ประเด็นการตรวจราชการและตดิ ตามประเมินผลการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 หนว่ ยงาน : สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบรุ ี ประเดน็ การตรวจราชการ หน้า นโยบายที่ 1 ดา้ นการพฒั นาครแู ละการจดั การเรยี นการสอน 1 1.1 การจดั การเรยี นการสอนทมี่ ุ่งเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นทุกระดับมีส่วนร่วมสรา้ งสรรค์ การเรยี นรู้เพอ่ื ใหเ้ กดิ สมรรถนะหลกั และการพัฒนาตนเองตามความถนัด และความสนใจ (Active Learning) 1 1.2 การจัดการเรียนการสอนประวัตศิ าสตร์และหนา้ ท่ีพลเมอื งให้มคี วามทันสมัย สอดรับกบั วถิ ใี หม่ เหมาะสมกบั วัยของผเู้ รียน ควบคไู่ ปกบั การเรียนร้ปู ระวัติศาสตร์ ของทอ้ งถิน่ และการเสริมสร้างวิถชี วี ติ ของความเปน็ พลเมืองทีเ่ ข้มแข็ง 3 1.3 การพฒั นาคุณภาพและประสทิ ธิภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ประเภทให้มี สมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล รวมท้งั การจัดการเรยี นการสอน 7 1.4 หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบคุ ลากร ทางการศึกษา (หลกั เกณฑ์ ว.9, 10, 11, 12 (PA)) 11 1.6 ความปลอดภัยของผูเ้ รียน โดยการสร้างสถานศกึ ษาปลอดภยั และบริหารจดั การ เชิงบูรณาการในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 14 1.6.1 ประเดน็ ความปลอดภยั ของผูเ้ รียน โดยการสร้างสถานศกึ ษาปลอดภยั 14 1.6.2 ประเด็นการบรหิ ารจัดการเชงิ บรู ณาการในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของ โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 18 นโยบายท่ี 2 ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเทา่ เทียมกันทางสงั คม 20 2.1 การค้นหาเด็กวยั เรียนหลุดจากระบบการศึกษาและติดตามให้ความชว่ ยเหลือ 20 เข้าสรู่ ะบบการศึกษา 22 2.3 การสรา้ งโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพสำหรบั คนพกิ ารและ ผดู้ อ้ ยโอกาสและผู้เรียนท่ีมคี วามต้องการจำเปน็ พิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา นโยบายที่ 3 ดา้ นความรว่ มมือ 27 3.2 การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยท์ ุกชว่ งวัย โดยการจัดการเรยี นรูท้ ่หี ลากหลาย 27 และสร้างการเรยี นรู้ตลอดชีวิต เพอ่ื การพฒั นาทักษะอาชีพ โดยการเพิม่ พูนทักษะ (Re-skill) พัฒนาทักษะ (Up skill) และการเรยี นรทู้ ักษะใหม่ (New skills) รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี ก
ประเดน็ การตรวจราชการ หนา้ นโยบายที่ 4 ดา้ นเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษา 29 4.1 การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั มาใชใ้ นการจัดการศึกษาทุกระดบั การศกึ ษาทีเ่ น้นการมสี ่วนร่วม และการสง่ เสริมการฝกึ ทักษะดิจทิ ัลในชวี ิตประจำวนั 29 การติดตามความก้าวหน้าเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ 31 ในประเด็นเร่งด่วนตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 31 34 1. โครงการ “พาน้องกลับมาเรียน” 2. โครงการ “กศน.ปักหมุด” รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี ข
แบบ รต.65 แบบรายงานผลการตรวจราชการและติดตามประเมนิ ผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 --------------------------- หนว่ ยงาน สำนักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี นโยบายท่ี 1 ดา้ นการพัฒนาครแู ละการจัดการเรียนการสอน *1.1 การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนทุกระดับมีส่วนร่วมสร้างสรรค์การเรียนรู้ เพื่อให้เกิดสมรรถนะหลัก และการพัฒนาตนเองตามความถนัดและความสนใจ (Active Learning) (สพฐ./สอศ./กศน./สช.) 1.1.1 หน่วยรบั ตรวจทร่ี ายงานผลในนโยบายน้ี กศน. จำนวน 14 แห่ง จำแนกเปน็ 1.1.1.1 หน่วยงานการศึกษา จำนวน 1 แหง่ 1.1.1.2 สถานศกึ ษา จำนวน 13 แหง่ 1.1.2 สภาพการดำเนนิ งาน ความก้าวหน้า และผลสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานตามนโยบาย สภาพการดำเนินงาน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทุกกิจกรรมที่ครู กศน.ได้ดำเนินการ เป็นการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning แทบทั้งสิ้น ได้แก่ การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในรูปแบบชั้นเรียน พบกลุ่ม และทางไกล ให้กับนักศึกษาระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การทำโครงงานของผู้เรียน กิจกรรมพัฒนา คุณภาพชีวิต (กพช.) รวมถึงการจัดการศึกษาต่อเนื่องกับประชาชน ได้แก่ กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรม พัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน หรือแม้แต่การจัดกิจกรรมให้กับผู้สูงอายุ เช่น กิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อความมั่นคงสมรรถนะ ทางกาย จิต และสมอง 4 มิติของผู้สูงอายุ ทุกกิจกรรมล้วนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการสอดแทรกกิจกรรม ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความรู้ เกิดการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ทำให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับ ผู้เรียน ผู้เรียนกับครูผู้สอน กระบวนการจัดการเรียนรู้ทำให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ความรู้ที่ได้รับไปสู่วิถีชีวิต มีการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงผ่านรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย มีการใช้แหล่งเรียนรู้ให้ผูเ้ รียนไดเ้ รยี นรู้จากสถานที่จริง ทำให้ผู้เรียนเกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ โดยมีครูเปน็ ผูช้ แ้ี นะการเรียนรู้ (Learning Coach) หรอื ผู้สนับสนนุ การเรียนรู้ (Learning Facilitator) 1.1.3 ปญั หาและอุปสรรค 1.1.3.1 ด้านครผู สู้ อน - ไมม่ ี 1.1.3.2 ดา้ นการบริหารจัดการ - ไมม่ ี รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี 1
1.1.3.3 ด้านสอ่ื วัสดุอปุ กรณ์ - ไมม่ ี 1.1.3.4 ด้านอ่ืน ๆ - ไม่มี 1.1.4 การแก้ไขปญั หาของหน่วยงาน/สถานศึกษา - ไม่มี 1.1.5 ข้อเสนอเชงิ นโยบาย (ท่านมคี วามเห็นวา่ ศธ.ควรมีข้อสัง่ การเพ่ือขับเคลอื่ นเรื่องน้หี รอื แกป้ ัญหาอปุ สรรคดังกล่าวอย่างไร) - ไมม่ ี 1.1.6 นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน แบบ Active Learning ของสถานศกึ ษาในสังกดั ทา่ น ท่เี ป็นต้นแบบหรือแบบอย่างท่ีดี (Best Practice) จำนวน 1 ผลงาน (นำเสนอในรูปแบบ Infographic 1 แผน่ ) - ไม่มี รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบรุ ี 2
1.2 การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย สอดรับกับ วิถีใหม่ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นและการเสริมสร้าง วิถีชวี ติ ของความเปน็ พลเมืองทเี่ ข้มแข็ง (สพฐ./สอศ./กศน./สช.) 1.2.1 หน่วยรบั ตรวจที่รายงานผลในนโยบายนี้ กศน. จำนวน 14 แหง่ จำแนกเป็น 1.2.1.1 หน่วยงานการศึกษา จำนวน 1 แหง่ 1.2.1.2 สถานศึกษา จำนวน 13 แห่ง 1.2.2 สภาพการดำเนินงาน ความกา้ วหน้า และผลสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานตามนโยบาย สภาพการดำเนนิ งาน การจัดการเรียนการสอนประวตั ิศาสตรแ์ ละหนา้ ทพ่ี ลเมืองให้มี ความทันสมัย สอดรับกับวิถีใหม่ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถ่ิน และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง เป็นหนึ่งในนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ข้อ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ 1.3 ส่งเสริมการจัด การศึกษาเพื่อเสริมสรา้ งความมัน่ คง ได้แก่ การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ์ ยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติ การเรยี นรปู้ ระวัติศาสตร์ของชาติและท้องถ่ิน และหน้าทคี่ วามเปน็ พลเมืองท่ีเข้มแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสาผ่าน กิจกรรมต่าง ๆ ผลสำเรจ็ ทเ่ี กิดข้ึนจากการดำเนินงานตามนโยบาย ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ไดแ้ ก่ 1) ในเรื่อง การจัดการเรียนการสอนประวัตศิ าสตรแ์ ละหนา้ ที่พลเมือง มีการบรรจุใน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้งรายวิชาบังคับ รายวิชาบังคับ เลือก และรายวิชาเลือกเสรี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 มีผลการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาใน ภาพรวม ดงั น้ี รายวิชา ชื่อวชิ า ระดับการศึกษา รหัสวิชา จำนวน ผลู้ งทะเบยี น หนว่ ยกติ (คน) บังคับ ศาสนาและหน้าท่ี ประถมศกึ ษา สค11002 3 65 พลเมือง มัธยมศกึ ษาตอนต้น สค21002 3 387 มธั ยมศึกษาตอนปลาย สค31002 3 435 รวม 887 เลือกบงั คับ ประวัติศาสตร์ ประถมศกึ ษา สค12024 2 50 ชาตไิ ทย มธั ยมศกึ ษาตอนต้น สค22020 3 572 มธั ยมศึกษาตอนปลาย สค32034 3 604 รวม 1,216 ลกู เสือ ประถมศึกษา สค12025 2 27 รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี 3
รายวชิ า ช่อื วชิ า ระดบั การศึกษา รหัสวิชา จำนวน ผู้ลงทะเบยี น เลือกเสรี หนว่ ยกติ (คน) มธั ยมศึกษาตอนตน้ สค22021 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สค32035 3 590 3 516 กาญจนบุรีบา้ นเรา มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สค33055 รวม 1,133 กาญจนบุรวี ิถีพทุ ธ มธั ยมศึกษาตอนปลาย สค33056 3 830 3 1,613 รวม 2,443 2) สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง ภายใต้ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้กับนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในทกุ ระดบั การศกึ ษา ประกอบดว้ ย นักศึกษาระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ได้แก่ กิจกรรมที่แสดงออกถึงความ จงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ กิจกรรมจิตอาสา กศน. “เราทำความดีด้วยหัวใจ” กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรมยุวกาชาด กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมการเรียนรู้การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวัน ตัวอย่าง กิจกรรมที่สถานศึกษาไดด้ ำเนนิ การ ดังนี้ ก. กิจกรรมจติ อาสา กศน. “เราทำความดีด้วยหัวใจ” สถานศกึ ษา กิจกรรม กศน.อำเภอเมืองกาญจนบุรี - โครงการสร้างจติ สำนึกด้านจติ อาสากบั นกั ศึกษา กศน. กศน.อำเภอหว้ ยกระเจา - โครงการจิตอาสาพฒั นาผู้เรียน กศน.อำเภอด่านมะขามเตยี้ - โครงการคา่ ยคุณธรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิตจิตอาสา กศน.อำเภอศรสี วสั ดิ์ - โครงการคา่ ยจิตอาสา กศน.อำเภอศรสี วสั ดิ์ เพ่ือร่วมใจพัฒนาแหล่งเรียนรู้ กศน.อำเภอพนมทวน - โครงการจิตอาสา กศน. กศน.อำเภอท่ามะกา - โครงการจติ อาสา กศน.อำเภอท่ามะกา “เราทำดดี ้วยหัวใจ” - โครงการสง่ เสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรม เพื่อพฒั นาคุณภาพชีวิต สร้างคนดี กศน.อำเภอทองผาภมู ิ จิตอาสา กศน.อำเภอสังขละบุรี - โครงการอบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม จิตอาสาพัฒนาชมุ ชน กศน.อำเภอหนองปรอื - โครงการจิตอาสานกั ศกึ ษา กศน. ร่วมพฒั นาชุมชน - โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมดว้ ยหัวใจจติ อาสา ม่งุ สสู่ ขุ ภาวะ ปลอดภัย รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบรุ ี 4
ข. กิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษตั ริย์ การเรยี นร้ปู ระวตั ิศาสตรข์ องชาติและท้องถิน่ และหนา้ ท่คี วามเปน็ พลเมืองท่ีเข้มแขง็ สถานศกึ ษา กจิ กรรม กศน.อำเภอเลาขวญั - โครงการทอ่ งกรงุ เกา่ เล่าประวัติศาสตร์ กศน.อำเภอทองผาภมู ิ - โครงการอบรมประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทยและพระมหากรุณาธิคณุ ของ พระมหากษัตริยไ์ ทย กศน.อำเภอเมอื งกาญจนบรุ ี - โครงการคุณธรรมกบั ประวตั ิศาสตร์ชาติไทย - โครงการคณุ ธรรมจรยิ ธรรมเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชีวติ กศน.อำเภอทา่ ม่วง - โครงการเรียนรูร้ ากเหง้าของชาวกาญจนบรุ ี - โครงการย้อนรอยอดีตเมืองกรุงเกา่ พระนครศรอี ยธุ ยา - โครงการศึกษาเรยี นรู้ศลิ ปวัฒนธรรมและรักษ์โบราณสถานเพอื่ สืบสาน วฒั นธรรมไทย - โครงการตามรอยวิถชี วี ติ คนกาญจนบรุ ี ค. กจิ กรรมลกู เสือ และกิจกรรมยวุ กาชาด สถานศึกษา กิจกรรม กศน.อำเภอเมืองกาญจนบรุ ี - โครงการลูกเสอื - โครงการยวุ กาชาด หลักสูตรพนื้ ฐาน กศน.อำเภอด่านมะขามเตีย้ - โครงการคา่ ยลกู เสือสร้างสรรค์ พฒั นาคุณภาพนักศึกษาด่านมะขามเตี้ย - โครงการอบรมคา่ ยยวุ กาชาด หลักสตู รการปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้นและ กศน.อำเภอท่ามะกา การป้องกันบรรเทาสาธารณภัย กศน.อำเภอทองผาภมู ิ - โครงการอบรมลูกเสอื วิสามัญ - โครงการเขา้ คา่ ยลูกเสอื ช่อสะอาด 3) ในปีงบประมาณที่ผ่านมา และปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงาน กศน. มีนโยบายให้หน่วยงานและสถานศึกษาทุกแห่ง ขับเคลื่อนโครงการจิตอาสาของสำนักงาน กศน. ภายใต้ กจิ กรรมหลักประกอบด้วย กิจกรรมอบรมหลักสตู รจติ อาสาของสำนกั งาน กศน. และกิจกรรมขยายผลโครงการ จิตอาสาของสำนกั งาน กศน. มีผลการดำเนินงานดังน้ี ก. เมื่อวันที่ 17-18 และ 21-22 กุมภาพันธ์ 2565 จัดกิจกรรมอบรมหลักสูตร จิตอาสาของสำนักงาน กศน. เนื้อหา ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย การสร้าง ความตระหนักในการร่วมกันป้องกันและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์และสถาบันสำคัญของชาติ และพิธี ปฏิญาณตนปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี 5
(CPR) และจติ อาสาพฒั นาการบำเพ็ญประโยชน์ต่อสว่ นรวม ใหก้ ับขา้ ราชการครู ครู กศน. และนกั ศึกษา กศน. อำเภอละ 10 คน รวมทั้งสิ้น 130 คน ในรูปแบบ On Line และ On Site และมอบหมายให้สถานศึกษา ทุกแหง่ ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมขยายผลโครงการจติ อาสาของสำนักงาน กศน.ในพนื้ ท่เี พ่ือเตรียมความพร้อมเข้า รับการประกวด ได้แก่ กิจกรรมการประกวดชุมชนจิตอาสา การแข่งขันขับร้องบทเพลงพระราชนิพนธ์ใน รัชกาลที่ 9 การประกวดการจัดทำโครงงานจิตอาสาต้นแบบ และการคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานที่ทำคุณประโยชน์ ดา้ นจติ อาสา ข. กิจกรรมขยายผลโครงการจิตอาสาของสำนักงาน กศน. ได้แก่ กิจกรรม การประกวดชุมชนจิตอาสา การแข่งขันขับร้องบทเพลงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 9 การประกวดการจัดทำ โครงงานจิตอาสาต้นแบบ และการคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานที่ทำคุณประโยชน์ด้านจิตอาสา ในระดับจังหวัด สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ได้กำหนดแผนการดำเนินงานในวันที่ 21-25 มีนาคม 2565 และในระดับ กลมุ่ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั กลมุ่ ศูนยท์ ่าจีนถิ่นแม่กลอง กำหนดแผนดำเนนิ งานในวนั ท่ี 18-22 เมษายน 2565 1.2.3 ปญั หาและอุปสรรค 1.2.3.1 ดา้ นครูผสู้ อน - ไม่มี 1.2.3.2 ดา้ นการบรหิ ารจัดการ - ไมม่ ี 1.2.3.3 ด้านส่อื วัสดอุ ปุ กรณ์ - ไม่มี 1.2.3.4 ด้านอ่นื ๆ - ไม่มี 1.2.4 การแก้ไขปญั หาของหน่วยงาน/สถานศกึ ษา - ไมม่ ี 1.2.5 ข้อเสนอเชงิ นโยบาย (ท่านมีความเห็นว่า ศธ.ควรมขี ้อสั่งการเพ่ือขบั เคลือ่ นเรื่องน้หี รือ แก้ปัญหาอปุ สรรคดงั กลา่ วอย่างไร) - ไมม่ ี 1.2.6 นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย สอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นและการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ของสถานศึกษาในสังกัดท่าน ที่เป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) จำนวน 1 ผลงาน (นำเสนอ ในรูปแบบ Infographic 1 แผน่ ) - ไมม่ ี รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาญจนบุรี 6
1.3 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทให้มี สมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล รวมท้งั การจดั การเรยี นการสอน (สพฐ./สอศ./กศน./สช.) 1.3.1 หน่วยรับตรวจทร่ี ายงานผลในนโยบายน้ี กศน. จำนวน 14 แห่ง จำแนกเป็น 1.3.1.1 หน่วยงานการศกึ ษา จำนวน 1 แห่ง 1.3.1.2 สถานศึกษา จำนวน 13 แหง่ 1.3.2 สภาพการดำเนินงาน ความก้าวหนา้ และผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย สภาพการดำเนินงาน 1. โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน ในปีงบประมาณพ.ศ.2565 สำนักงาน กศน. ได้จัด อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารโครงการศนู ยด์ ิจิทัลชมุ ชน หลกั สตู รการคา้ ออนไลน์ กลยทุ ธก์ ารตลาดเชอ่ื มโยงจาก Online และ Offline รุน่ ท่ี 1 ให้กับบุคลากรสำนักงาน กศน. เพ่อื พฒั นาศกั ยภาพของวิทยากรแกนนำดา้ นดจิ ทิ ัล ระดับ จังหวดั (ครู ก.) ให้มคี วามเข้าใจกลไกการทำงานและแนวโน้มของสื่อสังคมออนไลน์ทม่ี ผี ลต่องานการตลาดและ การขาย รวมถึงการตลาดข้นั พ้ืนฐานทีจ่ ะนำไปใช้เช่ือมโยงระหว่างการตลาดแบบด้ังเดิมและการตลาดออนไลน์ ผ่านเครื่องมือที่หลากหลาย และพฤติกรรมผู้บริโภคในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 เพื่อนำไปถ่ายทอดให้กับบุคลากรสังกัดสำนักงาน กศน.และประชาชนทั่วไปในพื้นที่ ให้แก่ผู้รับผิดชอบงาน โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชนของสำนักงาน กศน.จังหวัด ๆ ละ 1 คน ระหว่างวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2565 ณ โรงแรมเอส รชั ดา กรุงเทพฯ โดยมี นายสรยทุ ธ องั คณานุกิจ ประธานกรรมการบริหารบรษิ ัท อันนาย จำกัด เน้อื หาหลกั สูตรประกอบด้วย 1. แนวโน้มการตลาดดจิ ทิ ัล 2022 (3 ชวั่ โมง) - พฤติกรรมการเสพสอ่ื ของผบู้ รโิ ภค - สอ่ื สังคมออนไลนม์ ีผลตอ่ พฤตกิ รรมผบู้ ริโภคอย่างไร - กลไกการทำงานของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีผลตอ่ ความสนใจและพฤติกรรม ผบู้ รโิ ภค - ผลลัพธ์ที่สง่ ผลตอ่ พฤติกรรมผบู้ รโิ ภคยคุ โควคิ 2. การตลาดพน้ื ฐาน (3 ชว่ั โมง) - แนวคิดการตลาดข้นั พื้นฐาน สิ่งท่ีเป็นรากฐานทขี่ าดไม่ได้ - แนวคดิ การแบ่งระดับข้อมูลสำหรับนำเสนอสนิ ค้า - วิเคราะหแ์ ละรหู้ ลกั การสร้างแผนผังคณุ ค่าให้กับสินคา้ - วเิ คราะหแ์ ละรหู้ ลักการสรา้ งแผนทีค่ วามคิดสำหรับจดั ทำ Content Marketing - รูปแบบการเขยี น Caption โดนใจ เพอ่ื ใช้พาดหวั ให้สะดดุ หยุดนว้ิ โปง้ รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี 7
3. กลยทุ ธ์การทำ facebook Page เพอ่ื ขายสนิ คา้ แบบน่าสนใจ (3 ชัว่ โมง) - เขา้ ใจและกำหนด Customer Journey ตาม Marketing Funnel - เข้าใจและสามารถตง้ั คา่ facebook Page ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานของ facebook เพอ่ื เป็น Page ทพี่ ร้อมใชง้ าน - เขา้ ใจกลยทุ ธก์ ารสรา้ ง facebook Page สำหรบั ขั้นตอนการสร้างการรับรู้ - เขา้ ใจแนวทางการสร้าง Sale Content มาตรฐาน - ฝึกปฏิบัติสรา้ ง Sale Content ใหเ้ หมาะกับสินคา้ ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย การดำเนินงานตาม นโยบายในระดับพื้นที่ สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี กำหนดการจัดโครงการอบรมหลักสูตรการค้า ออนไลน์ กลยุทธ์การตลาดเชื่อมโยงจาก Online และ Offline ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ครู กศน.ตำบล (ครู ข.) จำนวน 98 คน เพื่อไปจัดอบรมให้ความรู้ให้กับประชาชนในพื้นท่ี รุ่นที่ 1 วันที่ 17-18 มีนาคม 2565 และ รุ่นที่ 2 วนั ท่ี 21-22 มนี าคม 2565 2. โครงการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะและสมรรถนะครู กศน.ด้านการสอน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบรุ ี ได้ดำเนินการสง่ ข้าราชการครูที่มีประสบการณ์ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ในรายวิชาภาษาอังกฤษ อย่างน้อย 2 ปี จำนวน 4 คน ประกอบด้วย เข้ารับการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะและสมรรถนะครู ด้านการสอนภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสาร (Boot Camp) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (พิเศษ) รุ่นที่ 2 วันที่ 18-24 ธันวาคม 2565 ณ โรงแรม เอด ไพรม์ แอท รางน้ำ กรุงเทพฯ วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาครู กศน.ให้มีทักษะและสมรรถนะ ด้านการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษที่จำเป็นในยุคดิจิทัล รวมถึงมีทักษะและสมรรถนะในศตววรรษที่ 21 ด้านการจัดการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร โครงสร้างหลกั สูตรประกอบดว้ ย ระยะที่ 1 การฝึกอบรม (7 วัน) จำนวน 48 ชั่วโมง ประกอบด้วย 5 Module ได้แก่ 1) การออกแบบการจัดการเรียนรู้ 2) กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 3) Aspire to Inspire ภาษาอังกฤษยุคดิจิทัล 4) การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ PLC และ 5) การนำเสนอผลงานการ ออกแบบ การสาธิตการจัดกระบวนการเรียนรู้ และการประกวด The Best English Language Teacher in The Digital Age Competition ระยะที่ 2 การกำกับ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงาน และ การสำเร็จการศกึ ษา รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี 8
ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย หลักจากจบ การอบรมหลักสูตรดังกล่าว ครูจะต้องนำความรู้ไปปฏิบัติงานในสถานศึกษา และส่งรายงานผลการดำเนินการ การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือก ผู้ผ่านเกณฑ์จะมีสิทธิได้รับ การคดั เลือกเปน็ ครู กศน.ต้นแบบภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Boot Camp) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี มีครูที่ได้รับการคัดเลือก และเข้ารับการนิเทศติดตามการจัดการเรียน การสอนในพื้นที่ จำนวน 2 คน คือ นางสาวปรารถนา พุทธศรี ครู กศน.อำเภอท่ามะกา และว่าที่ ร.ต.ภคิน เพ็ญปัญญา ครูผู้ชว่ ย กศน.อำเภอพนมทวน 3. โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งาน กศน.กำหนดใหส้ ถานศึกษาจัดอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการส่ือสารดา้ นอาชีพให้ประชาชน ในพื้นที่ โดยใช้แนวทางการดำเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ได้ดำเนินการให้สถานศึกษาสำรวจความต้องการการอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการ สอ่ื สารด้านอาชีพ ผลการสำรวจ มีประชาชนในพน้ื ท่ที ี่มีความพร้อมและให้ความสนใจเข้ารบั การอบรม จำนวน 7 สถานศึกษา ได้แก่ 1) กศน.อำเภอศรีสวสั ดิ์ 2) กศน.อำเภอด่านมะขามเตี้ย 3) กศน.อำเภอไทรโยค 4) กศน. อำเภอพนมทวน 5) กศน.อำเภอบอ่ พลอย 6) กศน.อำเภอหว้ ยกระเจา และ 7) กศน.อำเภอท่ามว่ ง ในไตรมาสท่ี 1-2 (ตุลาคม 2564-มีนาคม 2565) สถานศึกษาสามารถดำเนิการจัดกิจกรรมได้จำนวน 3 สถานศึกษา คือ 1) กศน.อำเภอห้วยกระเจา 2) กศน.อำเภอพนมทวน และ 3) กศน.อำเภอบ่อพลอย ผู้เข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 62 คน ที่ กศน.อำเภอ จัดไตรมาส 1-2 จดั ไตรมาส 3-4 1 ศรสี วัสดิ์ 2 ด่านมะขามเต้ีย 21 คน 3 ไทรโยค 20 คน 4 พนมทวน 21 คน 5 บ่อพลอย 62 คน 6 หว้ ยกระเจา 7 ท่าม่วง รวม รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี 9
4. โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการนำเสนอองค์กร สำหรับวิชาชีพ ครู รุ่นที่ 3 สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาครู กศน.ผู้ปฏิบัติงานในพื้นท่ี โดยได้จัดโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการนำเสนอองค์กร สำหรับวิชาชีพครู รุ่นที่ 3 เพื่อให้ ครู กศน.มีความรู้ ทักษะ สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับวิชาชีพครู แนะนำองค์กร และ ประชาสมั พันธอ์ งค์กรอย่างง่ายได้ สามารถจดั ทำสอื่ การเรียนการสอนหรือสื่อสง่ เสริมการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา และประชาชนได้ รวมถึงสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลไปยังผู้เรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้รับการสนับสนุนวิทยากรจากมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี และ ครูที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะและสมรรถนะครู ด้านการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Boot Camp) รว่ มเป็นวทิ ยากร มีผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมจำนวน 62 คน 1.3.3 ปัญหาและอุปสรรค 1.3.3.1 ด้านครผู ู้สอน - ไมม่ ี 1.3.3.2 ด้านการบริหารจดั การ - ไมม่ ี 1.3.3.3 ด้านสอื่ วสั ดอุ ปุ กรณ์ - ไม่มี 1.3.3.4 ด้านอ่นื ๆ - ไม่มี 1.3.4 การแก้ไขปญั หาของหน่วยงาน/สถานศึกษา - ไมม่ ี 1.3.5 ข้อเสนอเชิงนโยบาย (ท่านมคี วามเหน็ วา่ ศธ.ควรมขี ้อสงั่ การเพื่อขบั เคลือ่ นเรื่องนี้หรอื แก้ปัญหาอปุ สรรคดงั กล่าวอย่างไร) - ไมม่ ี 1.3.6 นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับ การพัฒนาคุณภาพ และประสทิ ธภิ าพครูและบุคลากรทางการศึกษาทกุ ประเภทให้มีสมรรถนะทางภาษาและดจิ ิทลั ของสถานศึกษา ในสังกัดท่าน ที่เป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) จำนวน 1 ผลงาน (นำเสนอในรูปแบบ Infographic 1 แผน่ ) - ไมม่ ี รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบรุ ี 10
1.4 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวทิ ยฐานะข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการ ศึกษา (หลกั เกณฑ์ (PA)) (สพฐ./สอศ./กศน.) 1.4.1 หนว่ ยรบั ตรวจทร่ี ายงานผลในนโยบายน้ี กศน. จำนวน 14 แห่ง จำแนกเปน็ 1.4.1.1 หนว่ ยงานการศกึ ษา จำนวน 1 แหง่ 1.4.1.2 สถานศึกษา จำนวน 13 แหง่ 1.4.2 สภาพการดำเนินงาน ความกา้ วหน้า และผลสำเรจ็ ของการดำเนินงานตามนโยบาย สภาพการดำเนนิ งาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งาน กศน. มหี นงั สอื แจ้งให้ สำนกั งาน กศน.จังหวดั ผบู้ ริหารสถานศึกษาในสังกัด ศกึ ษานเิ ทศก์ ข้าราชการครู จดั ทำข้อตกลงในการพัฒนา งาน (PA) เสนอต่อผู้บังคับบญั ชาตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารประเมินตำแหนง่ และวิทยฐานะ ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศกึ ษา และใหผ้ ู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวดั แตง่ ตั้งคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา งานตามข้อตกลงตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ.กำหนด ในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา และศึกษานิเทศก์ ส่วนตำแหน่งครู ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษา ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตาม ข้อตกลงตามหลกั เกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ.กำหนด ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย สำนักงาน กศน. จังหวัดกาญจนบุรี ได้ดำเนินการจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) เมื่อวันที่ 8-11 พฤศจิกายน 2564 ณ ห้องประชุม สำนักงาน กศน.จังหวดั กาญจนบุรี เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ และข้าราชกาครู จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ได้อย่างเป็นรูปธรรม และเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน ตำแหนง่ และวทิ ยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาท่ี ก.ค.ศ.กำหนด โดยใหผ้ ู้เข้าร่วมประชุมทุกคน ศกึ ษาเอกสารหลกั เกณฑ์และวิธกี ารประเมินตำแหนง่ และวิทยฐานะขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน ตำแหน่งที่ตนเองครองอยู่ในปัจจุบัน องค์ความรู้ต่าง ๆ ตัวอย่างการเขียนข้อตกลง และนำความรู้ต่าง ๆ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขณะนี้มีผู้ส่งครบ 36 คน และอยู่ในระหว่างการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน มีรายละเอียด ดงั น้ี รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี 11
หนว่ ยงาน/ ผูบ้ ริหารการศึกษา (ว 12/2564) ศกึ ษานิเทศก์ ขา้ ราชการครู (ว 9/2564) ผู้บริหารสถานศึกษา (ว 11/2564) (ว 10/2564) ท่ี สถานศกึ ษา รวม วิทยฐานะ วิทยฐานะ วิทยฐานะ (กศน.อำเภอ) เช่ียว ชำนาญการ ชำนาญ ชำนาญการ ชำนาญการ ชำนาญ ครู ชาญ พเิ ศษ การ พิเศษ พเิ ศษ การ ครู ผูช้ ่วย 1 สนง.กศน.กจ. 1 0 0 1 0 0 002 0 0 0 012 2 เมืองกาญจนบรุ ี 0 1 0 0 1 0 013 0 0 0 112 3 ท่ามว่ ง 00 1 0 0 0 113 0 0 0 113 4 ท่ามะกา 00 0 0 0 0 101 0 0 0 124 5 ด่านมะขามเต้ยี 0 1 0 0 0 0 113 0 0 1 013 6 ไทรโยค 01 0 0 0 2 014 0 0 0 113 7 ทองผาภมู ิ 00 0 0 0 0 011 0 0 0 112 8 สังขละบุรี 00 1 1 1 3 8 13 36 9 ศรสี วัสดิ์ 01 0 10 พนมทวน 01 0 11 บ่อพลอย 01 0 12 เลาขวญั 00 1 13 ห้วยกระเจา 0 0 0 14 หนองปรอื 00 0 รวม 1 6 3 ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ และขา้ ราชการครู จำนวน 36 คน รอ้ ยละ 100 ยื่นแบบ ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) ตามตำแหน่งและวิทยฐานะท่ีดำรงอยู่ เพอื่ ใชเ้ ป็นองค์ประกอบในการพิจารณา เลื่อนเงินเดือน และใช้เปน็ ผลการประเมินคงวิทยฐานะ ในสว่ นครูผชู้ ่วย ของสำนกั งาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 13 คน สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี มีนโยบายใหค้ รูผูช้ ่วยทุกคนจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) เพ่อื เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มรับการประเมินในอนาคต 1.4.3 ปัญหาและอุปสรรค 1.4.3.1 ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน - ไม่มี 1.4.3.2 ดา้ นการประเมินวิทยฐานะ - ไมม่ ี รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี 12
1.4.3.3 ดา้ นการเปลยี่ นหลกั เกณฑ์การประเมนิ - ไม่มี 1.4.3.4 ดา้ นอน่ื ๆ - ไมม่ ี 1.4.4 การแก้ไขปัญหาของหน่วยงาน/สถานศึกษา - ไมม่ ี 1.4.5 ข้อเสนอเชิงนโยบาย (ท่านมคี วามเหน็ ว่า ศธ.ควรมีข้อสั่งการเพ่ือขับเคลอื่ นเร่ืองนห้ี รือ แกป้ ัญหาอุปสรรคดังกลา่ วอย่างไร) - ไม่มี 1.4.6 นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน ตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์ ว.9 (PA)) ของสถานศึกษาใน สังกัดท่านที่เป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) จำนวน 1 ผลงาน (ถ้ามี ให้นำเสนอในรูปแบบ Infographic 1 แผ่น) - ไมม่ ี รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบุรี 13
1.6 ความปลอดภัยของผ้เู รียน โดยการสรา้ งสถานศึกษาปลอดภยั และบริหารจัดการเชิงบรู ณา การในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (สพฐ./สอศ./กศน./สช.) 1.6.1 ประเดน็ ความปลอดภัยของผูเ้ รียน โดยการสรา้ งสถานศึกษาปลอดภยั หมายเหตุ : ภัยคุกคาม จำนวน 9 ประเภท มีความหมาย ดังน้ี (1) ภัยยาเสพตดิ หมายถึง ภัยจากยาหรือสารเคมีหรอื วัตถชุ นดิ ใดท่เี ปน็ ผลิตภัณฑ์ จากธรรมชาติหรือจากการสังเคราะห์ ท่ีเมื่อเสพเขา้ สูร่ า่ งกายโดยวิธีการกิน ดม สูบ ฉีด หรอื วิธีใดเป็นช่วงระยะ เวลานาน หรือการเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดทุกประเภท ทำให้ร่างกายทรุดโทรมและต้องเพิ่มขนาดการเสพ มากขึ้น และมีผลต่อร่างกายและจิตใจ เช่น สารระเหย ยาอี กระท่อม โคเคน เฮโรอีน แอมเฟ ตามิน รวมถึง เหล้า บหุ ร่ี เป็นต้น (2) ภัยความรุนแรง หมายถึง ภัยที่เกิดจากการใช้กำลังหรือพลังทางกาย การทำร้าย จิตใจ การใช้ถ้อยคำหยาบคาย เหยียดหยาม ด่าทอ ดูหมิ่น เสียดสี ข่มเหง โดยเจตนาต่อตนเองและผู้อื่น หรือ การแกล้งรังแกกันในชั้นเรียน ครูลงโทษนักเรียนเกินกว่าเหตุ ครูล่วงละเมิดทางเพศนักเรียน การคุกคามให้ หวาดกลัว การทำลายหรือรีดไถทรัพย์สินสมบัติ กล่าวโทษผู้อื่นทำใหม้ ีสิง่ ไม่ดีเกิดขึน้ รวมถึงการรังแกผ่านโลก ไซเบอร์ (cyber bullying) โดยใช้อินเตอร์เน็ต เครือข่ายสังคมออนไลน์ อีเมล์ การส่งข้อความ SMS เพื่อสร้าง ความเดือดรอ้ นใจหรอื เป็นอันตรายตอ่ ผอู้ นื่ เปน็ ต้น (3) ภัยพิบัติต่าง ๆ หมายถึง ภัยที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน โดย ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของผูค้ นในสังคมทงั้ ในระยะสนั้ และระยะยาว ซ่ึงประกอบด้วย (3.1) อุทกภัย คือ ภัยและอันตรายทีเ่ กดิ จากสภาวะน้ำท่วมหรอื น้ำท่วมฉบั พลนั มสี าเหตุมาจากการเกดิ ฝนตกหนกั หรอื ฝนตกต่อเนื่องเป็นเวลานาน (3.2) วาตภัย คือ ภัยที่เกิดขึ้นจากพายุลมแรง ส่งผลให้เกิดความเสียหายแก่ อาคารบา้ นเรอื น ต้นไม้ และสงิ่ ก่อสรา้ ง (3.3) ภัยหนาว คือ ภัยที่เกิดขึ้นจากสภาพอากาศที่หนาวจัด อุณหภูมิต่ำกว่า 8 องศาเซลเซียส และอุณหภมู ิลดลงอยา่ งตอ่ เนือ่ ง (3.4) ภัยแล้ง คือ ภัยที่เกิดจากการขาดแคลนน้ำในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเป็น เวลานานจนกอ่ ใหเ้ กดิ ความแห้งแลง้ และสง่ ผลกระทบตอ่ ชุมชน (3.5) อัคคีภัย คือ ภัยอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้าที่ขาดการควบคุมดูแล ทำให้เกิด การติดต่อลุกลามไปตามบรเิ วณทม่ี ีเชอ้ื เพลิงเกดิ การลกุ ไหมต้ ่อเนื่อง สร้างความสญู เสยี ใหท้ รพั ย์สนิ และชีวติ (3.6) ธรณีพิบัติภัย หมายถึง ภัยธรรมชาติที่เกิดจากกระบวนการทางธรณีวิทยา เช่น แผ่นดินไหว หลุมยุบ ดินถล่ม สึนามิ เป็นต้น ถือเป็นภัยธรรมชาติท่ีเกิดจากกระบวนการทางธรณีวิทยา ทเ่ี กิดข้ึนโดยฉับพลนั และรุนแรง กอ่ ใหเ้ กิดความเสยี หายแก่บ้านเรือน ชวี ติ และทรพั ย์สินของประชาชนท่ีอาศัย อยู่ในพ้นื ทท่ี ีเ่ กิดเหตุ รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี 14
(4) อบุ ัตเิ หตุ หมายถงึ ภยั จากเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขึน้ อยา่ งไม่คาดคิดและไม่ตั้งใจ โดยไม่ มีสิ่งบอกเหตุล่วงหน้า แต่มีสาเหตุและส่งผลกระทบที่เป็นผลเชิงลบ เช่น อุบัติเหตุจากการเดินทางจากบ้านมา โรงเรียน อบุ ัติเหตุจากการขับขีร่ ถจักรยานยนต์ อบุ ตั เิ หตจุ ากการเล่นน้ำ เป็นต้น (5) โรคอุบัติใหม่ หมายถงึ โรคตดิ เชือ้ ชนิดใหม่ มแี นวโนม้ ที่จะพบมากขึ้นในอนาคต เช่น โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นต้น โรคอุบัติซ้ำ หมายถึง โรคติดเชื้อที่เคยแพร่ระบาดใน อดีตกลับมาระบาดขึ้นอกี เช่น โรควัณโรค โรคไข้เลือดออก และโรคมอื เท้า ปาก เปน็ ต้น (6) ฝุ่น PM 2.5 หมายถึง ฝุ่นละอองขนาดเล็ก ไม่เกิน 2.5 ไมครอน ที่สามารถ แพร่กระจายเข้าสู่ทางเดินหายใจ กระแสเลือด และเขา้ สู่อวัยวะอ่ืนๆ ในรา่ งกาย โดยตวั ฝุ่นเปน็ พาหะนำสารอื่น เข้ามาด้วย เช่น แคดเมียม ปรอท และสารก่อมะเร็งอื่นๆ หากได้รับฝุ่น PM 2.5 เป็นเวลานาน หรือสะสมใน ร่างกาย จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง โรคปอดเรื้อรังหรือมะเร็งปอด เป็นต้น (7) การค้ามนุษย์ หมายถึง การจัดหา การขนส่ง การส่งต่อ การจัดให้อยู่อาศัยหรือ การรับไว้ ซึ่งบุคคลด้วยความมิชอบตามกฎหมาย ด้วยวิธีการขู่เข็ญ การใช้กำลัง การบีบบังคับ การลักพาตัว การฉ้อโกง การหลอกลวง การใช้อำนาจโดยมชิ อบ มีการให้ หรือรับเงนิ หรือผลประโยชน์เพื่อให้ได้มาซึ่งความ ยินยอมของบุคคล รวมถึงการแสวงหาประโยชน์จากการค้าประเวณีของบุคคลอื่น การแสวงประโยชน์ทางเพศ ในรูปแบบอื่น การบังคับใช้แรงงานหรอื บริการ การกระทำอื่นเสมือนการเอาคนลงเปน็ ทาส การทำให้ตกอยู่ใต้ บังคบั หรอื การตัดอวยั วะออกจากรา่ งกาย (8) การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน หมายถึง การแสดงอำนาจด้วยกิริยาหรือวาจา เป็นพฤตกิ รรมที่กระทำอยา่ งต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาหนึง่ โดยการเฝ้าตดิ ตาม กอ่ ให้เกิดความเดอื ดรอ้ นรำคาญ และข่มขู่ ทำให้เหยื่อเกิดความตกใจ หวาดกลัว เช่น การข่มขู่เหยื่อว่าจะทำอันตรายให้ถึงแก่ชวี ติ ร่างกายหรือ ทรพั ยส์ ิน เป็นตน้ (9) อาชญากรรมไซเบอร์ หมายถึง ความผิดที่กระทำขึ้นต่อปัจเจกบุคคลหรือกลุ่ม ของปัจเจกบุคคลด้วยเหตุจูงใจทางอาญา มีเจตนาทำให้เหยื่อเสื่อมเสียชื่อเสียง หรือทำร้ายร่างกาย หรือจิตใจ ของเหย่ือท้ังทางตรง ทางอ้อม โดยใชเ้ ครือขา่ ยโทรคมนาคมสมยั ใหม่ เข่น อินเทอร์เนต็ เครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ (หอ้ งแชต็ อีเมล กระดานประกาศ และกลุ่มข่าว) โทรศพั ทเ์ คลือ่ นที่ (เอสเอม็ เอส/เอม็ เอม็ เอส) เป็นต้น 1.6.1.1 หน่วยรับตรวจที่รายงานผลในนโยบายนี้ กศน. จำนวน 14 แหง่ จำแนกเป็น 1.6.1.1.1 หนว่ ยงานการศกึ ษา จำนวน 1 แหง่ 1.6.1.1.2 สถานศกึ ษา จำนวน 13 แห่ง 1.6.1.2 สภาพการดำเนินงาน ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานความ ปลอดภยั ของผู้เรียน โดยการสรา้ งสถานศกึ ษาปลอดภัย รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบุรี 15
สภาพการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กระทรวงศึกษาธิการ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดนโยบายเสริมสร้างความปลอดภัยให้นักเรียน นักศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา จัดตั้งศูนย์ความปลอดภัยกระทรวงศึกษาธิการ และให้นำระบบมาตรฐานความ ปลอดภัย (MOE Safety Center) ตามแนวทางการบริหารจัดการระบบมาตรฐานความปลอดภัย (MOE Safety Center) มาใชแ้ ก้ปัญหาความไม่ปลอดภัยของนักเรียน นกั ศกึ ษา ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา โดยให้สำนักงาน กศน. ดำเนินการ 1) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการระบบมาตรฐานความปลอดภัย (MOE Safety Center) 2) จัดตั้งศูนย์ความปลอดภัยจังหวัด/อำเภอ 3) แต่งตั้งคณะกรรมการ ศูนย์ความปลอดภัยจังหวัด/อำเภอ 4) แต่งตั้งเจ้าหน้าท่ีดูแลระบบ MOE Safety Center จังหวัด/อำเภอ และ 5) มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ดูแลระบบ MOE Safety Center ของสำนักงาน กศน.จังหวัด จำนวน 1 คน และ กศน.อำเภอ จำนวน 1 คน เข้ารับการอบรมการใช้งานระบบ MOE Safety Center โดยทีมวิทยากร ศนู ยค์ วามปลอดภยั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยของผู้เรียน สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรีและสถานศึกษาทุกแห่ง ได้ดำเนินการตามแนวทางการบริหารจัดการระบบ มาตรฐานความปลอดภัย (MOE Safety Center) ทส่ี ำนกั งาน กศน.กำหนด มีผลสำเรจ็ การดำเนนิ งาน ดังน้ี 1) มอบหมายผู้รับผิดชอบดูแลระบบมาตรฐานความปลอดภัย (MOE Safety Center) ระดับจังหวัด จำนวน 1 คน และทำหนังสือแจ้งให้สถานศึกษาทุกแห่งมอบหมายผู้รับผิดชอบดูแล ระบบมาตรฐานความปลอดภัย (MOE Safety Center) ระดับอำเภอ จำนวน 1 คน เข้ารับการอบรมการใช้งาน ระบบ MOE Safety Centerในวันที่ 7 กุมภพันธ์ 2565 เวลา 10.00-12.00 น. ผ่านโปรแกรม Zoom cloud meeting ผลการดำเนินงาน : แจ้งรายชื่อผู้รับผิดชอบดูแลระบบมาตรฐาน ความปลอดภัย (MOE Safety Center) ระดบั จงั หวดั /อำเภอใหส้ ำนกั งาน กศน.ทราบ 2) สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี และสถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง ได้ดำเนินการจดั ทำ 2.1) ประกาศจัดตั้งศูนย์ความปลอดภัย (MOE Safety Center) ระดับ จังหวดั /อำเภอ 2.2) คำสัง่ แต่งตง้ั คณะกรรมการศูนย์ความปลอดภยั (MOE Safety Center) ระดับจงั หวดั /อำเภอ 2.3) คำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ดูแลระบบ MOE Safety Center ของ ศูนยค์ วามปลอดภยั ระดับจงั หวัด/อำเภอ รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาญจนบรุ ี 16
3) จัดตั้งกลุ่ม line ศูนย์ความปลอดภัยสำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ กศน.อำเภอ เข้าเป็ นสมาชิกกลุ่ม line ศูนยค์ วามปลอดภยั สำนกั งาน กศน.จังหวดั กาญจนบุรี เพ่อื การรับรู้ขอ้ มูลข่าวสารและแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ 1.6.1.3 ปญั หาและอุปสรรค 1.6.1.3.1 ดา้ นครูผสู้ อน - ไม่มี 1.6.1.3.2 ด้านการบรหิ ารจดั การ - ผู้รับผิดชอบดูแลระบบมาตรฐานความปลอดภัย (MOE Safety Center) ระดับจังหวัด ไม่สามารถดูข้อมูลความเคลื่อนไหวใน www.MOESAFEtycenter.com ได้ 1.6.1.3.3 ดา้ นสอื่ วสั ดุอปุ กรณ์ - ไม่มี 1.6.1.3.4 ดา้ นอ่นื ๆ - ไม่มี 1.6.1.4 การแกไ้ ขปญั หาของหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา - ไมม่ ี 1.6.1.5 ข้อเสนอเชิงนโยบาย (ท่านมีความเห็นว่า ศธ.ควรมีข้อสั่งการเพื่อขับเคลื่อน เรื่องนหี้ รือแก้ปัญหาอปุ สรรคดังกลา่ วอยา่ งไร) - ไม่มี 1.6.1.6 นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยของ ผเู้ รียน โดยการสร้างสถานศึกษาปลอดภัย ท่เี ปน็ ต้นแบบหรือแบบอย่างท่ีดี (Best Practice) จำนวน 1 ผลงาน (นำเสนอในรปู แบบ Infographic 1 แผน่ ) - ไม่มี รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี 17
*1.6.2 ประเด็นการบริหารจดั การเชงิ บูรณาการในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) (สพฐ./สอศ./กศน./สช.) 1.6.2.1 สถานการณ์ปัจจุบันและสภาพความก้าวหน้า ความสำเร็จของการ ดำเนินงานการบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สภาพการดำเนินงาน 1. มาตรการ Thai Stop COVID Plus ด้วย ศูนย์ปฏิบัติการแก้ไขปัญหา จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดกาญจนบุรี และกระทรวงสาธารณสุข ได้มีหนังสือ ขอความรว่ มมือสำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาญจนบุรี ดำเนนิ การประเมนิ ตนเองดว้ ยโปรแกรม Thai Stop COVID Plus เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และคัดกรองผู้ปฏิบัติงานด้วยโปรแกรม Thai Save Thai ตามแนวทางปฏบิ ตั ิของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนนิ งานตามนโยบาย สำนักงาน กศน.จังหวดั กาญจนบรุ ี ไดด้ ำเนนิ การแจ้งให้สถานศึกษาทุกแห่งทราบ และดำเนินการกรอกข้อมูลการประเมินตามมาตรการ Thai Stop COVID Plus ของกระทรวงสาธารณสุข ทางระบบ Thai Stop COVID Plus ผลการประเมินอยู่ในระดับสีเขียว (คำแนนเต็ม 44 คะแนน คะแนนที่ได้ 44 คะแนน) หนว่ ยงานและสถานศึกษาทกุ แห่งผา่ นการประเมินเรียบรอ้ ยแลว้ 2. การกำกับ ติดตาม ประเมนิ ผลการจัดการเรียนการสอน และการดำเนินการ ตามมาตรการด้านสาธารณสุข ด้วยสำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรีได้รับแจ้งจาก สำนักงาน กศน. ขอความร่วมมือให้สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี แจ้งสถานศึกษาในสังกัดทุกแห่งปฏิบัติตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรการป้องกันและควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ของกระทรวงศึกษาธิการ และดำเนินการประเมินความพร้อมเปิดเรียนของสถานศึกษาผ่าน TSC+ ตามขอ้ กำหนดแนวทาง 7 มาตรการของสถานศึกษา ในระบบ MOE COVID อย่างตอ่ เนื่อง ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ได้ดำเนินการแจ้งให้สถานศึกษาในสังกัดทุกแห่งดำเนินการประเมินความพร้อมการ เปิดเรียนของสถานศึกษาผ่าน TSC+ ตามข้อกำหนดแนวทาง 7 มาตรการข้าของสถานศึกษา ในระบบ MOE COVID และติดตามผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ มีการกำหนดให้บุคลากรหมุนเวียนมาปฏิบัติงาน ณ สถานที่ ทำงาน โดยคำนึงถึงเป้าหมายการดำเนินงานและผลสัมฤทธิ์สูงสุดในการปฏิบัติงาน เพื่ออำนวยความสะดวก และตอบสนองการให้บริการแก่ประชาชน และมีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการสื่อสารเพิ่มมากขึ้น สถานศึกษา มีการปรับรปู แบบการเรียนการสอนใหส้ อดคล้องกับบรบิ ทและสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 ในแต่ละพื้นที่ตามความเหมาะสม และมีการประสานงานกับคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด อย่างใกลช้ ชิด รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบรุ ี 18
1.6.2.2 ปัญหาและอุปสรรค - ไมม่ ี 1.6.2.3 การแก้ไขปญั หาของหนว่ ยงาน/สถานศึกษา - ไม่มี 1.6.2.4 ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย (ทา่ นมีความเหน็ วา่ ศธ.ควรมขี ้อสงั่ การเพ่ือขับเคลอ่ื น เรอ่ื งนหี้ รอื แกป้ ัญหาอุปสรรคดังกลา่ วอยา่ งไร) - ไม่มี 1.6.2.5 นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาในสังกัดท่าน ท่เี ปน็ ต้นแบบหรือแบบอย่างทดี่ ี (Best Practice) จำนวน 1 ผลงาน (ถ้ามี นำเสนอในรปู แบบ Infographic 1 แผ่น) - ไม่มี รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี 19
นโยบายที่ 2 ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเทา่ เทียมกันทางสงั คม *2.1 การค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษาและติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบ การศกึ ษา (สพฐ./สอศ./กศน./สช.) 2.1.1 หนว่ ยรับตรวจท่ีรายงานผลในนโยบายน้ี กศน. จำนวน 14 แห่ง จำแนกเป็น 2.1.1.1 หน่วยงานการศึกษา จำนวน 1 แห่ง 2.1.1.2 สถานศกึ ษา จำนวน 13 แหง่ 2.1.2 สภาพการดำเนนิ งาน ความก้าวหน้า และผลสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานตามนโยบาย สภาพการดำเนินงาน โครงการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ได้รับทุนสนับสนุนการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อ ความเสมอภาคทางการศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี (กสศ.) (ระยะที่ 2) ซึ่งจังหวัดกาญจนบุรีเป็นหนึ่งในจังหวัด นำร่อง 20 จังหวัดทั่วประเทศ วัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา จังหวัด กาญจนบรุ ี ในระดบั พืน้ ท่มี ีการนำร่องใน 5 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองกาญจนบุรี อำเภอท่ามว่ ง อำเภอเลาขวัญ อำเภอทองผาภูมิ และอำเภอสังขละบรุ ี 1. ระดบั สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ในปงี บประมาณ พ.ศ.2565 มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏกาญจนบุรี ได้มีหนังสือเชิญสำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้ Application การคัดกรองกลุ่มเป้าหมายโครงการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี (กสศ.) (ระยะที่ 2) เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2564 ณ อาคารเรียนรวม คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี วัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและคัดกรองเด็กและเยาวชนนอกระบบ การศึกษาจังหวัดกาญจนบุรีใหก้ บั ภาคีเครอื ขา่ ยความร่วมมอื ในพนื้ ที่ 2. ในระดับพื้นที่ มีครู กศน.ตำบลลาดหญ้า (นางสาวชัญญ์ชนพร ชำนาญป่า) สังกัด กศน.อำเภอเมืองกาญจนบุรี เป็นทีมผู้จัดการรายกรณี (Case Manager : CM) ให้กับโครงการฯ เพื่อสำรวจ วิเคราะหป์ ญั หาความต้องของกลุ่มเปา้ หมายเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาในพ้ืนที่ที่มีอายุระหว่าง 2-21 ปี ในปี พ.ศ.2565 มีกลุ่มเป้าหมายของ กศส. ที่ต้องสำรวจในพื้นที่ตำบลลาดหญ้า จำนวน 598 ราย ซึ่งเป็น ข้อมูลที่ได้จาก Application : Thaioosc ผู้จัดการรายกรณี (CM) เมื่อพบกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ CM จะต้อง วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายเพื่อแยกประเภทการส่งต่อการช่วยเหลือใน 2 เรื่อง ดังนี้ 1) ถ้าเด็ก/เยาวชนที่มีอายุ อยู่ในวัยเรียนแต่ไม่อยู่ในระบบการศึกษาจะต้องนำเข้าสู่ระบบการศึกษา 2) ถ้าเด็ก/เยาวชนที่มอี ายุตามเกณฑ์ แต่ไม่ต้องการเรียน แต่สนใจการฝึกทักษะด้านอาชีพให้ส่งต่อโดยการให้ฝึกอาชีพตามที่ต้องการในพื้นที่ ข้อ 1) และ ขอ้ 2) จะมเี งนิ ชว่ ยเหลอื รายละ 4,000 บาท รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบุรี 20
ความก้าวหน้า และผลสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานตามนโยบาย ครู กศน.ตำบลลาดหญ้า ได้ดำเนินการสำรวจกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ครบ 598 ราย คิดเป็น 100% และนำเด็ก/เยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษาของ กศน.ตำบลลาดหญ้า ในหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดบั การศึกษาขัน้ นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 จำนวน 26 คน ไดแ้ ก่ ระดบั ประถมศึกษา จำนวน 2 คน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน 13 คน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 11 คน 2.1.2.1 สถานศึกษา กศน.อำเภอเมืองกาญจนบุรี (กศน.ตำบลลาดหญ้า) มีการ คน้ พบเด็กวัยเรียนท่ีหลดุ จากระบบการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน จำนวน 598 คน 2.1.2.2 การติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อยู่ใน การศึกษาภาคบังคบั จำนวน ไมม่ ี คน 2.1.2.3 การติดตามให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อายุเกิน 15 ปี จำนวน 26 คน 2.1.3 ปัญหาและอุปสรรค - ไม่มีการเชอื่ มโยง ช้แี จงทำความเขา้ ใจวิธีการปฏบิ ตั ิระหวา่ งหนว่ ยงานและพนื้ ท่ี 2.1.4 การแก้ไขปญั หาของหน่วยงาน/สถานศึกษา - เจ้าของโครงการควรมีการประชุมชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการ ทำงานในพน้ื ทเ่ี พิ่มมากข้นึ 2.1.5 ข้อเสนอเชงิ นโยบาย (ท่านมคี วามเหน็ ว่า ศธ.ควรมขี ้อส่งั การเพื่อขับเคลื่อนเรื่องน้หี รือ แก้ปัญหาอปุ สรรคดงั กล่าวอย่างไร) - ไมม่ ี 2.1.6 นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจาก ระบบการศึกษาและติดตามใหค้ วามช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษาของสถานศึกษาในสงั กดั ท่าน ที่เป็นต้นแบบ หรอื แบบอยา่ งทีด่ ี (Best Practice) จำนวน 1 ผลงาน (ถ้ามี นำเสนอในรูปแบบ Infographic 1 แผ่น) - ไมม่ ี รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบรุ ี 21
2.3 การสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาส และผ้เู รียนทีม่ ีความต้องการจำเปน็ พิเศษทง้ั ในและนอกระบบการศกึ ษา (สพฐ./สอศ./กศน./สช.) หมายเหตุ : ผู้เรียนกลุ่มเด็กพิการ จำแนกเป็น 9 ประเภท ได้แก่ 1) บกพรอ่ งทางการเหน็ 2) บกพร่องทางการได้ยิน 3) บกพร่องทางสติปัญญา 4) บกพร่องทางร่างกาย 5) บกพร่องทางการเรียนรู้ 6) บกพร่องทางการพูดและภาษา 7) บกพร่องทางพฤติกรรม อารมณ์ 8) บุคคลออทิสติก และ 9) บุคคลพิการ ซ้อน 2.3.1 หนว่ ยรบั ตรวจที่รายงานผลในนโยบายนี้ กศน. จำนวน 14 แห่ง จำแนกเปน็ 2.3.1.1 หนว่ ยงานการศกึ ษา จำนวน 1 แหง่ 2.3.1.2 สถานศกึ ษา จำนวน 14 แห่ง 2.3.2 สภาพการดำเนินงาน ความก้าวหน้า และผลสำเรจ็ ของการดำเนินงานตามนโยบาย สภาพการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สำนกั งาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ได้ดำเนินการจัดการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายคนพิการและผู้ด้อยโอกาส และผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็น พิเศษ ในกจิ กรรมต่าง ๆ มรี ายละเอียดดังนี้ 1. กลุ่มเป้าหมายคนพิการ สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี มีการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้กับนักศึกษา คนพิการ ในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 มลี งทะเบยี นเรยี น จำนวน 15 คน มีครูสอนผู้พกิ าร จำนวน 1 คน และมีนักศึกษาพกิ ารเรียนร่วมกับนกั ศึกษาปกติ จำนวน 1 คน มรี ายละเอยี ดดังนี้ ท่ี กศน.อำภอ ระดับการศึกษา ประเภทความพิการ รวม (คน) สติปญั ญา รา่ งกาย การมองเหน็ 1 ไทรโยค ประถมศกึ ษา 8 2 ทา่ มะกา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ (คน) (คน) (คน) 3 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 26 3 มัธยมศึกษาตอนปลาย 1 21 15 รวม 12 1 3 11 1 ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย มีนักศึกษา คาดว่าจะจบในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ในระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 1 คน 2. การจัดการศึกษาสำหรบั ผู้ดอ้ ยโอกาสทางการศึกษา สำหรับชุมชนพ้ืนที่สูงและ ในถิ่นทุรกันดาร เป็นการจัดการศึกษาในรูปแบบศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ให้กับกลุ่ม ชาติพันธุ์และผู้ที่อาศัยอยู่บนพื้นที่สูลและทุรกันดาร จำนวน 11 แห่ง ในอำเภอไทรโยค จำนวน 2 แห่ง อำเภอ รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี 22
ทองผาภูมิ จำนวน 3 แห่ง อำเภอสังขละบุรี จำนวน 4 แห่ง และอำเภอศรีสวัสดิ์ จำนวน 2 แห่ง มีข้าราชการครู พนักงานราชการ รับผดิ ชอบการจัดการเรยี นการสอน จำนวน 13 คน มีผเู้ รียนและผู้รับบรกิ ารรวมท้งั สิน้ 3,512 คน มีรายละเอยี ดดังน้ี ความก้าวหน้า และผลสำเรจ็ ของการดำเนินงานตามนโยบาย มีดงั นี้ 1. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ในระดบั ต่าง ๆ จำนวน 185 คน จำแนกได้ดงั นี้ ที่ กศน.อำเภอ ศศช. ระดับการศกึ ษา ม.ปลาย รวม 1 ไทรโยค ประถมศึกษา ม.ต้น 6 2 ทองผาภูมิ 4 10 1. บา้ นวังขะโดะ 1 3 10 16 3 สังขละบุรี 11 26 2. บ้านบอ้ งตี้น้อย 0 12 6 28 4 ศรสี วสั ด์ิ 18 12 รวม 1 15 35 37 10 77 3. บ้านปิล๊อกค่ี 8 9 9 21 9 26 4. บ้านขนนุ คลี่ 0 6 8 10 36 13 5. บ้านโบออ่ ง 1 18 4 70 4 8 รวม 9 33 8 4 89 12 6. บา้ นสาละวะ 0 11 185 7. บ้านไล่โว่ 1 16 8. บ้านทิไล่ปา้ 0 1 9. บา้ นปะไรโหนก 2 3 รวม 3 31 10.บ้านไกรเกรยี ง 4 0 11.บา้ นแสวงบา่ 0 0 รวม 4 0 รวมทั้งสิน้ 17 79 2. การจดั การศึกษาหลักสตู รผูไ้ ม่รูห้ นงั สือ จำนวน 295 คน จำแนกได้ดังนี้ ที่ กศน.อำเภอ ศศช. รวม ผู้เรียน 1 ไทรโยค 1. บ้านวังขะโดะ 30 2. บ้านบอ้ งตีน้ อ้ ย 16 2 ทองผาภูมิ 46 3. บา้ นปิล๊อกค่ี 22 รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี 23
ท่ี กศน.อำเภอ ศศช. ผเู้ รียน 3 สังขละบรุ ี 4. บา้ นขนนุ คล่ี 25 4 ศรีสวัสด์ิ 5. บา้ นโบออ่ ง 22 69 รวม 35 6. บา้ นสาละวะ 30 7. บ้านไล่โว่ 20 8. บ้านทไิ ลป่ ้า 25 9. บา้ นปะไรโหนก 110 35 รวม 35 10.บา้ นไกรเกรียง 70 11.บ้านแสวงบา่ 295 รวม รวมทั้งสนิ้ 3. การจัดการศึกษาต่อเนื่อง ในกิจกรรมต่าง ๆ จำนวน 855 คน จำแนกได้ ดังนี้ ที่ กศน. ศศช. ดา้ น กจิ กรรม ดา้ นการ รวม อำเภอ สุขภาพ อนุรกั ษ์ 1. บา้ นวังขะโดะ อนามัย ด้านการ ดา้ นประเพณี ทรัพยากร 74 1 ไทรโยค 2. บา้ นบอ้ งตี้น้อย พฒั นา และ ธรรมชาติ 50 17 อาชีพ วฒั นธรรม 124 2 ทองผาภูมิ รวม 10 18 64 3. บา้ นปิล๊อกค่ี 27 9 30 10 80 3 สังขละบรุ ี 4. บา้ นขนุนคล่ี 16 18 12 28 42 5. บา้ นโบอ่อง 20 27 42 16 186 0 16 16 20 117 รวม 36 20 20 17 89 6. บ้านสาละวะ 39 7 18 53 75 7. บ้านไลโ่ ว่ 17 43 54 19 109 8. บา้ นทไิ ล่ปา้ 15 41 18 17 9. บา้ นปะไรโหนก 31 37 18 15 15 30 31 16 31 รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี 24
4 ศรสี วสั ดิ์ รวม 102 109 97 82 390 10.บ้านไกรเกรียง 16 16 16 34 82 11.บา้ นแสวงบ่า 15 23 20 15 73 31 39 36 49 155 รวม 196 218 229 212 855 รวมท้ังสิ้น 4. การจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย ในบ้านหนังสือชมุ ชน และแหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ มีผรู้ ับบรกิ าร จำนวน 2,177 คน จำแนกได้ดังนี้ ท่ี กศน.อำเภอ ศศช. ผรู้ ับบริการการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 1 ไทรโยค 1. บ้านวงั ขะโดะ 126 2 ทองผาภูมิ 2. บ้านบ้องตีน้ ้อย 180 306 3 สงั ขละบรุ ี รวม 360 3. บา้ นปลิ ๊อกคี่ 50 4 ศรีสวสั ด์ิ 4. บ้านขนุนคล่ี 320 5. บา้ นโบออ่ ง 730 168 รวม 130 6. บ้านสาละวะ 50 7. บ้านไลโ่ ว่ 50 8. บา้ นทิไลป่ ้า 398 9. บา้ นปะไรโหนก 378 365 รวม 743 10.บ้านไกรเกรยี ง 2,177 11.บา้ นแสวงบ่า รวม รวมทั้งสิ้น 3. การจัดการศึกษาร่วมกับกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 13 ค่ายพระพุทธยอดฟ้า ในโครงการศูนย์ฝึกอาชีพนักเรียนเก่า โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กองกำกับการ ตำรวจตระเวนชายแดนภาค 1 (ศอน.บก.ตชด.ภาค 1) วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เด็กที่จบการศึกษาจากใน โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนแลว้ มปี ญั หาดา้ นทนุ ทรัพย์ ปัญหาระยะทางการคมนาคมหา่ งไกลได้ศกึ ษาต่อใน ระดบั ท่สี ูงข้ึน ในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายกบั กศน. รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาญจนบรุ ี 25
ความกา้ วหน้า และผลสำเร็จของการดำเนนิ งานตามนโยบาย มกี ารดำเนินการจัด กิจกรรมดังกล่าวในพื้นที่ของ กศน.อำเภอพนมทวน มีนักศึกษาในโครงการฯ เข้ารับการศึกษาในหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ทั้งสนิ้ 29 คน ประกอบด้วย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 18 คน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 11 คน มีนักศึกษาที่คาดว่าจะจบในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 9 คน ประกอบด้วย นักศึกษาระดับ มธั ยมศึกษาตอนต้น จำนวน 5 คน และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 4 คน 4. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเด็กป่วยในโรงพยาบาล ร่วมกับมูลนิธิ เทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย ในส่วนท่ี เกี่ยวข้องกับสำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี มีการจัดในโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา โดย กศน.อำเภอ เมืองกาญจนบรุ ี ได้มอบหมายใหค้ รูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียนดำเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ดู ้วยการ วาดรูป ให้กับเดก็ ป่วยในโรงพยาบาล จำนวน 27 คน 2.3.3 ปญั หาและอุปสรรค - ไมม่ ี 2.3.4 การแก้ไขปญั หาของหน่วยงาน/สถานศึกษา - ไมม่ ี 2.3.5 ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย (ท่านมีความเห็นว่า ศธ.ควรมขี ้อส่งั การเพื่อขับเคลอ่ื นเร่ืองนห้ี รอื แก้ปญั หาอปุ สรรคดงั กลา่ วอย่างไร) - ไมม่ ี 2.3.6 นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการสร้างโอกาสและการเข้าถึง การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาสและ ผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งใน และนอกระบบการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดท่าน ที่เป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) จำนวน 1 ผลงาน (นำเสนอในรปู แบบ Infographic 1 แผ่น) - ไมม่ ี รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบรุ ี 26
นโยบายที่ 3 ดา้ นความรว่ มมอื 3.2 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย โดยการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และสร้างการ เรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาทักษะอาชีพ โดยการเพิ่มพูนทักษะ (Re-skill) พัฒนาทักษะ (Up skill) และการเรียนรู้ทักษะใหม่ (New skills) (สพฐ./สอศ./กศน./สช.) 3.2.1 หน่วยรับตรวจทรี่ ายงานผลในนโยบายนี้ กศน. จำนวน 14 แห่ง จำแนกเปน็ 3.2.1.1 หนว่ ยงานการศึกษา จำนวน 1 แหง่ 3.2.1.2 สถานศึกษา จำนวน 13 แห่ง 3.2.2 สภาพการดำเนนิ งาน ความกา้ วหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย 3.2.2.1 ดา้ นหลักสูตร สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี มีหลักสูตรการเพิ่มพูนทักษะอาชีพ (Re Skill) การฝึกทักษะอาชีพเพื่อการมีงานทำสำหรับประชาชนผู้ที่ได้ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตามที่สำนักงาน กศน.กำหนด จำนวน 3 หลักสูตร คือ การทำเครื่องดื่มเพื่อ สขุ ภาพ การปลกู พชื สมนุ ไพรพ้นื บ้านฟา้ ทะลายโจรและขมิ้นชนั 3.2.2.2 ดา้ นกระบวนการพัฒนา ในเรื่องการพัฒนาทักษะอาชีพ (Up skill) ภายใต้โครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน ซึ่งเป็นโครงการหนึ่งในกิจกรรมที่ตอบสนองนโยบายการขับเคลื่อน กศน.สู่ กศน.WOW ของรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางกนกวรรณ วิลาวัลย์) ด้านที่ 5 การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย (Good Innovation) ให้จัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ กศน. เพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์/บริการของสำนักงาน กศน. มีการ ดำเนินการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี ส่งเสริมช่องทางการจำหน่ายสินค้าเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ประชาชน กล่มุ เปา้ หมายท่ีผ่านการฝกึ อาชีพจากโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สำนกั งาน กศน.มีนโยบายให้สำนกั งาน กศน. จงั หวดั คัดเลอื กผลติ ภณั ฑ์สนิ คา้ /บริการ กศน.ดีเดน่ และ กศน.พรเี ม่ยี ม ของประชาชนกลุม่ เปา้ หมายที่ผ่านการ ฝึกอาชีพจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ที่สร้างอาชีพ มีรายได้ให้ตนเอง หรือรวมกลุม่ เป็นวิสาหกิจชุมชน ซึ่งสำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ได้ดำเนินการคดั เลือกผลติ ภัณฑ์สินค้า/ บริการ กศน.ดีเด่น จำนวน 10 รายการและ กศน.พรีเมี่ยม จำนวน 3 รายการ โดยได้รับการอนุเคราะห์ กรรมการจากพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี ผู้แทนหอการค้าจังหวัดกาญจนบุรี และประธานชมรมธุรกิจ ออนไลน์จงั หวดั กาญจนบุรี เรยี งตามลำดบั ดงั นี้ รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาญจนบรุ ี 27
ที่ กศน.อำเภอ รายการผลติ ภณั ฑ์ ผลการคดั เลอื กผลิตภณั ฑ์ กศน.ดีเดน่ กศน.พรีเมย่ี ม 1 ท่าม่วง กระถางสวยดว้ ยเส้นกระดาษ 2 เมืองกาญจนบุรี ผลติ ภณั ฑ์เดคพู าจบนเส้นพลาสตกิ 3 ศรีสวสั ด์ิ ผลิตภัณฑ์มลู ไสเ้ ดือน 4 เมอื งกาญจนบรุ ี ผลิตภณั ฑ์ผา้ มดั ยอ้ มฝาง 5 เลาขวญั ผลติ ภัณฑก์ ระเป๋าถักจากผักตบชวา 6 ไทรโยค ผลติ ภัณฑส์ บ่สู มุนไพร 7 สังขละบรุ ี ผลติ ภณั ฑช์ าใบกาแฟ ตรากระเหรย่ี ง 8 ทองผาภูมิ ผลติ ภัณฑย์ า่ มกระเหร่ียง 9 ทา่ ม่วง ผลติ ภณั ฑ์ถงุ ใส่แกว้ เยติ 10 ท่ามะกา ผลติ ภัณฑ์จากกระปอ๋ งเครอื่ งดืม่ 3.2.3 ปญั หาและอุปสรรค 3.2.3.1 ด้านครผู ้สู อน - ไม่มี 3.2.3.2 ดา้ นการบริหารจัดการ - ไมม่ ี 3.2.3.3 ด้านสือ่ วสั ดุอปุ กรณ์ - ไม่มี 3.2.3.4 ด้านอ่นื ๆ - ไม่มี 3.2.4 การแก้ไขปญั หาของหน่วยงาน/สถานศึกษา1 - ไมม่ ี 3.2.5 ขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย (ท่านมีความเหน็ วา่ ศธ.ควรมขี ้อสงั่ การเพ่ือขับเคลอื่ นเรื่องนห้ี รอื แกป้ ญั หาอปุ สรรคดังกลา่ วอย่างไร) - ไม่มี 3.2.6 นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศกึ ษาในสังกดั ทา่ น ที่เป็นต้นแบบหรือแบบอย่างท่ีดี (Best Practice) จำนวน 1 ผลงาน (นำเสนอใน รูปแบบ Infographic 1 แผน่ ) - ไม่มี รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบุรี 28
นโยบายที่ 4 ด้านเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา 4.1 การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่ เน้นการมสี ่วนรว่ ม และการสง่ เสริมการฝึกทกั ษะดิจทิ ัลในชีวติ ประจำวัน (สพฐ./สอศ./กศน./สช.) 4.1.1 หนว่ ยรับตรวจทรี่ ายงานผลในนโยบายนี้ กศน. จำนวน 14 แห่ง จำแนกเป็น 4.1.1.1 หนว่ ยงานการศกึ ษา จำนวน 1 แหง่ 4.1.1.2 สถานศกึ ษา จำนวน 13 แห่ง 4.1.2 สภาพการดำเนนิ งาน ความกา้ วหน้า และผลสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานตามนโยบาย 4.1.2.1 การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใช้ในการจัดการศกึ ษาทุกระดับ การศึกษาที่เน้นการมีสว่ นรว่ ม และการสง่ เสรมิ การฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวนั 4.1.2.2 รูปแบบการจดั การเรียนการสอนของสถานศึกษาภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ ระบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี และสถานศึกษาในสังกัด มีนโยบาย ส่งเสริมให้ครู กศน.เลือกใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่อย่างหลากหลายมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนตามบริบทของ พน้ื ที่ กิจกรรม และกลมุ่ เปา้ หมาย รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนของสถานศกึ ษาในช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 เช่น 1. การออกแบบการเรียนรู้โดยให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลทางโทรศัพท์มือถือ ผา่ น Application หรอื แพลตฟอร์มตา่ ง ๆ เชน่ Google, E-Book, Guide App เปน็ ตน้ 2. การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ การสร้างห้องเรียน ผ่านแพลตฟอร์ม Google Meet, Google Classroom, Line, Facebook เป็นต้น 3. จัดให้มีการสอบออนไลน์ เพือ่ วัดผลสมั ฤทธป์ิ ลายภาคในรายวิชาเลือกเสรี การเก็บคะแนนระหวา่ งภาค เปน็ ต้น 4.1.3 ปญั หาและอุปสรรค 4.1.3.1 ด้านครูผ้สู อน - ไม่มี 4.1.3.2 ด้านผู้เรียน - ไม่มี 4.1.3.3 ด้านสื่อ วัสดอุ ุปกรณ์ - ไม่มี 4.1.3.4 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ - ไม่มี รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบุรี 29
4.1.3.5 ดา้ นอ่ืน ๆ - ไม่มี 4.1.4 การแก้ไขปญั หาของหน่วยงาน/สถานศกึ ษา - ไมม่ ี 4.1.5 ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย (ท่านมคี วามเห็นวา่ ศธ.ควรมีข้อสั่งการเพ่ือขบั เคลื่อนเรื่องนี้หรอื แกป้ ัญหาอปุ สรรคดังกลา่ วอย่างไร) - ไม่มี 4.1.6 นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัล ในชีวิตประจำวันของสถานศึกษาในสังกัดท่าน ที่เป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) จำนวน 1 ผลงาน (นำเสนอในรูปแบบ Infographic 1 แผน่ ) - ไมม่ ี รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี 30
การติดตามความก้าวหน้าเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ในประเด็นเร่งด่วนตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ---------------------- *1. โครงการ “พาน้องกลับมาเรียน” (กศน.) 1) สภาพการดำเนินงาน ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย สภาพการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ได้ดำเนินการตามหนังสือ สำนกั งาน กศน. ดว่ นท่สี ดุ ที่ ศธ 0210.135/443 ลงวันที่ 24 มกราคม 2565 เรือ่ ง ปรับปรงุ ข้อมูลนักศึกษาตก หล่น ตามโครงการนโยบาย “พาน้องกลับมาเรียน” กระทรวงศึกษาธิการ โดยแจ้งให้หน่วยงานดำเนินการ ตรวจสอบและระบุสาเหตุที่นักศึกษาไม่ลงทะเบียนเ รียนในภาคเรียนที่ 2/2564 ผ่านเว็บไซต์ URL:http://203.159.251.2172stu_dropout/ ทั้งนี้ ได้ให้สถานศึกษาในสังกัด ศึกษาคู่มือการใช้งานระบบ ปรับปรุงข้อมูลสถานะนักศึกษาตกหล่น ภาคเรียนที่ 2/2564 และให้สถานศึกษาทุกแห่งดำเนินการตรวจสอบ ข้อมลู ให้แลว้ เสรจ็ ภายในวันท่ี 27 มกราคม 2565 โดยได้ใหด้ ำเนนิ การตรวจสอบจำนวนกลุ่มเป้าหมายนักศึกษา ตกหลน่ ตามโครงการนโยบาย “พาน้องกลบั มาเรียน” กระทรวงศึกษาธิการ ทเ่ี ป็นนักศึกษาลงทะเบียนเรียนใน ภาคเรยี นที่ 1/2564 แต่ไมพ่ บขอ้ มูลการลงทะเบียนในภาคเรยี นท่ี 2/2564 ของนักศึกษาทุกระดับ จากข้อมูลท่ี ไดใ้ นเว็ปไซต์ จำนวนทัง้ สน้ิ 856 คน ประกอบดว้ ย 1) ระดับประถมศกึ ษา จำนวน 13 คน 2) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน 387 คน 3) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 456 คน ผลการดำเนินการตรวจสอบนักศึกษา กศน.กลุ่มดังกล่าว จำนวน 856 คน ปรากฏ เปน็ นกั ศกึ ษาทจี่ บหลักสูตร จำนวน 504 คน กำลังศึกษา จำนวน 11 คน และรกั ษาสถานภาพ จำนวน 303 คน คงเหลือนักศึกษาท่ีตกหลน่ หรอื ไมล่ งทะเบียนเรียนในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 38 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2565) มรี ายละเอยี ดดังน้ี 1) ศึกษาตอ่ ทอี่ ่ืน จำนวน 16 คน 2) หมดสภาพ จำนวน 14 คน 3) ยา้ ยทอ่ี ยูอ่ าศยั จำนวน 1 คน 4) ลาออก จำนวน 3 คน 5) ไม่พบตัวตน จำนวน 4 คน เมอ่ื วนั ที่ 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 สำนกั งาน กศน. โดยกลุ่มเทคโนโลยีดิจทิ ลั และสารสนเทศ จัดประชมุ มอบนโยบายและชี้แจงแนวทางการดำเนนิ งานตดิ ตามคน้ หาผเู้ รียน กศน. โครงการเสรมิ สร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา “พาน้องกลับมาเรียน” ของสำนักงาน กศน. ตามนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ.2565 ผ่านทางออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Teams โดย เลขาธิการ รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี 31
กศน. ทั้งนี้ ในส่วนของการใช้งาน Application “พาน้องกลับมาเรียน” ในระดับสำนักงาน กศน.จังหวัด สามารถใชง้ านได้เม่ือวันที่ 3 มีนาคม 2565 โดยมีเปา้ หมายที่สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรีต้องดำเนินการ ทงั้ สิน้ 325 คน (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 24 กุมภาพนั ธ์ 2565) สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ได้รายชื่อกลุ่มเหมาย 325 คน ใน Application “พาน้องกลับมาเรียน” โดยนำข้อมูลมาจำแนกสถานะของกลุ่มเป้าหมาย และส่งข้อมูลให้สถานศึกษา ดำเนนิ การตรวจสอบความถูกต้องว่าเปน็ นักศกึ ษาของสถานศึกษาหรือไม่ และใหส้ ถานศึกษาจำแนกข้อมูลเป็น รายตำบล เพอ่ื นำข้อมลู มาเขา้ ที่ประชุม (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 3 มีนาคม 2565) ไดด้ งั นี้ 1) รักษาสถานภาพ จำนวน 303 คน 2) หมดสภาพ จำนวน 14 คน 3) ยา้ ยทอ่ี ยอู่ าศยั จำนวน 1 คน 4) ลาออก จำนวน 3 คน 5) ไมพ่ บตวั ตน จำนวน 4 คน ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย ในส่วนของสำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี จะดำเนินการจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานโครงการนโยบาย “พาน้อง กลับมาเรียน” กระทรวงศึกษาธิการ ให้กับผู้บริหารสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง ในวันที่ 10 มีนาคม 2565 เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุมสำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถานศึกษา แต่ละแห่งดำเนินการสรุปผลการติดตามกลุ่มเป้าหมายตามโครงการนโยบาย “พาน้องกลับมาเรียน” กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ให้แล้วเสร็จภายในวันท่ี 20 มีนาคม 2565 มีสถานศึกษาท่ีต้องดำเนินการดังนี้ จำแนกสถานะ ที่ กศน.อำเภอ หมด รักษา ย้ายที่อยู่ ลาออก ไม่พบ รวม สภาพ สถานภาพ อาศัย ตัวตน 305 1 เมืองกาญจนบุรี 302 3 4 15 2 2 ท่าม่วง 11 4 1 1 3 ท่ามะกา 1 1 1 325 4 ไทรโยค 1 5 สังขละบุรี 1 6 ห้วยกระเจา 1 รวม 14 303 1 3 รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี 32
แผนการดำเนินงานในระดับจังหวัด 1. หลังจากประชุม (วันที่ 10 มีนาคม 2565) สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี จะดำเนินการแต่งต้ังคณะทำงานโครงการเสริมสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษา “พานอ้ งกลับมาเรียน” ของสำนักงาน กศน. ในระดับจงั หวัด 2. กำหนดการเก็บข้อมูลและบันทึกข้อมูลใน Application “พาน้องกลับมาเรียน” ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของการจดั เกบ็ ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในวนั ท่ี 20 มีนาคม 2565 2) ปัญหาและอุปสรรค - ไมม่ ี 3) วิธีการแก้ไขปัญหา - ไม่มี 4) ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย - ไม่มี รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาญจนบรุ ี 33
*2. โครงการ “กศน.ปักหมุด” (กศน.) 1) สภาพการดำเนินงาน ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย สภาพการดำเนินงาน 1.1) ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ผู้บริหารสถานศึกษาทุกแห่ง และบุคลากรที่ทำหน้าที่จัดการเรียนการสอน ได้รับทราบจากนโยบายของสำนักงาน กศน. ผ่านการประชุม ปฏบิ ตั ิการ กศน.ปกั หมดุ เพอ่ื สร้างโอกาสทางการศึกษาสำหรบั คนพกิ ารและผู้ด้อยโอกาส เม่อื วันท่ี 2 ธันวาคม 2564 ผา่ นระบบ Zoom Meeting โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อชี้แจงการสำรวจข้อมูลคนพิการอายุ 18 ปีขึ้นไปท่ียัง ไมไ่ ดร้ บั การศกึ ษา เพอื่ เปน็ ฐานข้อมลู การจัดการศึกษาให้คนพิการและผู้ด้อยโอกาสอยา่ งท่ัวถึงและเสมอภาค 1.2) สำนักงาน กศน. โดยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุ่มเป้าหมายพิเศษ ดำเนินการจัดทำคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สป 793/2564 ลงวันที่ 11 พฤศจิกายน 2564 เรื่อง แต่งต้งั คณะกรรมการขบั เคล่ือนนโยบายการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ โดยแต่งตั้งผู้อำนวยการ สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบรุ ี เปน็ คณะทำงานในระดับจังหวดั นำร่อง ความก้าวหน้า และผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ในฐานะประธานกลุ่มสำนักงาน กศน.จังหวัด กลุ่มท่าจีนถิ่นแม่กลอง และเป็นจังหวัดนำร่อง 1 ใน 18 จังหวัดทั่วประเทศ ในการขับเคลื่อนนโยบายการจัด การศึกษาสำหรับคนพิการ ตามโครงการ กศน.ปักหมุด เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาสำหรับคนพิการและ ผดู้ ้อยโอกาส ในระดบั จงั หวัด ดงั น้ี 1) ดำเนินการปฏิบัติการจัดเก็บข้อมูลคนพิการในจังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 901 คน (ขอ้ มูลคนพิการ ได้จากกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์) ตามแบบติดตามและสำรวจความ ต้องการของผู้ขาดโอกาสทางการศึกษาและผู้พิการ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 7 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูล ท่ัวไป ส่วนท่ี 2 ประเภทของกลมุ่ เป้าหมาย สว่ นท่ี 3 ขอ้ มูลเกยี่ วกบั ครอบครวั ส่วนท่ี 4 ขอ้ มูลดา้ นสขุ ภาพ ส่วน ที่ 5 ข้อมูลด้านการสงเคราะห์ ส่วนที่ 6 ความต้องการความช่วยเหลือทางการศึกษาและอาชีพ และส่วนที่ 7 เอกสารและหลักฐานของกลุ่มเป้าหมาย โดยมอบหมายให้ครู กศน.ตำบลทุกคน จำนวน 98 ตำบล ดำเนินการ จัดเกบ็ ระยะที่ 1 เปน็ เวลา 10 วนั 2) คัดเลือกตัวแทนสถานศึกษา ๆ ละ 1 คน และผู้รับผิดชอบงาน จำนวน 1 คน ปฏิบัติ หน้าท่ี admin ระดับอำเภอ/จังหวัด เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการจัดทำฐานข้อมูลคนพิการในการขับเคลื่อน นโยบายการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ อายุ 18 ปีขึ้นไปที่ไม่ได้อยู่ในระบบการศึกษา เพื่อเป็นฐานข้อมูลใน การจัดการศกึ ษาให้คนพิการและผู้ดอ้ ยโอกาสอยา่ งท่วั ถึงและเสมอภาค ระหว่างวนั ท่ี 13-17 ธันวาคม 2564 ณ โรงแรมเจริญธานี จังหวดั ขอนแกน่ บันทกึ ขอ้ มูลตามขอ้ 1) ผา่ นระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ CAPER 3) การจัดเก็บข้อมูลระยะที่ 2 วันที่ 22 ธันวาคม 2564 เป็นการชี้แจงข้อที่พบจากการ จัดเก็บข้อมูลระยะที่ ๑ และข้อพบจากผู้บันทึกข้อมูลที่ได้จัดทำผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ CAPER ใหค้ รู กศน.ตำบลทกุ คนทราบ วัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื ปรับปรุงขอ้ มูลให้ครบถ้วน ถูกต้อง สมบรู ณ์ ผา่ นระบบ Google Meet และมอบหมายให้ดำเนินการลงพ้ืนที่เพื่อตรวจสอบและจัดทำข้อมูลใน 7 ส่วนให้ครบถ้วน สมบูรณ์ รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี 34
พร้อมบันทึกข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 23-27 ธันวาคม 2564 เป็นเวลา 5 วัน และรายงานผลการดำเนินงานให้ สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบรุ ีทราบ 4) สรุปผลการตรวจสอบจัดเก็บข้อมูลผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ CAPER มีคน พิการในจงั หวัดกาญจนบรุ ีรวมท้งั ส้นิ 920 คน สรปุ ได้ดงั น้ี 4.1) ผู้พิการที่พบตัวตนในพื้นที่ ไม่พบความพิการ และไม่ได้รับการศึกษา จำนวน 723 คน 4.2) ไมพ่ บตวั ตน (139 คน) และเสยี ชวี ติ (43 คน) จำนวน 182 คน 4.3) ปจั จบุ นั พิการเปน็ นักศึกษา กศน. จำนวน 15 คน 5) สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ในฐานะประธานกลุ่มสำนักงาน กศน.จังหวัด กลุ่มท่าจีนถิ่นแม่กลอง มีการขยายผลการเก็บข้อมูลในจังหวดั ที่อยู่ในกลุ่มท่าจีนถ่ินแม่กลอง อีก 2 จังหวัด คือ จังหวัดราชบุรี และสุพรรณบุรี โดยมีการประชุมชี้แจงการเก็บข้อมูลตามแบบติดตามและสำรวจความต้องการ ของผู้ขาดโอกาสทางการศึกษาและผู้พิการ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 7 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 ประเภทของกลุ่มเป้าหมาย ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับครอบครัว ส่วนที่ 4 ข้อมูลด้านสุขภาพ ส่วนที่ 5 ขอ้ มูลด้านการสงเคราะห์ สว่ นที่ 6 ความต้องการความช่วยเหลือทางการศึกษาและอาชีพ และสว่ นท่ี 7 เอกสาร และหลักฐานของกลุ่มเป้าหมาย ให้กับผู้บริหารสถานศึกษา ครู กศน.ตำบล และผู้เกี่ยวข้องทราบ เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565 และให้ดำเนินการเก็บข้อมูลในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565 ถึงวันที่ 10 มีนาคม 2565 และ จะดำเนินการขยายผลการกรอกข้อมูลในโปรแกรมระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ CAPER ไปยังสำนักงาน กศน. จังหวัดราชบุรี วันที่ 17 มีนาคม 2565 และสำนักงาน กศน.จังหวัดสุพรรณบุรี วันที่ 18 มีนาคม 2565 ทั้งน้ี การกรอกขอ้ มูลในโปรแกรมระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ CAPER และตรวจสอบความสมบรู ณ์ ครบถ้วน ถูกตอ้ ง ใหแ้ ล้วเสร็จในวันที่ 31 มีนาคม 2565 2) ปัญหาและอุปสรรค โปรแกรมระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ CAPER ที่สำนักงาน กศน.ใช้อยู่ในปัจจุบันเป็น ของศูนย์การศึกษาพิเศษ จังหวัดกาฬสินธ์ุ ทำให้ข้อมูลบางส่วนไม่สามารถใช้กับกลุ่มเป้าหมาย กศน.ได้ 3) วิธีการแก้ไขปัญหา สำนักงาน กศน. เร่งปรับปรุง/พัฒนาโปรแกรมระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ CAPER ให้ เป็นของ กศน. 4) ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย - ไม่มี รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี 35
คณะทำงาน ทป่ี รึกษา นายธิตพิ นธ์ ระลอกแกว้ ผู้อำนวยการสำนกั งาน กศน.จังหวดั กาญจนบุรี และผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาในสังกัด ผใู้ ห้ขอ้ มูล นายโกวิท เมอื งโคตร นักวชิ าการศกึ ษา นายอธพิ นั ธ์ ตรวจนอก นักเทคโนโลยสี ารสนเทศ นางสาวพมิ พ์พิศา ตะเพียนทอง นกั จัดการงานทัว่ ไป นางสาวศลิษา ฉมิ พงษ์ นักจดั การงานท่ัวไป นางสาวปรติ า ดวงผาสุข นกั เทคโนโลยีสารสนเทศ นางสาวศนั สนยี ์ ประกายวิชากุล นกั วชิ าการศกึ ษา วเิ คราะห์/สรปุ /เรยี บเรียง/พิมพ์ นางสาวชยะวดี อนิ สมภักษร ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ นางสาวนิตยา ถน่ิ ทงุ่ ทอง ครูศูนย์การเรียนชมุ ชน VTR นายบุญญฤทธิ์ พฒุ ซอ้ น ครู กศน.ตำบลบา้ นเกา่ นางสาวชัญญช์ นพร ชำนาญปา่ ครู กศน.ตำบลลาดหญา้ ปก นางสาวนิรมล แก้วกญั หา นักจัดการงานท่ัวไป รายงานผลการดำเนนิ งานตามนโยบายการตรวจราชการ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี 36
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: