) - พระนเรศวร (หลงั เสดจ็ กลับจากหงสาวดี - พ.ศ. 2127) (ตำแหน่งพระมหาอุปราชของอยธุ ยา)

13 การจดั รูปแบบการปกครอง 1. การปกครองราชธานี กรุงสุโขทัยเปน็ ศูนยก์ ลางการปกครองในอาณาจักร 2. การปกครองส่วนภูมิภาค เป็นการปกครองเมืองตา่ ง ๆ ท่ีอย่นู อกเมืองหลวงออกไป แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท - หัวเมอื งชั้นใน (เมืองลกู หลวงหรอื เมืองหนา้ ด่าน) เป็นเมืองท่ีตั้งอยูร่ อบ ราชธานี ทัง้ 4 ทศิ - หัวเมอื งชั้นนอก (เมืองพระยามหานคร) อยไู่ กลจากราชธานีมากกว่าเมือง ลกู หลวง กษัตริยท์ รงแต่งต้ังพระราชวงศ์หรือ ขนุ นางชนั้ สูงไปปกครองดูแลดนิ แดน - หัวเมืองประเทศราช เป็นเมืองที่อยู่ไกลราชธานีออกไปมาก เป็นเมืองของคนต่างชาติ ต่างภาษา ที่อยู่ใต้ การปกครองของสุโขทยั ด้านการปกครองสามารถแยกกลา่ วเปน็ 2 แนว ดังนี้ ในแนวราบ จัดการปกครองแบบพ่อปกครองลูก กล่าวคือผู้ปกครองจะมีความใกล้ชิดกับประชาชน ให้ความเป็นกันเอง และความยุติธรรมกับประชาชนเป็นอย่างมาก เมื่อประชาชนเกิดความเดือดร้อนไม่ได้รับความเป็นธรรม สามารถ ร้องเรียนกับพ่อขุนโดยตรงได้ โดยไปสั่นกระดิ่งที่แขวนไว้ที่หน้าประตูที่ประทับ ดังข้อความในศิลาจารึกปรากฏว่า \"….ในปากประตูมกี ระดงิ่ อนั หน่ึงไว้ให้ ไพร่ฟา้ หนา้ ใส…\" นน่ั คอื เปดิ โอกาสให้ประชาชนสามารถมาสั่นกระดิง่ เพ่ือแจ้งข้อ รอ้ งเรียนได้ ในแนวด่ิง ได้มีการจดั ระบบการปกครองขนึ้ เป็น 4 ชนช้นั คือ - พ่อขุน เป็นชนช้ันผู้ปกครอง อาจเรยี กชื่ออย่างอื่น เชน่ เจา้ เมอื ง พระมหาธรรมราชา หากมโี อรสก็ จะเรียก \"ลูกเจา้ \" - ลูกขุน เป็นข้าราชบริพาร ข้าราชการที่มีตำแหน่งหน้าที่ช่วงปกครองเมืองหลวง หัวเมืองใหญ่น้ อย และภายในราช สำนัก เปน็ กล่มุ คนทใ่ี กลช้ ิดและได้รับการไวว้ างใจจากเจ้าเมืองใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ที่บำบัด ทกุ ข์บำรงุ สุขแกไ่ พรฟ่ ้า - ไพร่หรอื สามญั ชน ได้แก่ราษฎรทว่ั ไปที่อยู่ในราชอาณาจกั ร (ไพรฟ่ ้า) - ทาส ได้แก่ชนชั้นทีไ่ ม่มีอิสระในการดำรงชีวิตอย่างสามัญชนหรือไพร่ (อย่างไรก็ตามประเด็นทาส นี้ยังคงถกเถียงกนั อยวู่ า่ มีหรือไม่) เศรษฐกจิ สมัยสุโขทัย สภาพเศรษฐกิจสมัยสุโขทัยเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ดังข้อความปรากฏในหลักศิลาจารึกหลักที่ 1 \"…ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใครจักใคร่ค้าเงินค้าทองค้า…\" และ \"...เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลาในนา มีข้าว...\" ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมด้วยระบบการเกษตรแบบพึ่งพาธรรมชาติ เช่นสังคมไทยส่วนใหญ่ใน ชนบทปจั จบุ นั

14 1. เกษตรกรรม การเพาะปลูกเปน็ อาชีพหลักของประชาชน ประชาชนท่ดี นิ ทำกนิ เป็นของตนเอง มรี ะบบชลประทาน เข้าช่วยในการทำการเกษตร 2. หตั ถกรรม เคร่อื งสังคโลก เปน็ สนิ คา้ ส่งออกไปขายยงั ต่างประเทศ 3. พาณิชยกรรม ระบบการค้าแบบเสรีไม่เก็บภาษี เงินตรา คือ เงินพดด้วง แบ่งออกเป็น สลึง บาท และตำลึง ความ เจรญิ ทางศิลปวฒั นธรรม ๔. ขนบประเพณี เป็นประเพณที ่ีเก่ียวกับพุทธศาสนา เชน่ ประเพณกี ารบวช ทอดกฐนิ การ สรา้ งวดั เปน็ ต้น ๕. ศาสนา พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (หนี ยาน) ลัทธิลงั กาวงศ์ เป็นศาสนาประจำชาติ ๖. ศิลปกรรม ส่วนใหญ่สร้างขึ้นด้วยความศรัทธาในพระพุทธศาสนา สถาปัตยกรรมที่ สำคัญ คือ เจดีย์ทรงกลมตาม แบบอย่างลังกา เจดีย์ทรงพ่มุ ขา้ วบิณฑ์ หรอื ดอกบัวตูม ๗. ภาษา และวรรณคดี พอ่ ขนุ รามคำแหงมหาราช ไดป้ ระดิษฐอ์ กั ษรไทยขน้ึ เป็นคร้งั แรก ใน พ.ศ. 1826 การใช้ชีวติ ของผคู้ นในสมัยสุโขทยั มคี วามอสิ รเสรี มเี สรีภาพอยา่ งมากเนื่องจากผปู้ กครองรัฐให้อิสระแก่ไพร่ฟ้า และปกครองผู้ใต้ปกครองแบบพ่อกับลูก ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกว่า \"…ด้วยเสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจกั มกั เลน่ เล่น ใครจักมักหวั หัว ใครจกั มักเลอื่ น เลือ่ น…\" ด้านความเชื่อและศาสนา สังคมยุคสุโขทัยประชาชนมีความเชื่อทั้งเรื่องวิญญาณนิยม ( Animism) ไสยศาสตร์ ศาสนาพราหมณ์ฮินดู และพุทธศาสนา ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ 1 ด้านที่ 3 ว่า \"…เบื้องหัว นอนเมอื งสุโขทยั นี้มีกฎุ วิ หิ ารปู่ครูอยู่ มสี รดี พงค์ มีปา่ พรา้ ว ป่าลาง ป่าม่วง ปา่ ขาม มีน้ำโคก มพี ระขระพุงผี เทพยาดา ในเขาอันนั้นเป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้ ขุนผู้ใดถือเมืองสุโขทัยนี้แล้ว ไหว้ดีพลีถูกเมืองนี้เที่ยว เมืองนี้ดี ผิไหว้บ่ดี พลบี ่ถกู ผีในเขาอนั น้นั บ่คมุ้ บ่เกรง เมอื งนห้ี าย…\" ส่วนด้านศาสนา ได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์จากนครศรีธรรมราชในวันพระ จะมีภิกษุเทศนาสั่งสอน ณ ลานธรรมในสวนตาล โดยใช้พระแท่นมนังคศิลาอาสน์ เป็นอาสนะสงฆ์ ในการบรรยาย ธรรมให้ประชาชนฟัง ยังผลให้ประชาชนในยุคนี้นิยมปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรม มีการถือศีล ทำทานกันเป็นปกติวิสัย ทำให้สังคมโดยรวมมคี วามสงบสขุ ร่มเยน็ - ความสัมพันธก์ ับตา่ งประเทศ - ความสมั พนั ธ์กับลา้ นนา และอาณาจกั รพะเยา เป็นไมตรกี ันตลอดมา - ความสัมพันธ์กับอาณาจักรมอญ มอญสวามิภักดิ์ต่อสุโขทัย ในสมัยพ่อขุนรามคำแหง มหาราช เพราะทรงสนับสนุน มะกะโทราชบตุ รเขยเป็นกษตั ริย์ - ความสัมพันธ์กับอาณาจักรนครศรีธรรมราช สุโขทัยรับเอาพุทธศาสนานิกายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ มาจากลังกา โดยผ่านเมืองนครศรธี รรมราช - ความสัมพนั ธ์กับลงั กา สุโขทัยมีความสัมพันธอ์ ย่างใกล้ชิดกับลังกา ลงั กาไดถ้ วายพระ พทุ ธสหิ ิงคแ์ กส่ ุโขทัย - ความสัมพันธ์กับจีน สุโขทัยทำการค้ากับจีนมาเป็นเวลานาน จีนได้ส่งคณะทูตเข้ามา เจริญสัมพันธไมตรีกับไทย ซึง่ เปน็ ประโยชน์กับไทยท้งั การเมือง และการคา้

15 ความเสอ่ื มของกรุงสุโขทยั 1. การแยง่ ชิงราชสมบัติระหว่างเชื้อพระวงศ์ของสุโขทัยทำใหอ้ ำนาจการปกครองออ่ นแอลง 2. พระมหากษตั รยิ ข์ องสุโขทัยสมยั ต่อมา ทรงสนพระทัยทางด้านศาสนามากกว่าการ ป้องกันประเทศ 3. อาณาจักรอยุธยา สถาปนาข้ึนทางตอนใต้ มคี วามเขม้ แข็งมากขึ้น จึงผนวกอาณาจกั ร สโุ ขทัยเป็นอาณาเขตเดยี วกัน และเปลี่ยนศนู ย์กลางอำนาจมาอยใู่ นอยธุ ยาแทนสุโขทัย อาณาจักรอยธุ ยา พ.ศ. 1893 – 2310 เมื่อสิ้นรัชกาลพ่อขุนรามคำแหงมหาราช อาณาจักรสุโขทัยก็เสื่อมลง พระมหากษัตริย์ที่สืบราชสมบัติต่อจาก พ่อขุนรามคำแหง คือ พระยาเลอไทย (รัชกาลที่ 4) และพระยางั่วนำถม (รัชกาลที่ 5) ไม่สามารถรักษาอาณาจักร ให้คงสภาพเดิมได้ บรรดาหัวเมืองและอาณาจักรที่เคยอยู่ในอำนาจต่างพากันแข็งเมืองตั้งตนเป็นอิสระ ในจำนวนนี้ มีเมอื งสำคญั คือ เมืองอูท่ อง ใน พ.ศ. 1890 ซง่ึ เปน็ ปที ีพ่ ระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลไิ ทย) ขนึ้ ครองราชยเ์ ป็นรชั กาลท่ี 6 แห่งกรุงสุโขทัยนั้น เมืองอู่ทองเกิดภัยธรรมชาติ ลำน้ำจระเข้สามพันตื้นเขิน เกิดขาดแคลนน้ำ อหิวาตกโรคระบาดทำให้ผู้คนล้มตาย เป็นอันมาก เจ้าเมืองอู่ทองจึงอพยพผู้คนไปยังทำเลที่มีน้ำอุดมสมบูรณ์ มาบริเวณเวียงเก่า หรือปัจจุบันเชื่อว่า เป็นบริเวณที่เป็นวัดพุทไธสวรรค์ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาปัจจุบัน ทรงสร้างพระราชวังขึ้นที่ริมหนองโสน (บึงพระราม) แล้วประกาศสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ใน พ.ศ. 1893 และเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) กรุงศรีอยุธยาเป็นทำเลที่มีพื้นที่อันมีสภาพทางภูมิศาสตร์ ที่ถอื กนั วา่ เหมาะ คอื มแี ม่นำ้ 3 สาย ไหลผา่ น ได้แก่ แมน่ ำ้ ลพบรุ ี ไหลจากทศิ เหนือโอบออ้ มไปทางทิศตะวันตก แมน่ ้ำเจา้ พระยา ไหลผ่านทางทิศใต้ แม่น้ำปา่ สกั ไหลผา่ นทางทศิ ตะวันออก จึงทำให้ผืนแผ่นดินนี้มีลักษณะเป็นเกาะ เป็นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเกษตร สะดวกแก่การคมนาคมติดต่อกับ ต่างประเทศเพราะใกล้ทะเลเป็นชุมทางค้าขายที่สำคัญ ทั้งยังมีความเหมาะสมในด้านยุทธศาสตร์ มีแม่น้ำล้อมรอบ เป็นแนวป้องกันตามธรรมชาติได้อย่างดี ยากที่ข้าศึกจะเข้าโจมตีหรือล้อมกรุงไว้ได้นาน เพราะเมื่อถึงฤดูน้ำหลากน้ำ กจ็ ะท่วมถึงบริเวณน้โี ดยรอบอีกด้วย

16 พระมหากษตั ริยแ์ ห่งกรุงศรอี ยธุ ยา กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทยอยู่นาน 417 ปี มีพระมหากษัตริย์ ปกครองทั้งสิ้น 34 พระองค์นับรัชกาล ได้ 35 รชั กาล มี 5 ราชวงศ์ คือ ราชวงศ์อทู่ อง ราชวงศส์ พุ รรณภมู ิ ราชวงศส์ โุ ขทัย ราชวงศ์ปราสาททอง ราชวงศบ์ ้านพลูหลวง 1. สมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) 1893 – 1912 – สถาปนากรงุ ศรีอยธุ ยาเป็นราชธานี – จัดระเบยี บการปกครองแบบจตุสดมภ์ 2.สมเดจ็ พระราเมศวร 1912–1913 (ครง้ั ที่ 1) 3.สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 1 (ขนุ หลวงพระง่วั ) 1913 – 1931 -สุโขทัยยอมอยู่ใต้อำนาจอยุธยา 4.สมเดจ็ พระเจ้าทองลนั (หรือเจา้ ทองจนั ทร)์ 1931 (7 วนั ) 5.สมเดจ็ พระราเมศวร 1931–1938 (คร้งั ที่ 2) – ทำสงครามชนะล้านนา – ตนี ครเมอื งหลวงของเขมร (ขอม) ได้ 6.สมเดจ็ พระรามราชาธริ าช 1938 – 1952 – สุโขทัยประกาศอิสรภาพ 7.สมเด็จพระอนิ ทราชา (เจ้านครอินทร์) 1952 – 1967 – อยุธยากลบั มีอำนาจเหนอื สุโขทัยอกี ครั้ง 8.สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี 2 (เจา้ สามพระยา) 1967 – 1991 – รบชนะอาณาจักรเขมร – รวมสุโขทยั เขา้ กบั อยธุ ยาเม่ือ พ.ศ. 1891 9.สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ 1991 – 2031 – ปฏิรปู การปกครองรวมอำนาจเขา้ สู่ศูนย์กลาง – ประกาศใช้ระบบศักดินา 10.สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (พระอินทราชาที่ 2) 2031 – 2034 11.สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 2034 – 2072 – หลอ่ พระศรสี รรเพชญ์ – โปรตุเกสเขา้ มาเจริญสัมพนั ธไมตรกี บั ไทยเปน็ ชาตแิ รก 12.สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 4 (หน่อพทุ ธางกูร) 2072 – 2076 13.พระรษั ฎาธริ าช 2076 – 2077 (5 เดือน) 14.สมเดจ็ พระไชยราชาธริ าช 2077 – 2089 – อยธุ ยาทำสงครามกบั พมา่ เป็นคร้ังแรก -ล้านนายอมเป็นประเทศราชของอยุธยา 15. พระยอดฟา้ (พระแกว้ ฟ้า) 2089 – 2091 16.ขนุ วรวงศาธริ าช 2091 (42 วัน) -เกิดเหตกุ ารณท์ า้ วศรสี ุดาจนั ทร์ 17.สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ (พระเจา้ ชา้ งเผือก) 2091 – 2111 -ไทยเสยี สมเดจ็ พระสุริโยทัยในการรบกับพม่า เมื่อ พ.ศ. 2091 – ไทยแพ้พม่าในสงครามชา้ งเผอื ก พ.ศ. 2106 18.สมเดจ็ พระมหินทราธริ าช 2111 – 2112 – เสียกรงุ อยธุ ยา ครัง้ ที่ 1 แก่พม่า เมื่อ พ.ศ. 2112

17 19.สมเด็จพระมหาธรรมราชาธริ าช (พระสรรเพชญท์ ี่ 1) 2112 – 2133 – อยธุ ยาเป็นประเทศราชของพม่า 15 ปี - เขมรโจมตไี ทยหลายครง้ั – พระนเรศวรทรงประกาศอิสรภาพจากพมา่ เม่ือ พ.ศ. 2127 20.สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช (พระสรรเพชญ์ท่ี 2) 2133 – 2148 – ไทยชนะพมา่ ในสงครามยุทธหตั ถี พ.ศ. 2135 กู้เอกราชให้ชนชาตไิ ทย - ไทยขยายอาณาเขตออกไปกวา้ งขวางออกไปกว้างขวางกวา่ สมยั ใดๆ 21.สมเดจ็ พระเอกาทศรถ (พระสรรเพชญท่ี 3) 2148 – 2153 – ส่งทตู ไปฮอลันดา นบั เปน็ ทูตไทยคณะแรกที่ไปยโุ รป 22.พระศรีเสาวภาคย์ (พระสรรเพชญท์ ี่ 4) 2153-2154 (1ป2ี เดอื น) 23.สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม (พระอนิ ทราชา) 2154 – 2171 – พบรอยพระพทุ ธบาทสระบุรี -ทรงนิพนธ์กาพยม์ หาชาติ 24.สมเดจ็ พระเชษฐาธิราช2171 – 2172 (8 เดอื น) 25.พระอาทิตย์วงศ์ 2172 ( 38 วนั ) 26.สมเดจ็ พระเจ้าปราสาททอง (พระสรรเพชญ์ที่ 5) 2172 – 2199 – ไดเ้ ขมรเปน็ เมอื งประเทศราช 27.สมเดจ็ เจา้ ฟา้ ไชย (พระสรรเพชญที่ 6) 2199 (3-5 เดือน) 28. สมเดจ็ พระศรสี ุธรรมราชา (พระสรรเพชญท์ ่ี 7) 2199 (2 เดอื น) 29. สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช 2199 – 2231 – สง่ ออกพระวสิ ุทธสนุ ธร (โกษาปาน) เป็นทตู ไปฝร่งั เศส –รับวิทยาการจากชาติ ตะวนั ตกเขา้ มามาก - เป็นยุคทองของวรรณคดี 30.สมเดจ็ พระเพทราชา 2231 – 2246 – ความสมั พันธก์ บั ฝร่งั เศสส้นิ สุดลง –การคา้ กับตา่ งประเทศลดลง นโยบายปดิ ประเทศสยาม – เกดิ กบฏในเมืองตา่ งๆ 4 ครง้ั 31.สมเดจ็ พระสรรเพชญ์ท่ี 8 (พระเจา้ เสือ) – เรอ่ื งราวของพันทา้ ยนรสิงห์ 32. สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 (พระเจ้าท้ายสระ) 2251 – 2275 – ขุดคลองมหาไชยเช่ือมแม่น้ำแมก่ ลองกบั แมน่ ำ้ ท่าจีน 33.สมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวบรมโกศ 2275 – 2301 – สง่ สมณทตู ไปฟนื้ ฟูพุทธศาสนาในลังกา - มคี วามรุ่งเรืองด้านวรรณกรรม กวสี ำคัญได้แก่ เจา้ ฟา้ ธรรมาธิเบศร (เจ้าฟ้ากุ้ง) 34.สมเด็จพระเจา้ อุทุมพร (ขุนหลวงหาวัด) 2301 (1 เดือน) 35.สมเด็จพระทีน่ ั่งสุริยาศน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) 2301 – 2310 – เสียกรุงศรีอยธุ ยาครั้งที่ 2 แก่พม่า เม่ือ พ.ศ. 2310 เปน็ อันสิน้ สดุ สมยั อยุธยา ** ข้อเพิ่มเติม**1 สมเด็จพระราเมศวร มีการบรมราชาภิเษก 2 ครั้ง และ ขุนวรวงศาฯ นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่นับ เปน็ พระมหากษัตรยิ ์

18 การเมืองการปกครอง การปกครองของไทยในสมัยอยุธยา เปลี่ยนแปลงต่างไปจากสุโขทัยเพราะได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรม จากเขมร (ขอม) เข้ามามาก โดยเฉพาะลัทธิเทวราช ซึง่ เขมรรับมาจากอินเดียอีกทอดหน่ึง ลัทธินอี้ งค์พระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ สมมตุ เิ ทพอยู่เหนือบุคคลสามญั ทรงมพี ระราชอำนาจสงู สดุ ทรงไว้ซึ่งอาญาสทิ ธิเ์ หนอื ผอู้ ื่นทั้งปวงในอาณาจักร คือ นอกจากจะทรงเปน็ เจา้ ของแผน่ ดินแลว้ ยังทรงเป็นเจา้ ของชีวิตราษฎรอีกดว้ ย พระมหากษัตริย์สมัยอยธุ ยา จึงมีฐานะแตกต่างจากพระมหากษัตรยิ ์สมัยสุโขทยั อย่างมาก เช่น การเข้าเฝา้ พระมหากษัตรยิ ต์ ้องหมอบคลานแสดงความออ่ นน้อม การพูดกับพระมหากษัตรยิ ์ต้องใช้ราชาศัพท์ เม่ือเสด็จออกนอก พระราชวังราษฎรต้องหมอบกราบและก้มหน้า มีกฎมณเฑียรบาลห้ามมองพระพักตร์ของพระมหากษัตริย์ เนื่องจาก พระองค์เป็นสมมุติเทพและเพื่อการป้องกันการทำร้ายพระองค์ สิ่งเหล่านี้ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่าง องค์พระมหากษัตริย์กับประชาชนห่างเหินกัน ความใกล้ชิดแบบบิดาปกครองบุตรแบบสุโขทัยจึงน้อยลง นอกจากน้ี ยังมีระเบียบแบบแผนเกี่ยวกับความปลอดภัยของพระมหากษัตริย์และราชบัลลังก์อีก เช่น ให้ถือเขต พระบรมมหาราชวังเป็นเขตหวงห้ามสำหรับประชาชนสามัญ มีการรักษาความปลอดภัยเข้มงวด มีนายประตูดูแล ตลอดเวลา มีมาตราป้อนกันมิให้เจ้าเมือง ลูกขุน ราชบุตร ราชนัดดาติดต่อกัน ต้องการให้แต่ละบุคคลแยกกันอยู่ เป็นการแยกกันเพือ่ ปกครอง มใิ ห้มีการรวมกนั ไดง้ ่าย เพราะอาจคบคิดกนั นำภัยมาสู่บ้านเมอื งหรือราชบัลลงั กไ์ ด้ การจัดการปกครองสมยั อยุธยาตอนต้น พ.ศ. 1893 – 1991 การจัดการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น ตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ถึงรัชกาล พระบรมราชาธิราชท่ี 2 (เจา้ สามพระยา) เป็นรูปแบบการปกครองที่ไดร้ ับอิทธิพลจากเขมรและสโุ ขทัยในลกั ษณะ 1. การปกครองสว่ นกลาง จัดการบริหารแบบจตสุ ดมภ์ หมายถึง การทีพ่ ระมหากษัตริย์เป็นผู้ปกครองโดยตรง ได้แบ่ง หนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบเป็นกรมสำคญั 4 กรม ปฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ังน้ี กรมเวียง หรือ กรมเมือง มีขุนเวียงเป็นหัวหน้า ทำหน้าที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของราษฎร ท่วั ราชอาณาจักร กรมวัง มีขุนวงั เปน็ หวั หน้าดแู ลรักษาพระราชวงั จัดงานพระราชพธิ ีตา่ งๆ และพจิ ารณา พพิ ากษาคดี กรมคลัง มีขุนคลังเป็นหัวหน้า รับผิดชอบด้านการเงินและการต่างประเทศทั่วราชอาณาจักรด้านการเงิน ทำหน้าทเี่ กบ็ ภาษีอากร ใชจ้ ่ายพระราชทรพั ย์ จดั แต่งสำเภาหลวงออกค้าขาย ในด้านตา่ งประเทศทำสญั ญาการค้าและ ติดต่อทางการทูตกบั ต่างประเทศ กรมนา มีขุนนาเป็นหัวหน้า ทำหน้าที่ดูแลเรือกสวน ไร่นา ทั่วราชอาณาจักร และจัดเตรียมเสบียงอาหารให้ เพียงพอในยามบ้านเมอื งมศี ึกสงคราม 2. การปกครองส่วนภูมิภาค การจัดการปกครองส่วนภูมิภาค จัดตามแบบอาณาจักรสุโขทัย เพราะเมืองต่างๆ ส่วนใหญ่เคยอยู่ใต้อำนาจของอาณาจักรสุโขทัยมาก่อน มีการแบ่งเมืองเป็นระดับชั้น มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลาง เมืองต่างๆ จดั แบ่งออกดงั น้ี เมืองหน้าด่าน หรือ เมืองป้อมปราการ เป็นเมืองที่มีความสำคัญในการป้องกันราชธานี ระยะทางไปมา ระหว่างเมองหน้าด่านกับราชธานีใช้เวลาเดินทางภายใน 2 วัน มักเป็นเมืองใหญ่หรือเมืองที่มีความสำคัญทาง ยทุ ธศาสตร์ พระมหากษตั รยิ จ์ ะแตง่ ตัง้ พระราชโอรสหรือเจ้านายชนั้ สูงไปปกครอง บางทจี่ งึ เรยี กว่า เมืองลกู หลวง หัวเมืองชั้นใน คือ เมืองที่อยู่ถัดจากเมืองหน้าด่านออกไป พระมหากษตั ริย์จะทรงแต่งต้ังเจ้านายหรือขุนนาง ไปปกครอง ข้นึ ตรงตอ่ เมอื งหลวง หัวเมืองชั้นนอก หรือ เมืองพระยามหานคร เป็นเมืองขนาดใหญ่ ที่มีประชาชนคนไทยอาศัย อยู่ห่างจากราช ธานี ตอ้ งใช้เวลาหลายวนั ในการตดิ ต่อ มีเจา้ เมอื งปกครอง อาจเปน็ ผู้สืบเช้ือสายจากเจา้ เมอื งเดมิ หรอื เป็นผทู้ ีท่ างเมือง หลวงตา่ งต้งั ไปปกครอง

19 เมืองประเทศราช เป็นเมืองทีอยู่ชายแดนของอาณาจักร ชาวเมืองเป็นคนต่างชาติต่างภาษา มีเจ้าเมืองเป็น คนท้องถิ่น จัดการปหกครองภายในของตนเอง แต้องส่งเครื่องบรรณาการมาถวายตามกำหนด ได้แก่ ยะโฮร์ เขมร และเชียงใหม่ (ลา้ นนา) การจดั การปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง พ.ศ. 1991 – 2072 เมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถขึน้ ครองราชย์ (พ.ศ. 1991 – 2031) พระองค์ทรงปรับปรงุ ระเบยี บการปกครองใหม่ เพราะ เห็นว่าการปกครองแบบเก่ายังหละหลวม กรุงศรีอยุธยา ควบคุมดูแลเมืองในส่วนภูมิภาคได้ไม่ทั่วถึง บรรดาเมืองต่างๆ เบียดบังรายได้จากภาษีอากรไว้ ทำให้ราชธานีได้รับ ผลประโยชนไ์ ม่เต็มที่ นอกจากนั้นในระยะท่ีมีการผลัดแผน่ ดิน หากกษัตรยิ พ์ ระองค์ใหม่ทรงเข้มแขง็ มอี ำนาจ ก็จะไม่มีปัญหา ทางการปกครอง แต่หากกษัตริย์พระองค์ใหม่ทรงอ่อนแอ ไม่เด็ดขาดหรือยังทรงพระเยาว์อยู่ บรรดาเมืองประเทศราช และเมืองพระยามหานคร มักฉวยโอกาสแยกตนเป็นอิสระ อยู่เสมอ นอกจากนี้ยังมีปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากเมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่าน เจ้าเมืองมีอำนาจมากและมักจะ ยกกำลังทหารทหารเข้ามาแย่งชิงราชสมบัติอยู่เนืองๆ และอาณาจักรอยุธยาในสมัยนี้มีอาณาเขตกว้างขวางมาก กว่าเดิม สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงต้องปรับปรุงการปกครองใหม่ มีลักษณะสำคัญสองประการ คือ จัดการรวม อำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ทำให้ราชธานมี ีอำนาจและมีการควบคุมเข้มงวดขึน้ และแยกกิจการฝ่ายพลเรอื นกบั ฝ่ายทหาร ออกจากกนั (เป็นครัง้ แรก) สาระสำคัญท่ีเปลี่ยนไปมีดังน้ี 1. การปกครองส่วนกลาง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดให้มีตำแหน่งสมุหกลาโหมและสมุหนายก สมุหกลาโหม รับผิดชอบด้านการทหาร มีหน้าที่บังคับบัญชา ตรวจตราการทหาร เกณฑ์ไพร่พลในยามมีศึก ยามสงบ รวบรวมผ้คู น อาวุธ และ สมุหนายก ทำหน้าท่ีบังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายพลเรอื นทว่ั ราชอาณาจกั รและดูแลจดุสดมภ์ พระองค์ได้ทรงกำหนดหน่วยงานระดับกรม (เทียบได้กับกระทรวงในปัจจุบัน) ขึ้นอีก 2 กรม จึงมีหน่วยงาน ทางการปกครอง 6 กรม กรมใหม่ท่จี ดั ต้งั ขนึ้ มีเสนาบดีรับผดิ ชอบในหนา้ ท่ี ดงั นี้ กรมมหาดไทย มีพระยาจักรีศรีองครักษ์เป็นสมุหนายก มีฐานะเป็นอัครมหาเสนาบดี มีหน้าที่ควบคุมกิจการ พลเรอื นทั่วประเทศ กรมกลาโหม มีพระยามหาเสนาเป็นสมุหพระกลาโหม มีฐานะเป็นอัครมหาเสนาบดี มีหน้าที่ควบคุมกิจการ ทหารทวั่ ประเทศ พรอ้ มกันน้ไี ด้ปรบั ปรงุ กรมจตุสดมภเ์ สียใหม่ ให้มเี สนาบดีรับผิดชอบงานในหน้าที่ของแต่ละกรม คือ กรมเมือง มีพระนครบาลเปน็ เสนาบดี กรมวัง มีพระธรรมาธกิ รณเ์ ป็นเสนาบดี กรมคลัง มีพระโกษาธบิ ดเี ปน็ เสนาบดี กรมนา มีพระเกษตราธิการเป็นเสนาบดี

20 2. การปกครองส่วนภูมิภาค สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดฯ ให้ยกเลิกเมืองหน้าด่านหรือเมืองลูกหลวง ใหจ้ ัดการปกครองหวั เมอื งในสว่ นภมู ภิ าค ดังนี้ หัวเมอื งช้นั ใน จัดเปน็ เมืองชั้นจัตวา ผปู้ กครองเมืองเรยี กวา่ “ผรู้ ัง้ ” ไมม่ อี ำนาจอยา่ งเจา้ เมอื ง ต้องปฏบิ ตั ิตาม คำสั่งของราชธานี เป็นเมอื งทต่ี ้งั อยู่โดยรอบราชธานี เชน่ ชยั นาท นครสวรรค์ สุพรรณบุรี ปราจีนบรุ ี ฉะเชิงเทรา และ ชลบุรี เปน็ ตน้ พระมหากษตั ริย์ทรงแต่งตงั้ ขนุ นางในกรงุ ศรีอยุธยาไปทำหน้าทผี่ รู้ ้งั เมือง หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ เมืองที่อยู่ถัดจากหัวเมืองชั้นในออกไป (ซึ่งเป็นเมืองพระยามหานครในสมัยก่อน) จัดเป็นหัวเมืองชั้นตรี โท เอก ตามขนาดและความสำคัญของเมืองนั้นๆ อาจมีเมืองเล็กขึ้นด้วยพระมหากษัตริย์ ทรงแต่งตั้งเจ้านายในพระราชวงศ์หรือขุนนางผู้ใหญ่ออกไปปกครองเป็นเจ้าเมือง มีอำนาจเต็มในการบริหารราชการ ภายในเมอื ง เมืองประเทศราช โปรดฯ ให้มีการจัดการปกครองเหมือนเดิม คือ ให้มีเจ้านายในท้องถิ่น เป็นเจ้าเมือง หรือ กษัตริย์ มีแบบแผนขนบ๔รรมเนยี มเป็นของตนเอง พระมหากษัตรยิ ์แหง่ กรุงศรีอยุธยาเป็นผู้ทรงแต่งต้ัง เมืองประเทศ ราชมหี นา้ ทีส่ ่งเคร่อื งราชบรรณาการมาถวายพระมหากษัตริย์แหง่ กรุงศรีอยุธยา การจดั การปกครองสมัยอยธุ ยาตอนปลาย พ.ศ. 2072 – 2310 การจัดการปกครองแบบรวมอำนาจเขา้ สูส่ ่วนกลางตามที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงวางรากฐานไวค้ งใช้ มาตลอด แต่ได้มีการแก้ไขปรับปรุงให้เหมาะกับสภาพบ้านเมืองยิ่งขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ (พ.ศ. 2199 – 2231) ทรงใหย้ กเลิกการแยกความรบั ผดิ ชอบของอัครมหาเสนาบดเี กี่ยวกบั งานด้านพลเรือนของสมุหนายก และงาน ด้านทหารของสมุหกลาโหม โดยให้สมุหกลาโหมรับผิดชอบทั้งดา้ นทหารและพลเรือน ปกครองหัวเมอื งฝ่ายเหนือและ หัวเมืองอีสาน ส่วนหัวเมืองตอนกลาง และหัวเมืองชายทะเลตะวันออก ให้อยู่ในอำนาจของเมืองหลวงโดยตรง ทั้งนี้ด้วยพระองค์ทรงเห็นวา่ การแยกกิจการฝา่ ยทหารและฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรอื นจากกันอยา่ งเด็ดขาด ไม่อาจทำ ได้อย่างได้ผลดี โดยเฉพาะในยามสงคราม บ้านเมืองต้องการกำลังพลในการสู้รบจำนวนมาก ชายฉกรรจ์ต้องออกรบ เพื่อชาติบ้านเมืองทุกคน จึงเป็นการยากในทางปฏิบัติ อีกประการหนึ่ง มีบทเรียนที่แสดงให้เห็นว่า เมื่อให้ สมหุ กลาโหมคมุ กำลงั ทหารไว้มาก ทำใหส้ ามารถลม้ ราชวงศก์ ษัตริย์ลงได้

21 เศรษฐกิจ เกษตรกรรม อยุธยาตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำ และดินดีอุดมสมบูรณ์ จึงมีการปลูกข้ามกันทั่วไป รองลงมาก็เป็นไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง มะพร้าว หมาก และพชื ผักผลไม้ เชน่ ฝา้ ย พรกิ ไทย พรกิ หอม กระเทียม เปน็ ตน้ การทำนาทำสวนในสมัยอยุธยาให้ผลผลิตที่ดี และมีรายได้สูง ราษฎรเสีย อากรด่านและอากรสวน ได้โดยไม่เดือดร้อน มีข้าว พืชผัก ผลไม้เป็นอาหาร เพียงพอแก่การบริโภคในแต่ละครัวเรือน ผลผลิตท่ีเหลือ จากการบริโภคนำไปเป็นสินค้าส่งออก เช่น ข้าว เป็นที่ต้องการของต่างประเทศทั่วไป หมาก ขายให้จีน อินเดีย และโปรตุเกสที่มาเก๊า ฝ้าย มะพร้าว ขายให้ญี่ปุ่น มะละกา ฮอลันดา ฝร่ังเศส ญวน เขมร จนี อุตสาหกรรม การอุตสาหกรรมส่วนใหญ่มุ่งเพื่อการบริโภคในประเทศ ได้แก่ เครื่องใช้ในครัวเรือนมี เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม เครื่องจักสาน เครื่องเหล็ก เพื่อการเกษตรมี ผาล จอบ เสียม มีด ฯลฯ ทั้งที่ใช้เป็นอุปกรณ์การงาน และอาวุธ (หมู่บ้านอรัญญิก) เครื่องปั้นดินเผา เครื่องเคลือบดินเผา การต่อเรือเพื่อการคมนาคม การประมง และการบรรทุกสนิ ค้า อตุ สาหกรรมส่งออกมีจำนวนนอ้ ย ท่พี บคือน้ำตาล พาณิชยกรรม ทำเลที่ตั้งของอยุธยาสะดวกแก่การคมนาคมทางน้ำ เพราะมีแม่น้ำหลายสายและไม่ห่างจาก ปากน้ำเกินไป การนำสินค้าเข้าและออกทางทะเลทำได้สะดวก อาณาจักรที่อยู่เหนือขึ้นไป คือ สุโขทัย และล้านนา ก็จำเป็นต้องใช้อยุธยาเป็นทางผ่านสู่ทะเล ทำให้อยุธยาเป็นศูนย์กลางการค้า อยุธยาจึงมีการขายเป็นอาชีพหลัก อีกอยา่ งหนึ่งนอกเหนือจากการเกษตร ในสมัยอยุธยาตอนต้น มีการค้าขายกับจีน ญี่ปุ่น อาหรับ มลายู อินเดีย ชวา และฟิลิปปินส์ การค้า กับต่างประเทศในสมัยแรกมีลกั ษณะค่อนข้างจะเสรี ยังไม่มีการผูกขาดมากดังเช่นในสมัยหลงั การค้าสำเภาสว่ นใหญ่ เป็นของพระมหากษัตริย์ เจ้านาย ขุนนาง และพ่อค้าชาวจีน ครั้นถึงรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ทรงปฏิรูป การปกครองอาณาจักร สามารถควบคุมหัวเมืองต่างๆ ได้รัดกุม เก็บภาษีได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย ไม่รั่วไหล ล่าช้า สินค้า จากหัวเมืองเป็นสิ่งที่พ่อค้าต่างชาติต้องการจึงส่งเป็นสินค้าออก การค้าขายต่างประเทศขยายตัวออกไปกว้างขวาง กว่าสมัยก่อน จนมีพ่อค้าชาวตะวันตกเข้ามาค้าขาย คือ โปรตุเกส เป็นชาติแรก หลังจากนั้นก็มีชาติตะวันตกอื่นๆ เข้ามาอีก ได้แก่ สเปน ฮอลันดา อังกฤษ และฝรั่งเศสตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิเป็นต้นมา เริ่มมีการจัดระบบผูกขาดทางการค้า โดยกำหนดให้สินค้าบางอย่างเป็นสินค้าบางอย่างเป็นสินค้าต้องห้าม ซึ่งการซอ้ื ขายต้องผ่านพระคลงั สินคา้ ในระยะต่อมาการผูกขาดย่ิงทวีความรุนแรงข้ึน มีการเพิม่ รายการสินค้าต้องห้าม ใหม้ ากขนึ้ ทำให้รายได้จากการค้าขายเป็นรายได้สงิ่ สำคญั อยา่ งหน่ึงของกรุงศรีอยุธยาสมยั หลงั

22 สงั คมและศิลปวัฒนธรรม สภาพสังคมท่ัวไป กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มมีแม่น้ำล้อมรอบ ราษฎรตั้งบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้ำลำคลอง เป็นครอบครัว ขนาดใหญ่ มักจะมีปู่ย่าหรือตายายและหลานรวมอยู่ด้วย มีความเป็นอยู่ง่ายๆ ใฝ่ธรรมเลื่อมใสศรัทธาใน พระพุทธศาสนา วัดเป็นศูนย์กลางของสังคม เป็นที่เล่าเรียนของเด็กชายที่จะศึกษาเล่าเรียนศิลปวิทยาต่างๆ และเป็นแหล่งพบปะสังสรรค์ของชุมชนในงานพิธีทางศาสนา และเทศกาลงานประเพณีต่างๆ ระบบศักดินาสังคม อยุธยาเป็นสังคมของชนชั้น คือ มีการแบ่งชั้นว่าใครชั้นสูงกว่าใคร การแบ่งชนชั้นนี้คงจะได้รับอิทธิพลมาจากขอม ในสมัยสุโขทัย และเมื่อตอนก่อต้ัง กรุงศรีอยุธยาของสมเด็จพระรามาธิบดี ที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) แล้วเพียงแต่ ยงั ไม่ชัดเจน สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรง บัญญัติกฎหมายกำหนดให้บุคคลมีชั้นสูง ต่ำกว่ากันตามศักดินา ศักดินา คือ ศักด์ิ ของบุคคลที่มีสิทธิที่จะถือครองกรรมสทิ ธิ์ ในที่นาได้ตามจำนวนที่กำหนดไว้ หรือ กล่าวสั้นๆ ว่า ศักดินา คือ ศักดิ์ที่จะมีนา เช่น กฎหมายกำหนดวา่ พระภิกษุผู้รู้ธรรม มีศักดินา 600 หมายความว่า พระภิกษุ ผู้รู้ธรรมแต่ละรูปมีศักดิ์ที่จะถือครอง กรรมสิทธิ์ที่นาได้ 600 ไร่ หรือ ไพร่มีศักดินา 10 หมายความว่า ไพร่ทุกคนมีศักดิ์ที่จะมีที่นาได้คนละ 10 ไร่ เป็นต้ น อย่างไรก็ตาม ศักดินา คงเป็นเพียง ศักดิ์ หรือ สิทธิ์ ที่จะมีที่นาเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องมีที่นาตามจำนวนที่กำหนดไว้จริงๆ เช่น กำหนดว่า สมุหนายกมีศักดินา 10,000 ก็มิได้หมายความว่าผู้ที่ดำรงตำแหน่งสมุหนายกจะต้องมีท่ีนาครบ 10,000 ไร่จริงๆ องค์ประกอบของสังคมอยุธยาเนื่องจากอยุธยาได้รับอิทธิพลจากเขมรในด้านต่างๆ เช่น ศิลปวิทยา ระบอบการ ปกครอง และความเชื่อในเทพเจ้าและพิธีกรรมต่างๆ ของศาสนาพราหมณ์ ทำให้ฐานะของพระมหากษัตริย์ไทย เปลี่ยนแปลงจากพ่อขุนหรือปิตุราช ไปในทางเป็นสมมุติเทพหรือเทวราชตามคตินิยมของพราหมณ์ เมื่อฐา นะของ พระมหากษัตริย์ได้รับการเทิดทูนเทียบเท่าเทพเจ้า ฐานะของพระราชองค์ และข้าราชการผูใ้ หญ่อืน่ ๆ รองลงไปก็เพิ่ม ความสำคัญและมีอิทธิพลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะระบบศักดินาที่ได้รับอิทธิพลจากเขมร ช่วยให้ผู้มีตำแหน่งหน้าที่ราชการมีอภิสิทธิ์เหนือราษฎรสามัญ เกิดระบบเจ้าขุนมูลนาย มีบ่าวมีทาสทำให้ประชาชน นิยมยกย่องระบบราชการ มุ่งให้ลูกหลานเอาดีทางรับราชการมากกว่าจะสนใจทำการค้าหรืออาชีพอื่นซึ่งเป็นค่านิยม ทีฝ่ ังแน่นต่อมาชา้ นาน สังคมอยธุ ยามีสถาบนั ต่างๆ เป็นองค์ประกอบดงั น้ี 1. พระมหากษัตริย์ ทรงดำรงฐานะเป็น เจ้าแผ่นดิน และ เจ้าชีวิต ทรงเป็นศูนย์กลางแห่งอำนาจและ ทรงมีตำแหน่งสูงสุดในสังคม ทรงมีพระราชอำนาจเด็ดขาดในการปกครองบริหารบ้านเมือง ใหม้ คี วามสงบรม่ เย็น และ ปอ้ งกันอาณาจักรใหป้ ลอดภยั จากการรุกราน

23 2. เจ้านาย คำว่า เจ้านาย หมายถึง เชื้อพระวงศ์ ของพระมหากษัตริย์ เจ้านายเป็นชนชั้นที่ได้รับเกียรติยศ อภิสิทธิ์ มาแต่กำเนิด ส่วนจะมีอำนาจมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับตำแหน่งหน้าที่ทางราชการ กำลังคน ในความควบคุม และการได้รับการโปรดปรานจาก พระมหากษตั ริย์ 3. ขุนนาง หรือ ข้าราชการ ข้าราชการเป็นชนชั้น ที่มีอำนาจและอภิสิทธิ์ เป็นจักรกลในการบริหาร การปกครองของพระมหากษัตริย์ ทำหนา้ ท่ีควบคมุ ดูแลทุกข์สุขของราษฎรแทนพระมหากษัตริย์ โดยได้รับสง่ิ ตอบแทน ในการทำงานเปน็ ยศ ตำแหนง่ อำนาจ และทรัพยส์ มบัติ 4. พระสงฆ์ เป็นชนช้ันทีม่ ีฐานะทางสงั คม ไม่เกีย่ วขอ้ งกบั การปกครองบ้านเมืองโดยตรงสมาชิกของสงั คมสงฆ์ มาจากชนชั้น และเข้ามาอยู่รว่ มกันด้วยวิธกี ารบวชเท่านั้น ฐานะของพระสงฆ์ได้รับการยอมรับนับถือเคารพกราบไหว้ จากบคุ คลทกุ ชั้นในสงั คม ต้งั แต่พระมหากษัตริยล์ งมา 5. ไพร่ หมายถึง ราษฎรสามัญทั่วไป ไพร่ที่เป็นชายจะต้องขึ้นทะเบียนสังกัดมูลนายตามกฎหมายที่กำหนด มลู นายของไพร่ คอื เจา้ นาย ขนุ นาง ท่ีรับราชการ ผูบ้ ังคบั บัญชาควบคุมไพร่ หรือเจ้าสงั กัดของไพร่ ไพร่ในสมัยอยุธยา เป็นกลุ่มคนที่เป็นกำลังของบ้านเมือง เป็นชนชั้นที่อยู่ใต้อำนาจการปกครองหรือถูกปกครอง มีอิสรเสรีภาพ ตามข้อกำหนดของกฎหมาย มีหน้าที่รับผิดชอบต่อบ้านเมือง คือ ต้องเป็นทหารออกสู้รบในยามสงคราม ในยามปกติ จะต้องถูกเกณฑ์มาเข้าเวรช่วยราชการ สร้างสิ่งสาธารณะประโยชน์พัฒนาบ้านเมืองโดยไม่มีค่าตอบแทนหรือค่าแรง เมอื่ พน้ กำหนดการเขา้ เวรแลว้ จะกลับไปอยูก่ ับครอบครวั ประกอบอาชพี ของตนโดยอสิ ระ 6. ทาส ทาสเป็นกลุ่มชนชั้นต่ำสุดของสังคม มีจำนวนน้อย ทาสเป็นผู้ขาดอิสรภาพ การตกเป็นทาสอาจ เนื่องมาจากการเป็นเชลยหรือการขายตัวเป็นทาส ทาสมีหน้าที่รับใช้นายทาสตามแต่นายจะมีประสงค์ นายทาสหรือ เจ้าของทาสเปน็ ผูม้ ีกรรมสทิ ธ์ใิ นตวั ทาส เสมือนหนง่ึ วา่ ทาสเปน็ ทรพั ยส์ ่ิงของธรรมดาอยา่ งหนึ่ง จะเอาไปขายต่อหรือให้ เช่าแรงงานก็ได้ จะลงโทษเฆ่ียนตี ใส่ขื่อคาอย่างไรก็ได้ ยกเว้นการลงโทษทาสจนถึงแก่ความตายนายทาสจึงจะมี ความผิด ทาสเป็นเจ้าของทรัพย์สินได้บ้าง มีศักดินา 5 ไร่ มีสิทธิได้รับมรดกหรือทำสัญญาได้ ตลอดจนมีสิทธิไถ่ถอน ตนเองเปน็ อิสระได้ ด้วยเหตุน้ีการเป็นทาสในสังคมไทยจึงมิไดเ้ ปน็ ไปอย่างถาวร นอกจากทาสเชลยเท่านน้ั ที่ไม่มีโอกาส เป็นอสิ ระ ศิลปวฒั นธรรม อาณาจักรอยุธยามีอายุนาน 417 ปี มีพระมหากษัตริย์ปกครองสืบทอดกันมาถึง 34 พระองค์และได้สร้าง ความเจริญให้แก่ชาติบ้านเมืองมากมาย โดยเฉพาะทางศิลปวัฒนธรรม แมอ้ ยุธยาจะได้รับผลกระทบจากสงครามใหญ่ กับพม่าถึง 2 ครั้ง แต่มรดกทางวัฒนธรรมก็มิได้สลายไปด้วย ศิลปะสมัยอยุธยาส่วนใหญ่เป็นถาวรวัตถุที่ก่อสร้าง เนื่องในพระพุทธศาสนาแทบทั้งสิ้น ลักษณะของศิลปะเป็นแบบผสมผสานระหว่างสกุลช่าง ทวารวดี และ สุโขทัย เช่น ที่วัดชัยวัฒนาราม มีสถาปัตยกรรมทั้งพระปรางค์ ซึ่งเป็นศิลปะลพบุรี และเจดีย์ทรงลังกาซึ่งเป็นศิลปะแบบ สโุ ขทัย สว่ นทางดา้ นประติมากรรมก็มี พระพุทธรูปทรงเครื่อง ซ่ึงถอื ว่าเป็นลักษณะเดน่ ของพระพุทธรูปสมัยอยธุ ยา ศิลปหัตถกรรมสมัยอยุธยาถือว่าเจริญสูงสุดเหนือกว่าสมัยใดๆ ที่สำคัญได้แก่ ธรรมาสน์ ตู้พระธรรม ตู้ลาย รดน้ำ รวมทั้งโบราณวัตถุที่ขุดพบในพระเจดีย์และพระปรางค์ นอกจากนี้ยังมีเครื่องถ้วยจีนซึ่งออกแบบเป็นลวดลาย ไทยเรียกว่า เครื่องถ้วยเบญจรงค์ ซึ่งถือว่าเป็นเครื่องถ้วยที่สวยงามมากพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้สร้าง ความเจริญในด้านต่างๆ ไว้แก่ประเทศมากมาย ศิลปกรรมเกือบทุกแขนงไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม วรรณกรรม นาฎกรรม รวมทั้งพระพุทธศาสนาทีม่ ีอยู่ในบา้ นเมืองเราปัจจบุ นั นี้ ส่วนใหญ่เปน็ มรดกตกทอด มาจากอยุธยาแทบทั้งส้นิ ซากโบราณสถานและโบราณวัตถุท่เี ราพบเห็นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาปจั จุบัน แสดงให้ เหน็ ถึงความิยงิ่ ใหญ่ของอาณาจกั รนี้

24 สงครามทส่ี ำคญั ในสมัยอยุธยา ส ง ค ร า ม ร ะ ห ว ่ า ง ก รุ ง ศ ร ี อ ย ุ ธ ย า ก ั บ พ ม ่ า ค ร ั ้ ง แ ร ก เ ก ิ ด ข ึ ้ น ใ น ส ม ั ย พ ร ะ เ จ ้ า ต ะ เ บ ็ ง ช ะ เ ว ต ี ้ ก ั บ ส ม เ ด็ จ พระไชยราชาธริ าช สมัยนั้นกรุงศรีอยุธยามีอำนาจครอบคลุมไปถงึ หวั เมืองมอญบางแหง่ ดว้ ย เมือ่ พระเจ้าตะเบ็งซะเวต้ี กษตั ริยพ์ ม่าตีกรุงหงสาวดเี มืองหลวงของมอญได้ใน พ.ศ. 2082 ชาวมอญจำนวนมากอพยพหนีมายังเมืองเชียงกราน เมืองประเทศราชของไทย พม่าจึงถือเอาเป็นสาเหตุเข้าตีเมืองเมืองเชียงกราน สมเด็จพระไชยราชาธิราชกษัตริย์ แห่งกรุงศรีอยุธยาเป็นฝ่ายยกไปตีคืนสำเร็จ แต่การที่พม่าได้หัวเมืองมอญไว้ในอำนาจก็ทำให้พม่ามีเขตแดนติดต่อ กับอาณาจักรอยุธยา และเกิดการประจันหน้ากัน แต่บัดนั้นมาการสงครามระหว่างพม่ากับกรุงศรีอยุธยาแทบทุกครั้ง เกิดจากการรุกรานของพม่า ตลอดสมัยอยุธยามีการทำสงครามกับพม่า 24 ครั้ง กรุงศรีอยุธยาเป็นฝ่ายถูกรุกราน แทบทุกครั้ง มีเพียง 3 ครั้ง เท่านั้น ที่กรุงศรีอยุธยาเป็นฝ่ายยกไปตีพม่า คือ ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงยกทัพไปตีกรุงหงสาวดี 2 ครั้ง เมื่อ พ.ศ. 2138 และ พ.ศ. 2142 และในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชอีก 1 ครั้ง เมื่อ พ.ศ. 2207 สงครามสำคัญกับพม่า สงครามช้างเผือก พระเจ้าบุเรงนอง ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระเจ้า ตะเบ็งชะเวตี้ พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ที่มีแสนยานุภาพมาก ได้ทำสงครามขยายอาณาเขตรวมเมืองต่างๆ เข้าเป็นเมืองขึ้นมากมาย พม่าหาเหตุมาตีไทยโดยส่งทูตมาขอช้างเผือก 2 เชือก แต่ทางไทยไม่ให้ พม่าจึงยกทัพ เข้ามาตเี มือง พ.ศ. 2106 ผลทส่ี ุดไทยยอมสงบศกึ และยอมส่งตวั พระราเมศวร พระยาจกั รี พระสุนทรสงครามไปเป็น ตัวประกัน และให้ช้างเผือกอีก 4 เชือก พร้อมทั้งส่งส่วยประจำปีให้พม่าสงครามเสียกรุงศรีอยธุ ยา ครั้งที่ 1 หลังจาก สงครามช้างเผือกส้ินสุดลง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงพยายามปรับปรุงกรุงศรีอยุธยาเพื่อเตรียมรับศึกพม่า ที่จะมีมาอีก แต่เนื่องจากทรงยอมให้เจ้าเมืองสำคัญๆ ปกครองอย่างเป็นอิสระ ประกอบกับเกิดความขัดแย้งกัน ระหว่างพระมหินทราธิราช ราชโอรสของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิกับพระมหาธรรมราชา พระญาติผู้ใหญ่ซึ่งเป็น เจ้าเมืองพิษณุโลก ทำให้อยุธยาอ่อนแอลง พม่าจึงยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2111 ขณะนั้นสมเด็จ พระมหาจักรพรรดิประชวร และสวรรคตในเวลาต่อมา สมเด็จพระมหินทราธิราช ขึ้นครองราชย์ พม่าล้อม กรุงศรีอยุธยาเป็นเวลานาน จนจวนจะถึงฤดูน้ำหลากก็ยังตีกรุงศรีอยุธยาไม่ได้สำเร็จ พม่าจึงใช้กลอุบายยุยงคนไทย โดยการสง่ พระยาจกั รซี ึ่งเปน็ ตัวประกันอยู่พมา่ ครงั้ กอ่ นเข้ามาเปน็ ไสศ้ ึก กรงุ ศรีอยธุ ยาจงึ เสียแกพ่ มา่ ใน พ.ศ. 2112 สงครามยุทธหัตถี หลังจากที่ตกเป็นเมืองขึ้นของ พม่านานถึง 15 ปี สมเด็จพระนเรศวรก็สามารถ กู้อิสรภาพคืนมาได้ โดยประกาศอิสรภาพที่เมืองแครง ใน พ.ศ. 2127 พม่ายกทัพมาปราบปรามหลายคร้ัง แต่เอาชนะไม่ได้ สมเด็จพระนเรศวรรบชนะในสงคราม ยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา ที่ดอนเจดีย์ อำเภอ พนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2135 ชัยชนะคร้งั นัน้ ทำให้พระเกียรติยศ และความกล้าหาญเข้มแข็งของ สมเด็จพระนเรศวรเลื่องลือไปทั่ว ทำให้กรุงศรีอยุธยา ปราศจากข้าศึกรบกวนเป็นเวลานานถงึ 150 ปี สงครามเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2303 ซึ่งเป็นสมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ พระเจ้าอลองพญา เหน็ ว่ากรงุ ศรอี ยธุ ยาขณะน้ันอ่อนแอ จงึ ยกกองทพั มาล้อม แตม่ อี ุบตั ิเหตุเปน็ แตก ถกู พระเจา้ อลองพญาบาดเจ็บสาหัส จึงยกทัพกลับและสวรรคตระหว่างทาง พอดีเกิดเหตุการณ์วุ่นวายขึ้นในพม่าทำให้ต้องปราบปรามอยู่ระยะหน่ึง ครั้นบ้านเมืองสงบเรียบร้อยแล้วใน พ.ศ. 2309 พม่าล้อมกรุงศรีอยุธยาอยู่นานประมาณ 1 ปี 2 เดือน จึงเข้า กรุงศรีอยุธยาได้และจุดไฟเผาจนหมดสิ้นใน พ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยาราชธานีไ ทย ซึ่งรุ่งเรืองมา 417 ปี ก็ถงึ กาลวิบัตใิ นคร้งั น้นั พระมหากษัตรยิ ์

25 กรงุ ธนบรุ ีศรมี หาสมุทร กรุงธนบุรเี ปน็ ราชธานไี ทยช่วงสน้ั ๆทมี่ พี ระมหากษตั รยิ ท์ รงครองราชยเ์ พียงพระองค์เดียว คือ สมเดจ็ พระเจา้ ตาก สินมหาราช หลังจากทพ่ี ระเจ้าตากสนิ ทรงกอบกู้อิสระภาพกรุงศรีอยุธยาจากพม่าไดส้ ำเรจ็ แลว้ ทรงยา้ ยราชธานีมาอยู่ ณ ที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตรงข้ามกับพระบรมมหาราชวังในปัจจุบัน ธนบุรีมีฐานะเป็นจังหวัดคู่กับจังหวัดพระนคร หรือกรุงเทพมหานครในปัจจุบันโดยอยู่คนละฝัง่ แม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเมืองฝาแฝดกันมากอ่ น แต่ต่อมาได้มีการยุบรวม การปกครองธนบุรีเข้ากับพระนครหรือกรุงเทพฯ เพื่อเป็นการขยายพื้นที่กรุงเทพฯให้กลายเป็นกรุงเทพมหานคร ดังปัจจุบันนี้ ปัจจุบันธนบุรีเป็นส่วนหนึ่งของกทม.ในรูปแบบเขตที่ยังคงมีความสำคัญและเป็นอดีตเมืองที่ยังคงสภาพ ความรุ่งเรืองในอดตี ให้เห็นอยู่บา้ ง

26 ภมู ิหลงั ทางประวตั ิศาสตร์เมืองธนบรุ ีก่อน พ.ศ. 2310หลังจากกรงุ ศรีอยธุ ยาต้องเสียแก่พม่าเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ แล้วสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ก็ได้ทรงสถาปนาราชธานีแห่งใหม่ขึ้น พระราชทานนามว่า “กรุงธนบุรี ศรีมหาสมุทร” เมื่อจุลศักราช ๑๑๓๐ ปีชวด สัมฤทธิศก ตรงกับ พ.ศ. ๒๓๑๐ จวบจนถึง พ.ศ. ๒๓๒๕ นับเป็นเวลา แห่งราชธานีเพียง ๑๕ ปีเท่านั้น ขณะที่กรุงศรีอยุธยาทำสงครามกับพม่าอยู่นั้น พระยาตากได้เห็นความอ่อนแอ ของทหารและขุนนางผู้ใหญ่ในกรุงศรีอยุธยา และมองไม่เห็นหนทางที่จะเอาชนะข้าศึกได้ จึงคุมทหารออกไปรบ นอกเมือง โดยพระยาตากตัดสินใจตีฝ่าวงล้อมของพม่าออกไป พร้อมกับขุนนางนายทหารผู้ใหญ่มี พระเชียงเงิน หลวงพรหมเสนา หลวงพิชัยราชา หลวงราชเสนา ขนุ อภัยภักดี และหมน่ื ราชเสน่หา ออกไปตัง้ คา่ ยที่วัดพชิ ัย เมื่อเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น ๔ ค่ำ ปีจอ จุลศักราช ๑๑๒๘ ตรงกับวันที่ ๓ มกราคม พ.ศ. ๒๓๑๐ พอไปถึงบ้านสามบัณฑิต เวลา เที่ยงคืนเศษ ก็แลเห็นแสงเพลิงไหม้จากพระนคร พระยาตากทรงพิจารณาเห็นว่า เมืองจันทบุรีเป็นเมืองที่ใหญ่ และยังอุดมสมบูรณ์ บ้านเรือนเป็นปกติสุขอยู่ พระยาตากจึงทรงเกลี้ยกล่อมเมืองจันทบุรีให้มาช่วยกู้เอกราช พระยาจันทบุรีรับคำไมตรีในช่วงแรก แต่แล้วพระยาจันทบุรีกลับไปร่วมมือกับขุนรามหมื่นซ่อง วางแผนลวงให้ พระยาตากยกกองทัพเข้าไปตีเมืองจันทบุรีแล้วค่อยกำจัดเสียในภายหลัง แต่พระยาตากทรงรู้ทัน จึงทรงหยุดยั้ง อยู่หน้าเมือง เมื่อพระยาตากทรงพิจารณาเห็นว่าพระยาจันทบุรีหลงเชื่อคำของขุนรามหมื่นซ่อง ไม่ยอมอ่อนน้อม ให้แล้ว จึงตรัสให้ทหารทั้งปวง เทอาหารทิ้งทุบหม้อ ต่อยหม้อแกงจนแหลกหมด แล้วจึงตรัสว่า วันนี้เราจะเอาเมือง จันทบุรีให้ได้ ไปหาข้าวของกินกันในเมือง หากไม่ได้ก็จงตายเสียให้สิ้นด้วยกันเถิด ครั้นตกดึกประมาณ ๓ นาฬิกา พระยาตากก็สามารถบุกเข้าเมืองได้ ตรงกับวันท่ี ๑๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๓๑๐ พระยาตากจึงสามารถรวบรวมหัวเมือง ตะวนั ออกได้แก่ ชลบุรี ระยอง จนั ทบรุ ี และตราดได้

27 เมื่อพระยาตากทรงขับไล่พม่าออกจากกรุงศรีอยุธยาแล้ว ก็รวบรวมผู้คนทรัพย์สมบัติ และสิ่งต่าง ๆ ซึ่งสุก้ี พระนายกองยังมิได้นำไปยังพม่า นำกลบั มายังค่ายที่เมืองธนบรุ ี ปรากฏว่าท่เี มืองลพบุรี มพี ระบรมวงศานุวงศ์ของราชวงศ์ อยธุ ยามาพำนกั อยู่เปน็ จำนวนมาก พระเจ้าตากจงึ สั่งใหค้ นไปอญั เชญิ มายงั เมืองธนบรุ ีพระองค์ทรงขดุ พระบรมศพของ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ขึ้นมาถวายพระเพลิงตามราชประเพณี ต่อจากนั้น พระองค์ก็ทรงคิดที่จะปฏิสังขรณ์ พระนครศรีอยุธยาให้กลับคืนเป็นดังเดิม แต่แล้วหลังจากตรวจดูความพินาศของเมืองก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อพยพผูค้ นเคลือ่ นลงมาทางใต้ ตง้ั ราชธานีใหมข่ ึน้ ทีเ่ มืองธนบุรเี รยี กนามวา่ กรุงธนบุรศี รีมหาสมุทร การกอบกู้เอกราช เมื่อครั้งสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีรับราชการ เป็นพระยาตากในระหว่างสงครามการเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งท่ี 2 พระยาตากได้ถอนตัวจากการป้องกนั พระนครพร้อมกับทหารจำนวนหนึ่งเพื่อไปตั้งตวั โดยนำทพั ผา่ นบ้านโพสาวหาญ บ้านบางดง หนองไม้ทรุง เมืองนครนายก เมืองปราจีนบุรี พัทยา สัตหีบ ระยอง โดยกลุ่มผู้สนับสนุนพระยาตาก ได้ยกยอ่ งใหใ้ หเ้ ปน็ “เจา้ ” และตีได้เมอื งจันทบุรแี ละตราด ไดเ้ มื่อเดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2310 ในเวลาใกล้เคียงกัน ฝ่ายกองทัพพม่าได้คงกำลังควบคุมในเมืองหลวงและเมืองใกล้เคียงประมาณ 3,000 คน โดยมีสกุ ี้เป็นนายกอง ตัง้ ค่ายอยู่ท่บี ้านโพธ์ิสามต้น พรอ้ มกนั นน้ั พม่าไดต้ ้ังนายทองอินให้ไปเปน็ ผดู้ แู ลรักษาเมืองธนบุรี ไว้ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าอาณาจักรอยุธยาจะสิ้นสภาพลงไปแล้ว แต่ยังมีหัวเมืองอีกเป็นจำนวนมากที่ไม่ได้รับ ความเสียหายจากศึกสงคราม หัวเมืองเหล่านั้นจึงต่างพากันตั้งตนเป็นใหญ่ในเขตอิทธิพลของตน ส่วนทางด้าน พระยาตากเองก็สามารถรวบรวมกำลังได้จนเทยี บได้กบั หนึ่งในชมุ นมุ ท้งั หลายนัน้ โดยมีจนั ทบรุ เี ปน็ ฐานที่มัน่ ต่อมาพระยาตากจึงนำกำลังที่รวบรวมประมาณ 5,000 คน ตีเมืองธนบุรีและอยุธยาคืนจากข้าศึกเสร็จแล้ว จงึ สถาปนาพระองคข์ น้ึ เปน็ พระมหากษตั รยิ ์ ทรงสรา้ งเมอื งหลวงใหม่ คือ กรงุ ธนบุรี พระองค์ทรงมคี วามคดิ จะทรงรวม ชาติไทยใหเ้ ป็นหนงึ่ เดียวอีกครั้งจึงโปรดให้จัดเตรียมกำลังเพื่อสู้รบกบั ก๊กต่างๆ ท่ีต่างตงั้ ตวั เปน็ ใหญ่เพ่ือตนเองมากกว่า ประเทศชาติเพ่ือให้เกิดการรวมชาติ ดังน้ัน ทรงมุ่งไปยังเมืองพิษณุโลกเปน็ แห่งแรก ทวา่ กองทัพธนบุรีพ่ายต่อกองทัพ พิษณุโลก ณ ปากน้ำโพ จึงต้องเลื่อนการโจมตีออกไปก่อน แต่ภายหลังเจ้าพิษณุโลกถึงแก่พิราลัย ชุมนุมพิษณุโลก อ่อนแอลงและตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของเจ้าพระฝางแทน สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้เปลี่ยนเป้าหมายไปยังชุมนุม เจ้าพิมาย เนื่องจากทรงเห็นว่าควรจะปราบชุมนุมขนาดเล็กเสียก่อน กรมหมื่นเทพพิพิธสู้ไม่ได้ ทรงจับตัวมายัง กรุงธนบุรี และถูกประหารระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2311 เมื่อขยายอำนาจไปถึงหัวเมืองลาวแล้ว สมเด็จพระเจ้า กรุงธนบุรีทรงพยายามใช้พระราชอำนาจของพระองค์ช่วยให้ นักองราม เป็นกษัตริย์กัมพูชา โดยพระองค์โปรดให้ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนา เป็นแม่ทัพไปตีกัมพูชา แต่ไม่สำเร็จในปี พ.ศ. 2312 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

28 ทรงมีศุภอักษรไปยังสมเด็จ พระนารายณ์ราชา เจ้ากรุงเขมร โดยให้ส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวายตามประเพณี แต่สมเด็จพระนารายณ์ราชาปฏิเสธ พระองค์ทรงขัดเคืองจึงให้จัดเตรียมกองกำลังไปตีเมืองเสียมราฐ และเมือง พระตะบอง อนั เป็นช่วงเวลาเดียวกับที่พระองค์ได้ส่งพระยาจักรนี ำกองทัพไปปราบเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช เมื่อทรง ทราบข่าว ทัพพระยาจักรีไปติดขัดที่ไชยา จึงทรงส่งทัพหลวงไปช่วย จนตีเมืองนครศรีธรรมราชได้เมื่อเดือน 10 ฝ่าย แม่ทัพธนบุรีในเขมรไม่ได้ข่าวพระเจ้าแผ่นดินมานาน จึงเกรงว่าบ้านเมืองจะไม่สงบ รีบยกกองทัพกลับบ้านเมือง เสียก่อน และทำให้การโจมตีเขมรถูกระงับเอาไว้ในปี พ.ศ. 2313 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีก็ทรงยกกองทัพขึ้นไป ปราบชมุ นมุ เจา้ พระฝาง ตไี ด้เมืองพิษณุโลก และตามไปตีเมอื งสวางคบรุ ี เจา้ พระฝางสู้ไม่ได้ ชมุ นุมฝางจงึ ตกอยู่ภายใต้ อิทธิพลของอาณาจกั รธนบรุ ี การสิ้นสุด หลักฐานส่วนใหญ่กล่าวว่า เกิดเหตุจลาจลในปลายรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช คือพระยาสรรค์ได้ตั้งตัวเป็นกบฏ ได้บุกมาแล้วบังคับให้พระองค์ผนวช ขณะนั้น พระยาจักรีทรงทำศึกอยู่ที่กัมพูชา ทรงทราบข่าวจึงได้เสด็จกลับมายังกรุง ได้ปราบปรามจลาจลแล้ว ได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี และโปรดเกล้าให้ย้ายราชธานีมายังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำ เจา้ พระยา และในตอ่ มาไดพ้ ระราชทานนามใหมว่ า่ กรงุ รัตนโกสินทร์

การสถาปนากรงุ รัตนโกสนิ ทร์ 29 เมื่อสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกขึ้นครองราชย์เป็นปฐมกษัตริย์ แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามปรากฏต่อมาว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลก และภายหลังได้รับการยกย่องเป็น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช พระองค์โปรดเกล้าฯให้ย้ายราชธานีมาตั้งที่ตำบลบางกอก ทางฟากตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาตรงข้ามกับฝั่งพระราชวังเดิมของ กรงุ ธนบรุ ี พระราชทานนามวา่ กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสนิ ทรฯ์ ชือ่ น้ตี ่อมา พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด ็ จ พ ร ะ จ อ ม เ ก ล ้ า เ จ ้ า อ ย ู ่ ห ั ว ท ร ง เ ป ล ี ่ ย น ส ร ้ อ ย น า ม เ ป็ น “อมรรัตนโกสินทร์”เหตุผลที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช ยา้ ยราชธานี เพราะทรงเหน็ ข้อบกพรอ่ งของกรงุ ธนบรุ ี ดงั น้ี ๑. กรงุ ธนบุรีเปน็ เมอื งอกแตก คือ ประกอบด้วยอาณาเขตทั้งสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา เม่ือเกิดศกึ สงครามจะทำให้ เกิดความยากลำบากในการเคลือ่ นยา้ ยหรือลำเลียงอาหารและอาวุธขา้ มแมน่ ำ้ ๒. กรุงธนบรุ ตี งั้ อยบู่ นท้องค้งุ นำ้ เซาะตล่งิ พงั ไปเร่ือยๆ เหตุผลที่ทรงเลือกตำบลบางกอกเป็นที่ต้ังราชธานแี หง่ ใหม่ ได้แก่ 1. ทตี่ ั้งราชธานใี หม่สามารถใชแ้ มน่ ้ำเจ้าพระยาเปน็ คเู มอื งได้ หากบา้ นเมืองขยายตัวขน้ึ ก็ขดุ คลองใหม่ได้ 2. ฝง่ั พระนครมีอาณาบรเิ วณกว้างขวาง ขยายบา้ นเมอื งออกไปได้สะดวก การเมอื งสมยั รตั นโกสินทร์ ลักษณะทางการเมืองในสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้น มีลักษณะของความร่วมมือและ การประนีประนอมทางการเมือง โดยอาศัยความสัมพันธ์ ทางเครือญาติระหว่างพระราชวงศ์กับตระกูลขุนนาง การที่พระมหากษัตริย์ทรงดำเนินนโยบายผ่อนปรนให้ พระบรมวงศานุวงศ์และขุนนางสามารถทำการค้า กับต่างประเทศได้ เปิดโอกาสให้แสวงหาโภคทรัพย์และ ความมั่นคั่งทางเศรษฐกิจ มีผลต่อการรักษาสัมพันธภาพ ตลอดจนเป็นการสร้างดุลอำนาจทางการเมืองระหว่าง พระมหากษัตริย์กับกลุ่มพระบรมวงศานุวงศ์และกลุ่ม ขุนนางไปด้วยความมีเสถียรภาพและความมั่นคงของ ระบบการเมืองของกรุงรัตนโกสินทร์ทำให้ไทยฟื้นฟูสู่ความมั่นคงและรุ่งเรืองอย่างรวดเร็ว ในสมัยรัชกาลที่ 4 ไทยประสบปญั หาเผชิญหน้ากับการขยายอิทธพิ ลของชาติมหาอำนาจจกั รวรรดินิยมตะวันตก คือ อังกฤษและฝร่งั เศส เป็น ส าเห ตุสำคัญที่ทำให้พระบาทสมเด็จ พระจ อมเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงพย าย ามทำให ้ส ถาบัน พร ะมหากษัตริย์ เป็นศูนย์รวมอำนาจทางการเมืองและสังคมไทย ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างพระมหากษัตริย์กับประชาชน มีความใกล้ชิดกันมากกว่าแต่ก่อนใน พ.ศ. 2413 หลังจากรัชกาลที่ 5 ขึ้นครองราชย์ได้ 2 ปี พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวทรงวางรากฐานทางอำนาจด้วยการตั้งกรมทหารมหาดเล็กข้ึนเพ่ือสร้างฐานพระราชอำนาจ ของกษัตริย์ และในต้น พ.ศ. 2416 ได้ทรงออกพระราชบัญญัติหอรัษฎากรพิพัฒน์ รวมการเก็บภาษีเข้าสู่ศูนย์กลาง ซ่ึงเปน็ การลิดรอนอำนาจของกรมกองตา่ งๆทเ่ี คยมีหน้าท่ีเกบ็ ภาษี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัวพยายาม รวมอำนาจเข้าสู่สถาบันพระมหากษัตริย์ ด้วยการตราพระราชบัญญัติขึ้นหลายฉบับ เป็นการปฏิรูปด้านกฎหมาย การคลัง และสังคม แต่การปฏิรูปดังกล่าวก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างฝ่ายวังหลวงกับวังหน้า รัชกาลที่ 5 จึงต้อง

30 ชะลอการปฏิรูปในด้านต่างๆแต่ต่อมาก็สามารถดึงอำนาจเข้าสู่สถาบันพระมหากษัตริย์ได้ต่อมากลุ่มเจ้านายและ ข้าราชการซึ่งได้รับการศึกษาจากทวีปยุโรป ซึ่งเรียกว่า กลุ่มก้าวหน้า ร.ศ. 103 ได้นำความกราบบังคมทูล ต่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ปรับปรุงการปกครองของประเทศให้เป็นแบบพระมหากษัตริย์ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ แต่รัชกาลที่ 5 ตอบว่าเมืองไทยในขณะนั้นขัดสนคนมีความรู้ และยังไม่พร้อมที่จะปกครอง ภายใต้รัฐธรรมนูญ ในสมัยรัชกาลที่ 6 เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองที่เกิดขึ้นในช่วงต้นรัชกาล คือ กบฏ ร.ศ. 130 (พ.ศ. 2454 ) เกิดขึ้นจากกลุ่มนายทหารหนุ่มและพลเรือนกลุ่มหนึ่งได้ตั้งขบวนการที่จะก่อการปฏิวัติเพื่อ เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา แต่ก็ประสบ ความล้มเหลวเนื่องจากถูกจับกุมเสียก่อนหลังจากกบฏ ร.ศ. 130 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพยายามช้ีให้เห็นวา่ ระบอบราชาธิปไตยเหมาะสมทส่ี ดุ สำหรบั เมอื งไทย ทรงช้ีให้เห็นความยุ่งยากของการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยและสาธารณรัฐ ทรงปลุกความรู้สึกชาตินิยมโดยเน้นให้เห็นถึงความสำคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ขณะเดียวกันก็ทรงพยายามพัฒนาความรู้ความคิดของพลเมืองให้มากขึ้น และทรงจัดตั้งดุสิตธานี เพื่อฝึกให้ขุนนางและข้าราชการทดลองปกครองและบริหารราชการท้องถิ่นในสมัยรัชกาลที่ 7 ทรงสนับสนุน การปกครองที่มาจากประชาชน โดยฝึกหัดประชาชนให้รู้จักใช้สิทธิในการออกเสียงควบคุมกิจการท้องถิ่นเป็นลำดับ แรก ก่อนที่จะเข้ามาควบคุมกิจการของรัฐในรูปของรัฐสภาในรัชกาลนี้มีการร่างรัฐธรรมนูญถึง 2 ฉบับ แต่ยัง ไม่ประกาศใช้ด้วยเห็นว่ายังไม่ถึงเวลา แผนพัฒนาการปกครองของรัชกาลที่ 7 สิ้นสุดลงเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง การปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย โดยมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงอยู่ใต้กฎหมาย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 สถานการณ์ทางการเมืองในช่วงหลังสงครามเต็มไปด้วยความไม่แน่นอน ดังจะเหน็ ไดจ้ ากรฐั บาลในช่วงหลงั สงครามโลกคร้ังท่ี 2 มหี ลายชุด แต่ละชดุ มเี วลาบริหารประเทศไม่นาน และรัฐบาล ก็มีความเคารพในระบบรัฐสภา โดยรัฐบาลทุกชุดจะลาออกเมื่อไม่ผ่านการลงคะแนนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หลังจากเหตุการณ์ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2516 มีเหตุการณ์การจับกุมผู้เรียกร้องรัฐธรรมนูญ เป็นเหตุให้นักเรียน นักศึกษา นิสิต ประชาชนจำนวนมากประท้วงรัฐบาล รัฐบาลได้ส่งกำลังทหารเข้าปราบปรามจนเกิดการจลาจล มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตได้สิ้นสุดลง ประเทศไทยมีรัฐบาลพลเรือนกับรัฐบาลทหารสลับกัน และมีการทำรัฐประหาร เกิดขึ้นอีกหลายครั้ง รัฐประหารครั้งสำคัญเกิดขึ้นในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ต่อมามีการประกาศ ใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ที่ให้อำนาจการเมืองภาคประชาชน หลังจากนั้นก็เกิด การแบ่งแยกในหมู่ชาวไทยอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน ความแตกแยกดังกล่าวนี้ลุกลามและรุนแรงขึ้น และยังมองไม่เหน็ ทางท่ีจะยุตปิ ญั หา

31 สังคมสมยั รัตนโกสนิ ทร์ โครงสร้างสังคมสมยั รตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้ ยงั คงเป็นแบบอยุธยา ขณะเดียวกันสภาพเศรษฐกิจทเี่ ริ่มขยายตัวทำ ให้มีความต้องการผลผลิตเพื่อการค้าเพิ่มขึน้ ชาวจีนหลั่งไหลเข้ามาเป็นแรงงานรับจา้ งมาก นอกจากนี้ยังมีชนชาติอนื่ อีกเช่น มอญ ลาว พม่า ญวน เขมร มลายู ซึ่งถูกกวาดต้อนเข้ามาเนื่องจากสงครามบ้าง และเข้ามาด้วยความสมัครใจ บา้ ง ตา่ งแยกย้ายประกอบอาชีพตามจังหวัดต่างๆในสมัยรชั กาลที่ 4 เกิดความเปล่ยี นแปลงทางสงั คมหลายอยา่ งจากยุคสมัย แบบจารีตไปสู่ยุคสมัยใหม่ ทรงมีความพยายามจะปรับปรุงฐานะของสามญั ชนหรือไพร่ให้มีเสรีภาพมากขึ้นในหลายๆ ด้าน ในรัชกาลที่ 5 ทรงเปลี่ยนแปลงสถานะของไพร่ให้เป็นพลเมือง ปลดปล่อยลูกทาสซึ่งนำไปสู่การเลิกทาส และ ปฏิรูปการศึกษาโดยการจัดตั้งโรงเรยี นในวดั สำหรับราษฎรข้ึนเม่ือสนิ้ รชั กาลที่ 5 โครงสรา้ งของสงั คมไทยเปล่ียนแปลง ไปมาก ภายหลังก็มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2464 ในสมัยรัชกาลที่ 6 คนรุ่นใหม่ได้รับ การศึกษามากขึ้นเรื่อยๆ ชนชั้นปัญญาชนขยายตัวมากขึ้น ทำให้วิทยาการและวัฒนธรรมตะวันตกเข้าสู่เมืองไทย ทั้งโดยตรงและผ่านทางการเรียนภาษาอังกฤษมากขึ้นสภาพทางสังคมในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในทางปฏิบัติ ยังคงมีการแบง่ ชนชนั้ ตามลักษณะการครองชพี สภาพทางสงั คมมีการแบง่ ชนชนั้ อย่างเดน่ ชัดระหว่างเจา้ นายกับสามัญ ชนความแตกต่างระหว่างชนช้ันเกี่ยวกับสิทธิอำนาจทีแ่ ตกต่างกันทำให้เกิดความรู้สึกแปลกแยกและความรู้สึกต่อตา้ น ของสามญั ชนท่ีมีต่อเจ้านายจนนำไปสูก่ ารปฏิวตั ิ พ.ศ. 2475 หลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 สถานการณ์ของโลกตึงเครียด จากการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ รัฐบาลไทยจึงดำเนินนโยบายเร่งพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพื่อต่อต้านภัย คอมมิวนิสต์ด้วยการมสี ัมพันธภาพกับโลกเสรี โดยเฉพาะกบั สหรฐั อเมริกา นโยบายดงั กลา่ วสร้างการเปล่ียนแปลงทาง สังคมหลายประการ คือ มีการฟื้นฟูฐานะและบทบาทของสถาบนั พระมหากษัตริย์ให้มคี วามศักดิส์ ทิ ธิ์ มีการขยายตัว การศึกษาภาคบังคับและตั้งมหาวิทยาลัยในภูมิภาคต่างๆ เศรษฐกิจในภาคอุตสาหกรรมขยายตัวทำให้แรงงานภาค เกษตรกรรมย้ายไปเป็นแรงงานภาคอุตสาหกรรม รัฐบาลดำเนินนโยบายผูกพันกับสหรัฐอเมริกา เพื่อมุ่งรับความ ชว่ ยเหลอื ดา้ นการทหารและเศรษฐกจิ และเกดิ ชนชัน้ ล่างขนึ้ ในสงั คมไทย เศรษฐกจิ สมยั รัตนโกสนิ ทร์ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นก่อนทำสนธิส ัญญาเบ าว์ ริง สภาพทางเศรษฐกิจยังคงอยู่ในรูปแบบของเศรษฐกิจ พอยังชีพ ราษฎรมีอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก อาจจะมีหัตถกรรมและ อุตสาหกรรมพื้นบ้านแบบเก่าทีท่ ำด้วยมอื บ้าง เมื่อได้ผลิตผลก็จะ นำมาแลกเปลี่ยนกันส่วนรายได้ของรัฐที่นำมาป้องกันและทำนุ บำรุงประเทศได้มาจากการเก็บภาษีอากร เงินค่าราชการจากไพร่ เงนิ คา่ ผกู ป้ชี าวจนี รวมทัง้ ผลกำไรจากการคา้ กับตา่ งประเทศ

32 ในสมัยรัชกาลที่ 2 รัฐประสบปัญหารายได้ไม่พอ กับรายจ่าย จึงเพิ่มภาษีอากรอีกหลายอย่าง ครั้นถึงสมัย รัชกาลที่ 3 เศรษฐกิจของประเทศมีการเจริญเติบโตข้ึน และการขยายตัวทางการค้ากับต่างประเทศมีปริมาณเพ่ิม สูงขึ้น รัฐจงึ ปรับปรุงระบบการจัดเกบ็ ภาษี โดยเพ่ิมภาษีอีก 38 ชนิด การค้ากับประเทศต่างๆในเอเชีย โดยเฉพาะ การค้ากบั ประเทศจนี เจริญรุ่งเรืองท่สี ุดในสมัยรตั นโกสินทร์ ตอนต้น สินค้าออกส่วนใหญ่ได้มาจากส่วยที่เรียกเก็บจาก ราษฎรซึง่ เป็นของพน้ื เมืองหายาก เช่น ทองคำผง เงนิ ป่าน ครั่ง ฝาง ไม้แดง งาช้าง นอระมาด ส่วนสินค้าเขา้ ส่วนใหญ่ จะเป็นประเภทสินค้าฟุ่มเฟือย ซึ่งบริโภคในกลุ่มชนชั้นสูง ได้แก่ ผา้ ฝ้าย ผ้าแพร เคร่อื งลายคราม ใบชา หบี ประดับมุกเคร่ืองแกว้ ในปลายสมัยรัชกาลที่ 3 การค้าทางเรือได้เปลี่ยนจากใช้เรือสำเภามาเป็นเรือกำปัน่ เพราะเดนิ ทางได้เร็วกว่า ในรชั กาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัวไทย ไดท้ ำสนธสิ ัญญาเบอร์นีกบั อังกฤษ ต่อมาการทำสนธสิ ัญญาเบาว์ ริงในสมยั รชั กาลท่ี 4 คร้งั นท้ี ำให้มีผลต่อการเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกิจของไทยอยา่ งมาก เช่น การค้าขยายตัวเพ่ิมขึ้น เศรษฐกิจไทยเข้าสูร่ ะบบทุนนิยมโลก เกิดระบบเศรษฐกิจแบบเงินตรา เกิดการปฏิรูประบบภาษีอากรและการคลัง ใน สมัยรัชกาลที่ 5 ประเทศเข้าสู่ยุคการล่าอาณานิคม พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถที่จะปกป้องประเทศชาติจาการ รุกรานของต่างชาติ เพื่อไม่ให้ตกเป็นเมืองขึ้นของต่างชาติ อีกทั้งยังประกาศเลิกทาสในประเทศเพื่อให้ประชาชนชาว ไทยเป็นอิสระในการประกอบอาชีพอย่างสุจริตเพื่อพัฒนาประเทศชาติต่อไป ยุครัชกาลที่ 6 ประเทศชาติอยู่ในห้วง สงครามโลกครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2457-2461 ) ได้เกิดภาวะเศรษฐกิจโลกตกต่ำอย่างรุนแรงใน พระองค์ทรงนำพา ประเทศโดยประกาศเข้าร่วมสงครามโลกเพื่อไว้ต่อรองกับต่างชาติในด้านสนธิสัญญาต่างๆ เพื่อประโยชน์กับ ประเทศชาติ ต่อมาในปี พ.ศ. 2472 เกิดภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง ส่งผลให้ประชาชนเดือดร้อนอย่างยิ่ง รัฐบาลใน สมัยพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ไม่สามารถหารายได้หรือมีงบประมาณมากพอที่จะนำมาใชจ้ ่ายในการบรหิ าร ประเทศและจ่ายเงินเดือนแก่ข้าราชการ รัฐบาลแก้ไขปัญหาโดยการตัดทอนรายจ่ายของประเทศอย่างจริงจังแต่ก็ไม่ สามารถแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศได้ อย่างไรก็ตาม การที่ไทยถอนตัวจากมาตรฐานทองคำโลกเมื่อ พ.ศ. 2475 ก็ช่วยให้ไทยส่งสินค้าขาออกคือข้าวได้มาก นอกจากนี้ยังได้ปรับปรุงภาษีให้มีความเป็นธรรมมากขึ้น แล้วใช้ ระเบียบภาษีใหม่ที่เรียกว่า ประมวลรัษฎากร ซึ่งเก็บภาษีเงินได้ตามฐานะของราษฎรเมื่อสงครามมหาเอเชียบูรพา เกิดขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2484 ตรงกับรัชสมัย รัชกาลที่ 8 มีผลกระทบกับเศรษฐกิจของไทยอย่างมาก คนไทย เดือดร้อนเรื่องภาวะการครองชีพ สินค้าทุกประเภทจึงขาดตลาดอย่างรวดเร็วและมีราคาสูงเกินรายได้ของประชาชน ประกอบกับญี่ปุ่นแพ้สงคราม ในความเข้าใจของชาวจีนที่อยู่ในประเทศไทยได้เกิดการเข้าใจผิดทำให้เกือบเกิดการ จลาจลในพระนคร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอนันทมหดิ ลทรงเสด็จลงมาระงบั ข้อพิพาทในสำเพง็ และเยาวราช ทำ ให้ประเทศไทยกับมาสงบอีกครั้ง ลุเข้าสู่สมัยรัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงมีพระปฐมบรมราชโองการว่า เราจะครอง แผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม พระองค์ทรงพระราชทานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศาสตร์พระราชาเพื่อเป็นหลักในการช่วยประชาชนชาวไทยให้อยู่อย่างพอเพียงอย่างยั่งยืน และปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ทรงสืบสาน รักษา ต่อยอด โครงการพระราชดำริของพระ เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เพื่อประโยชน์สุขแห่งประชาชนชาวไทย อีกทั้งยังพระราชทานโครงการจิตอาสา เพื่อเป็นกำลัง สำคัญในการพัฒนาประเทศใหพ้ ร้อมในการก้าวเข้าส่โู ลกในศตวรรษท่ี 21 อยา่ งมัน่ คง และย่งั ยืน สบื ไป

33 บรรณานุกรม ดวงพร ทีปะปาล. (ปีที่พิมพ์ 2552). ชื่อเรื่อง ประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร. สำนักพมิ พร์ ่งุ แสงการพมิ พ์ ไชยเดช ไฝทอง. (ปที ี่พมิ พ์ ๒๕๖๐). ชอ่ื เร่อื ง รอ้ ยฤทธพ์ิ สิ ดารปาฏิหาร์พระเจา้ ตาก. (พมิ พค์ รงั้ ที่ ๑). กรงุ เทพมหานคร. สำนกั พมิ พเ์ อกศริ ิมงคล เสที้ยน ศุภโสภณ. (ปีที่พิมพ์ 2540). ชื่อเรื่อง ประวัติศาสตร์ สุโขทัย. (พิมพ์ครั้งที่ 1). สมุทรสาคร. สำนักพิมพ์ หอสมุดกลาง 09 อุดม เกยกีวงศ์. (ปีที่พิมพ์ 2438). ชื่อเรื่อง ประวัติศาสตรก์ รุงธนบรุ ี. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์ อำนวยสาส์น

34 คณะผู้จัดทำ ทป่ี รกึ ษา ระลอกแกว้ ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี นายธติ ิพนธ์ นาคเอีย่ ม ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเมืองกาญจนบรุ ี นายศกั ดชิ์ ยั อินสมภกั ษร ตำแหน่ง ศึกษานเิ ทศก์ชำนาญการพเิ ศษ นางสาวชยะวดี สาลีพันธ์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอหนองปรือ วิทยากร ไฝทอง ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กศน.อำเภอหว้ ยกระเจา นางสาวธนทร นายไชยเดช เมืองโคตร ตำแหนง่ นกั วชิ าการศึกษาปฏบิ ัติการ ภทั รโชตินันท์ ตำแหน่ง ครู กศน.อำเภอเลาขวญั รวบรวมและเรยี บเรียง พงษส์ วุ รรณ ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กศน.อำเภอทา่ มว่ ง นายโกวิท พิมใจ ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กศน.อำเภอเมืองกาญจนบรุ ี นางสาวพรทพิ ย์ บตุ รเพชร ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กศน.อำเภอด่านมะขามเต้ีย นางนชุ จรินทร์ บญุ ส่ง ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กศน.อำเภอท่ามะกา นายธีรพงศ์ เพญ็ ปญั ญา ตำแหน่ง ครูผ้ชู ่วย กศน.อำเภอพนมทวน นางสาวสัจชญา มาตระกลู ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย กศน.อำเภอเลาขวัญ นางสาวสมฤทยั ว่าที่รอ้ ยตรีภคิน นางสาวนธิ นิ าถ

35


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook