Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001 ประถม

เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001 ประถม

Published by nanthintungtong06, 2019-11-01 05:04:27

Description: เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001 ประถม

Search

Read the Text Version

หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง (ทช11001) ระดับประถมศกึ ษา (ฉบับปรับปรงุ 2560) หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 หามจาํ หนาย หนังสือเรยี นเลมนี้ จัดพมิ พด วยเงินงบประมาณแผน ดนิ เพอ่ื การศึกษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน ลขิ สิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวิต รายวิชา เศรษฐกิจพอเพยี ง (ทช11001) ระดบั ประถมศกึ ษา ฉบับปรบั ปรุง 2560 ลิขสทิ ธิเ์ ปน ของ สํานกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสารทางวชิ าการลาํ ดับท่ี 18/2555

คาํ นํา กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เมือ่ วันท่ี 18 กนั ยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑและวธิ กี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญาและ ความเชื่อพ้นื ฐานในการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี นทีม่ กี ลมุ เปา หมายเปน ผใู หญมีการเรยี นรแู ละส่งั สมความรู และประสบการณอยา งตอ เนอ่ื ง ในปง บประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธกิ ารไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อนนโยบาย ทางการศกึ ษาเพอ่ื เพ่มิ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพท่ีสามารถสราง รายไดท่ีมั่งค่ังและม่ันคง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึก รับผิดชอบตอ ตนเองและผอู ื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพ จิ ารณาทบทวนหลกั การ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการ เรียนรูท่ีคาดหวัง และเน้ือหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิ่มและสอดแทรกเนื้อหาสาระเกี่ยวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอมเพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาท่ีมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติ กจิ กรรม ทาํ แบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปลยี่ นเรยี นรกู บั กลมุ หรือศกึ ษา เพม่ิ เติมจากภูมปิ ญญาทอ งถน่ิ แหลง การเรยี นรูและสื่ออ่นื การปรบั ปรงุ หนังสือเรียนในคร้งั น้ี ไดร บั ความรว มมอื อยางดีย่งิ จากผทู รงคณุ วุฒใิ นแตละสาขาวิชา และผเู กีย่ วขอ งในการจดั การเรยี นการสอนทีศ่ ึกษาคนควา รวบรวมขอ มูลองคความรูจากสื่อตาง ๆ มาเรียบ เรยี งเนื้อหาใหค รบถวนสอดคลอ งกบั มาตรฐาน ผลการเรยี นรูท ีค่ าดหวงั ตัวช้ีวดั และกรอบเนื้อหาสาระของ รายวชิ า สาํ นกั งาน กศน.ขอขอบคุณผูม ีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวาหนังสือเรียนชุดน้ี จะเปนประโยชนแ กผ ูเรียน ครู ผูสอน และผเู กย่ี วของในทกุ ระดบั หากมขี อ เสนอแนะประการใด สํานักงาน กศน.ขอนอมรบั ดวยความขอบคุณยงิ่

สารบัญ หนา คาํ นํา 1 คาํ แนะนาํ ในการใชห นงั สือเรียน 8 โครงสรางรายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง 14 บทท่ี 1 เศรษฐกจิ พอเพียง รากฐานการดาํ เนินชวี ติ ของคนไทย 25 บทที่ 2 ปฏิบตั ติ นดี มคี วามพอเพียง 35 บทที่ 3 รใู ช รจู าย บทท่ี 4 ชีวติ สดใส พอใจเศรษฐกจิ พอเพียง บทที่ 5 การประกอบอาชพี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือใหเกดิ ความม่ันคง มัง่ ค่ังและยั่งยืน แบบทดสอบหลังเรียน บรรณานุกรม คณะผูจัดทํา

คําแนะนาํ ในการใชหนังสอื เรียน หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศึกษา เปน หนังสอื เรยี นทจี่ ัดทําขนึ้ สาํ หรบั ผเู รียนทเ่ี ปนนกั ศกึ ษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนังสอื เรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ผูเรียนควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวิชาใหเ ขา ใจในหัวขอ สาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวังและขอบขา ย เน้อื หา 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตล ะบทอยา งละเอียดและทํากิจกรรมตามท่ีกําหนดแลว ตรวจสอบกบั แนวตอบกิจกรรมท่กี าํ หนด ถา ผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเน้ือหา น้ันใหมใหเ ขาใจกอ นที่จะศึกษาเรื่องตอไป 3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมทายเร่อื งของแตละเรอื่ ง เพื่อเปน การสรปุ ความรู ความเขาใจของเนือ้ หาในเรื่อง นั้น ๆ อีกคร้งั และการปฏบิ ตั ิกิจกรรมของแตละเน้ือหาแตละเรอื่ ง ผเู รียนสามารถนําไปตรวจสอบกบั ครแู ละ เพือ่ น ๆ ทรี่ วมเรียนในรายวชิ าและระดบั เดียวกนั ได 4. หนงั สอื เรียนเลม นี้มี 5 บทคือ บทท่ี 1 เศรษฐกจิ พอเพยี ง รากฐานการดําเนินชีวติ ของคนไทย บทที่ 2 ปฏบิ ัตติ นดี มคี วามพอเพยี ง บทที่ 3 รูใช รูจาย บทที่ 4 ชวี ิตสดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพียง บทที่ 5 การประกอบอาชีพตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพือ่ ใหเกดิ ความม่นั คง มัง่ ค่งั และยั่งยนื

โครงสรางรายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั ประถมศึกษา (ทช11001) สาระสาํ คัญ เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน ปรัชญาทพ่ี ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รชั กาลท9ี่ ) ทรงพระราชดาํ รัสชแี้ นะแนวทางการดํารงอยแู ละการปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดับใหด ําเนินชีวิตไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่ือใหก า วทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปน ที่จะตอ งมีระบบภูมิคุม กันในตัวท่ีดี พอสมควรตอผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลย่ี นแปลงทั้งภายนอกและภายใน ท้ังน้ี จะตอ งอาศัยความ รอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยางย่ิงในการนําวิชาการตา ง ๆ มาใชใ นการวางแผนและ ดาํ เนินการทุกขัน้ ตอน และขณะเดยี วกนั จะตองเสริมสรา งพน้ื ฐานจิตใจของคนในชาตใิ หม ีสํานึกในคุณธรรม ความซือ่ สัตยสจุ รติ และใหม คี วามรอบรูท ีเ่ หมาะสมดําเนนิ ชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มสี ตปิ ญญาและ ความรอบคอบ เพอ่ื ใหส มดลุ และพรอ มตอการรองรับการเปล่ยี นแปลงอยางรวดเรว็ และกวางขวาง ท้ังดาน วัตถุ สังคม สงิ่ แวดลอมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปน อยา งดี ผลการเรยี นรูทคี่ าดหวงั 1. อธบิ ายแนวคิด หลกั การ ความหมาย ความสาํ คญั ของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได 2. บอกแนวทางในการนําปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใชในการดาํ เนินชีวติ 3. เหน็ คณุ คา และปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4. แนะนาํ สง เสริมใหส มาชกิ ในครอบครัวเหน็ คุณคา และนาํ ไปปฏิบตั ใิ นการดําเนนิ ชวี ิต 5. บอกแนวทางและสามารถเริ่มตน ประกอบอาชพี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได ขอบขา ยเนอื้ หา บทที่ 1 เศรษฐกจิ พอเพยี ง รากฐานการดาํ เนนิ ชวี ติ ของคนไทย บทที่ 2 ปฏบิ ัติตนดี มคี วามพอเพียง บทที่ 3 รูใช รูจา ย บทท่ี 4 ชวี ติ สดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพยี ง บทท่ี 5 การประกอบอาชพี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพอื่ ใหเ กิดความม่นั คง มัง่ ค่งั และยั่งยืน

1 บทท่ี 1 เศรษฐกจิ พอเพียงรากฐานการดาํ เนนิ ชวี ติ ของคนไทย สาระสาํ คญั เศรษฐกิจพอเพียงเปน ปรัชญาท่พี ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช (รชั กาลท่ี9) ทรงมพี ระราชดาํ รสั ช้แี นะทางการดําเนินชีวิตแกพ สกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดระยะเวลานานกวา 30 ป ตง้ั แตก อนเกดิ วกิ ฤตการณท างเศรษฐกจิ ในป พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบกบั ภาวะวกิ ฤติเศรษฐกิจนบั วาเปน บทเรียนสําคัญท่ีทําใหป ระชาชนเขาใจถึงผลการพัฒนา ซ่ึงใชเปน แนวทางการดําเนินชีวิตที่อยูบน พืน้ ฐานของทางสายกลางและความไมป ระมาท คาํ นึงถึงความพอประมาณ การมีเหตุผล การสรางภมู คิ มุ กนั ที่ดีตอ ตนเองตลอดจนใชค วามรูและคณุ ธรรมเปนพนื้ ฐานในการดาํ รงชีวิต ท่ีสําคัญจะตองมีสติปญญาและ ความขยนั หม่ันเพียร ซง่ึ จะนาํ ไปสูความสขุ ในการดาํ เนนิ ชวี ิตอยา งแทจริง ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวัง อธบิ ายแนวคิด หลักการ ความหมาย ความสาํ คญั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความเปนมา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เร่อื งท่ี 2 ความหมาย ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เร่อื งท่ี 3 หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เรื่องท่ี 4 ความสาํ คญั ของเศรษฐกจิ พอเพียง

2 เร่ืองท่ี 1 ความเปนมาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปน แนวทางการดาํ เนินชวี ติ และวถิ ปี ฏิบัตทิ พ่ี ระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รชั กาลที9่ ) ทรงมีพระราชดาํ รัสช้ีแนะแกพ สกนิกรชาวไทยมานานกวา 30 ป ดังจะเหน็ ไดวา ปรากฏความหมายเปนเชิงนัยเปน ครั้งแรกในพระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่9) ในป พ.ศ. 2517 ท่ีพระองคไดท รงเนนยํ้า แนวทางการพัฒนาบนหลกั แนวคิดทพ่ี ง่ึ ตนเอง เพ่ือใหเกิดความพอมี พอกิน พอใชข องคนสวนใหญ โดยใช หลักความพอประมาณ การคํานึงถึงการมีเหตุผล การสรางภูมิคุม กัน ท่ีดีในตัวเอง และทรงเตือนสติ ประชาชนคนไทยไมใ หป ระมาท ตระหนกั ถึงการพัฒนาอยา งเปน ขนั้ เปนตอนที่ถกู ตอ งตามหลกั วิชา และการ มีคุณธรรมเปน กรอบในการปฏิบัตแิ ละการดาํ รงชีวิต ในชว งทปี่ ระเทศไทยประสบกบั ภาวะวิกฤตเิ ศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 นับเปน บทเรียนสําคัญท่ีทํา ใหป ระชาชนเขาใจถึงผลจากการพฒั นาทไ่ี มคาํ นึงถึงระดับความเหมาะสมกับศักยภาพของประเทศ พึ่งพิง ความรู เงินลงทุน จากภายนอกประเทศเปนหลัก โดยไมไดส รางความมนั่ คงและเขมแขง็ หรอื สรางภมู ิคุมกัน ทีด่ ีภายในประเทศ ใหสามารถพรอมรบั ความเส่ียงจากความผันผวนของปจจัยภายในและภายนอกจนเกิด วกิ ฤตการณท างเศรษฐกจิ ครง้ั ใหญสง ผลกระทบอยา งรุนแรงตอ สังคมไทย รฐั บาลตระหนกั ถึงความสาํ คญั ใน การแกไ ขปญ หาดังกลา วใหเกิดการพัฒนาที่ย่ังยืนในสังคมไทยอยางเปน ระบบดวยการกําหนดนโยบาย ดานการศกึ ษา โดยนาํ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปน แนวทางในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาทุกระดบั ใชคุณธรรมเปนพ้นื ฐานของกระบวนการเรยี นรทู ่ีเชือ่ มโยงความรวมมือระหวางสถาบัน การศึกษา สถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา ใหม ีสว นรวมในการจัดการศึกษาเพื่อใหผูเ รียนเกิด ทักษะความรู ทกั ษะและเจตคติ สามารถนาํ ไปประยุกตใ ชในชีวิตประจําวนั ไดอยางสมดลุ และยัง่ ยนื เรอื่ งที่ 2 ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง คอื อะไร เศรษฐกิจพอเพยี ง เปนปรัชญาช้ถี งึ แนวทางการดํารงอยูแ ละปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตง้ั แตครอบครัว ระดบั ชมุ ชนจนถงึ ระดับรัฐ ทงั้ ในการพัฒนาและการบริหารประเทศใหดําเนินไปในทาง สายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือใหกา วทันตอยุคโลกาภิวัตนค วามพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปน ที่ตอ งมีระบบคุม กันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมี ผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งน้ี จะตอ งอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวงั อยา งยงิ่ ในการนําวิชาการตาง ๆ มาใชใ นการวางแผน

3 และการดาํ เนินการทกุ ขน้ั ตอนและขณะเดียวกัน จะตอ งเสริมสรา งพ้นื ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ เจาหนา ที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตยสุจริตและ ใหม ีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดว ยความอดทน มีความเพียรพยายาม มีสติปญญา และความ รอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับความเปลี่ยนแปลงอยา งรวดเร็ว และกวา งขวาง ทงั้ ทางดา นวัตถุ สงั คม ส่งิ แวดลอ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่ตองมี ระบบภูมิคุม กันในตัวท่ีดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอก และภายใน ท้ังน้ีจะตอ งอาศัยความรอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยา งยิ่งในการนํา วิชาการตาง ๆ มาใชใ นการวางแผน และการดําเนินการทุกข้ันตอน และขณะเดียวกันจะตอ ง เสริมสรา งพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจ ในทุกระดับ ใหม ีสาํ นึกในคณุ ธรรม ความซ่ือสัตยสุจริต และใหม ีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิต ดว ยความอดทน ความเพียร มีสติปญ ญา และความรอบคอบ เพ่ือใหสมดุลและพรอ มตอ การรองรับการเปลี่ยนแปลงอยา งรวดเร็วและกวา งขวาง ทั้งทางดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอ ม และ วัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี เร่ืองท่ี 3 หลักแนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพียง เปน ปรัชญาช้ีแนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเปน โดยมีพื้นฐานมาจาก วิถชี ีวิตดั้งเดมิ ของสังคมไทย สามารถนาํ มาประยกุ ตใ ชไ ดต ลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงในระบบที่มี การเปลี่ยนแปลงอยูต ลอดเวลา มุงเนนการรอดพน จากภัย และวิกฤติ เพื่อความม่ันคงและความยั่งยืน ของการพัฒนา

4 คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชก ับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดยเนน การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาตนอยางเปนขน้ั ตอน แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียง ความพอเพยี งจะตอ งประกอบดว ย 3 หวง 2 เงื่อนไข ดงั นี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ี่ไมนอ ยเกินไปและไมมากเกินไปโดยไมเบียดเบยี นตนเอง และผอู ่ืน เชน การผลติ และการบริโภคทอ่ี ยใู นระดับพอประมาณ

5 ความมีเหตุผล หมายถึง การตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ระดบั ของความพอเพียงน้ัน จะตอ งเปนไปอยา งมี เหตผุ ลโดยพจิ ารณาจากเหตุปจจยั ทเี่ กี่ยวของตลอดจนคํานงึ ถงึ ผลท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนจากการกระทําน้ัน ๆ อยางรอบคอบ การมีภูมิคุม กันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลง ดานตา ง ๆ ที่จะเกิดข้ึนโดยคํานึงถึงความเปน ไปไดข องสถานการณตาง ๆ ท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนในอนาคต ท้ังใกลแ ละไกล เงอื่ นไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงน้ัน ตอ งอาศัยท้ังความรู และ คุณธรรมเปนพ้ืนฐาน กลา วคอื  เง่อื นไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเก่ียวกับวิชาการตาง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ งอยางรอบดา น ความรอบคอบที่จะนําความรูเ หลาน้ันมาพิจารณาใหเชื่องโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผน และ ความระมัดระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ  เง่ือนไขคุณธรรม ทจี่ ะตองเสรมิ สรา งประกอบดวย มีความตระหนกั ในคณุ ธรรม มคี วามซื่อสัตย สจุ ริตและมคี วามอดทน มีความเพยี ร ใชส ติปญญาในการดาํ เนินชีวติ เร่อื งท่ี 4 ความสําคญั ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ความสําคญั ของเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีสงผลตอประชาชน ดังนี้ 1. เกิดแนวคิดท่มี งุ เนนพึง่ พาตนเองเปนหลกั ทมี่ อี ยใู นตัวเอง เพ่อื นาํ มาพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ใหเ กิด ประโยชนส ูงสุดตอตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน ซึ่งจะทาํ ใหสามารถดาํ รงชวี ิตอยไู ดอ ยางยั่งยืน 2. ทาํ ใหม ีความเขม แข็งในจติ ใจ โดยยึดหลกั การพ่งึ พาตนเองเปนหลัก เม่ือพึ่งตนเองไดแ ลว ทําให จติ ใจสงบเขม แข็ง ไมวิตกกังวล 3. เกิดความรว มมือ ความกระตือรอื รน ความสามคั คีในชุมชน และประเทศชาติ 4. เกดิ การมสี ว นรว ม คิดวเิ คราะห แกปญหารว มกนั 5. ทาํ ใหม คี วามเปนอยู พอมี พอกิน ลดปญหาความยากจน

6 “เมือ่ สังคมไทยเปนสงั คมเศรษฐกิจพอเพยี ง คนไทยดํารงชวี ติ บนทางสายกลาง มสี ามหวงสําคญั คลอ งใจในการดําเนนิ ชีวติ ไดแ ก ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การมภี ูมคิ ุมกนั ในตัวที่ดี มีสองเงือ่ นไขกํากับชวี ติ อยา งเครง ครัด ไดแ ก เงื่อนไขความรูท ป่ี ระกอบดว ยรอบรู รอบคอบ ระมดั ระวัง เง่ือนไขคณุ ธรรม ซง่ึ มคี วามซอ่ื สัตยส จุ ริต อดทน เพียร มสี ติปญ ญา อยูใ นชีวิต ชีวิตมีแตค วามสุข เศรษฐกิจ สดใส สังคม อุนใจ สิ่งแวดลอม อดุ มสมบรู ณ วฒั นธรรม เขม แข็งยั่งยนื ”

7 กิจกรรมที่ 1 ตอบคําถามตอไปนี้ 1. จงอธิบายความหมายของ “เศรษฐกจิ พอเพียง” ทถี่ ูกตอ งท่ีสดุ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... 2. หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปนอยา งไร ? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญตอ การดําเนินชวี ติ ในปจจุบนั อยา งไร? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ผูเรียนสามารถนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชในเร่ืองอะไรบาง ใชวิธีการ อยางไร? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8 บทท่ี 2 ปฏิบัติตนดี มคี วามพอเพียง สาระสาํ คญั การปฏิบัตติ นตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดังพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิ พลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่9) ทรงมพี ระราชดํารสั นํามาปฏิบัตติ น คือ ยึดความประหยดั ประกอบอาชีพดว ย ความถกู ตอง สจุ ริตเลกิ แกงแยง ผลประโยชน และแขงขันกนั ในทางการคา ไมห ยุดนิง่ ที่จะหาทางใหช วี ิต หลุดพนจากความทุกขยากและปฏบิ ตั ิตนในแนวทางที่ดี ลด ละสิง่ ชัว่ ใหหมดส้ินไป ผลการเรยี นรูท ่ีคาดหวัง 1. เห็นคณุ คาและปฏิบตั ิตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. บอกแนวทางในการนําปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ตใ ชในการดําเนนิ ชีวิตได ขอบขา ยเน้อื หา เร่ืองท่ี 1 วธิ คี ดิ วธิ ีปฏิบตั ิ วิธใี หค ณุ คาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เรือ่ งท่ี 2 การปฏิบตั ติ นตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

9 เร่ืองที่ 1 วิธคี ดิ วธิ ปี ฏบิ ตั ิ วิธใี หค ณุ คาตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง วิธคี ดิ การจะนําปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใชใ หไดผลดใี นการดาํ เนินชวี ิต จําเปน จะ ตอง เร่ิมตนจากการมีความรู ความเขาใจท่ีถูกตองวา เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงอะไร และมีหลักการ สาํ คัญอะไรบางท่ีจะนําไปใชเปนแนวทางสูการปฏิบัติ ตลอดจนเห็นถึงประโยชนจ ากการที่จะนําไปใชใ น ชวี ิตประจาํ วนั เพอื่ ใหรอดพน และสามารถดาํ รงอยไู ดอยางมัน่ คงและย่งั ยืน วธิ ปี ฏิบัติ หลงั จากทีไ่ ดท าํ ความเขาใจอยา งถูกตอ งแลว ก็จําเปน จะตอ งทดลองนํามาประยุกตใ ช กับตนเอง ทง้ั ในชวี ติ ประจําวนั และการดําเนินชีวิตสามารถอยูร วมกับผูอื่นไดอ ยางมีความสุข โดยคํานึงถึง การพ่ึงพาตนเองเปน เบื้องตน การทําอะไรที่ไมสุดโตงไปขา งใดขางหน่ึง การใชเหตุผลเปนพ้ืนฐาน ในการตดั สินใจและการกระทําตา ง ๆ ตลอดจนการสรา งภูมิคุมกันที่ดี เพ่ือพรอ มรับตอ การเปล่ียนแปลง จะไมท าํ อะไรทเี่ สี่ยงจนเกินไปจนทาํ ใหตนเองหรือคนรอบขางเดือดรอนในภายหลัง การใฝร ูอ ยา งตอเน่ือง และใชความรดู วยความรอบคอบและระมัดระวัง ความซอ่ื สตั ย ความไมโลภ ความรูจ ักพอ ความขยันหมั่น เพยี ร การไมเ บียดเบียนกนั การรูจ ักแบง ปนและชว ยเหลือซ่ึงกันและกัน อยา งไรก็ตาม การท่ีจะสรางภาวะความรคู วามเขา ใจทถี่ กู ตอ งอยา งลึกซึ้งเกีย่ วกับเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อใหส ามารถนําไปประยกุ ตใ ชไ ดนน้ั จาํ เปนที่จะตองเรียนรูดว ยตนเองหรือรวมกบั ผอู ื่น วธิ ีการใหคณุ คา การเรยี นรูจ ากการปฏบิ ัติ การแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นและประสบการณระหวา ง ผูที่มีความสนใจรว มกันจะทําใหส ามารถตระหนักถึงประโยชนและความสุขที่จะไดร ับ จากการนําหลัก เศรษฐกิจพอเพียงไปใช แลว เกิดการปรับเปลี่ยนความคิดเห็นและนอ มนําเอาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใน การดําเนินชวี ิตตอ ไป จิตสํานึกที่ตระหนักถึงความสุขท่ีเกิดจากความพอใจในการใชช ีวิตอยางพอดีและรูจักระดับ ความพอเพียงจะนาํ ไปสูก ารประกอบสมั มาอาชีพหาเล้ียงตนเองอยา งถูกตอ ง ไมใหอ ดอยากจนเบียดเบียน ตนเอง หรือไมเกิดความโลภจนเบียดเบยี นผูอ่นื แตม ีความพอเพียงท่ีจะคิดเผื่อแผแบงปนไปยังคนอ่ืน ๆ ในชมุ ชนหรอื องคกรและสงั คมได อยา งไรกต็ าม ระดับความพอเพียงของแตล ะคนจะไมเ ทา กนั หรอื ความพอเพียงของคนคนเดียวกนั แตต า งเวลาก็อาจเปลี่ยนแปลงไปได แลวแตเง่ือนไขภายในและภายนอก ตลอดจนสภาพแวดลอ มที่มี ผลตอ ความพอเพยี ง

10 เรือ่ งที่ 2 การปฏบิ ัตติ นตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในฐานะทีเ่ ปนพสกนิกรชาวไทย จึงควรนอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช (รัชกาลท่9ี ) ทรงมีพระราชดํารัสมาประพฤติปฏิบัติตน ดงั นี้* 1. ยึดความประหยัด ตัดทอนคา ใชจ ายในทุกดาน ลดละความฟุม เฟอ ยในการดํารงชีวิตอยาง จริงจงั ดงั กระแสพระราชดาํ รัส ความวา “ ...ความเปนอยทู ่ตี องไมฟ มุ เฟอย ตอ งประหยัดไปในทางทีถ่ ูกตอง...” 2. ยึดถือการประกอบอาชีพดว ยความถูกตอ งสุจริต แมจ ะตกอยูในภาวะขาดแคลนใน การดาํ รงชวี ิตกต็ าม ดงั กระแสพระราชดํารสั ความวา “...ความเจริญของคนท้ังหลายยอมเกิดจากการประพฤติชอบและการหาเลี้ยงชีพชอบเปน หลักสาํ คัญ...” 3. ละเลกิ การแกงแยง ผลประโยชนและแขง ขนั กันในทางการคาขาย ประกอบอาชีพแบบตอ สูกัน อยางรนุ แรงดงั อดีต ดังกระแสพระราชดํารัสในเรอื่ งนี้ ความวา “...ความสุขความเจริญอันแทจริงน้ัน หมายถึงความสุขความเจริญท่ีบุคคลแสวงหาไดด วย ความเปน ธรรม ทัง้ ในเจตนาและการกระทํา ไมใชไดม าดว ยความบังเอิญหรือดว ยการแกงแยง เบียดบังมา จากผูอ่ืน...” 4. ไมหยดุ นิ่งทีจ่ ะหาทางใหช ีวิตหลุดพน จากความทุกขย ากครง้ั นี้ โดยตอ งขวนขวายใฝหาความรูให เกิดมีรายไดเพิ่มพูนข้ึนจนถึงข้ันพอเพียงเปน เปาหมายสําคัญ ดังกระแสพระราชดํารัสตอนหน่ึงท่ีให ความหมายชัดเจนวา “...การท่ตี อ งการใหท ุกคนพยายามท่ีจะหาความรู และสรา งตนเองใหมั่นคงนี้ เพื่อตนเอง เพื่อจะ ใหตนเองมีความเปนอยทู ีก่ า วหนา ท่มี คี วามสุข พอมีพอกินเปนขั้นหนึ่ง และข้ันตอ ไปก็คือการมีเกียรติวา ยนื ไดด วยตนเอง...” 5. ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดี ลด ละ สิ่งชั่วใหห มดส้ินไป ทั้งดว ยสังคมไทยท่ีลม สลายลงในคร้ังนี้ เพราะยังมีบุคคลจํานวนมิใชนอยท่ีดําเนินการโดยปราศจากความละอายตอแผนดิน ดังกระแสพระราช ดาํ รสั ความวา “... พยายามไมก อ ความชว่ั ใหเ ปน เครือ่ งทําลายตัว ทําลายผอู ่ืน พยายามลด ละ ความช่ัวท่ีตัวเอง มอี ยู พยายามกอความดใี หแ กต ัวอยูเ สมอ พยายามรักษาและเพ่ิมพูนความดีท่ีมีอยูน ั้นใหง อกงามสมบูรณ ข้นึ ...” ----------------------------------- * จากหนงั สอื เศรษฐกจิ พอเพียง สาํ นักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ หนา 27 พิมพครัง้ ท่ี 3 กรกฎาคม 2548

11 หลักของความพอประมาณ (พอ ดี) 5 ประการ (จากขอ สรุปของสภาพฒั น) 1. พอดีดา นจติ ใจ เขมแขง็ มีจิตสาํ นึกทดี่ ี เอือ้ อาทร ประนปี ระนอมนึกถึงประโยชนส ว นรวม 2. พอดีดา นสังคม ชว ยเหลอื เกอ้ื กูล รูจกั สามคั คี สรา งความเขมแข็งใหค รอบครัว และชมุ ชน 3. พอดีดา นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รูจ ักใชแ ละจัดการอยางฉลาด และรอบคอบ เกดิ ความยัง่ ยืนสูงสุด 4. พอดีดา นเทคโนโลยี รูจ กั ใชเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมและสอดคลอ งตอ ความตองการเปน ประโยชน สภาพแวดลอ มและเกดิ ประโยชนต อสวนรวมและพัฒนาจากภูมิปญ ญาชาวบานกอ น 5. พอดีดานเศรษฐกิจ เพ่ิมรายได ลดรายจา ย ดํารงชีวิตอยางพอควรพออยู พอกิน สมควรตาม อตั ภาพและฐานะของตน หลกั ของความมเี หตุผล 1. ยึดความประหยดั ตดั ทอนคา ใชจายในทกุ ดา น ลดความฟมุ เฟอ ยในการดํารงชีวติ 2. ยึดถือการประกอบอาชีพดว ยความถูกตอ งสุจริต แมจ ะตกอยูใ นภาวะขาดแคลน ในการดํารงชวี ิต 3. ละเลิกการแกงแยง ผลประโยชน และแขงขันในทางการคา ขายประกอบอาชีพ แบบตอ สูก ัน อยางรนุ แรง 4. ไมห ยดุ นิ่งท่จี ะหาทางในชวี ติ ใหหลดุ พนจากความทกุ ขยาก 5. ปฏิบตั ิตนในแนวทางท่ดี ี ลด เลกิ สงิ่ ยั่วยุกิเลสใหห มดส้นิ ไป ไมกอความช่วั ใหเปนเครื่องทําลาย ตวั เอง ทาํ ลายผอู ืน่ หลักของการมีภมู ิคุมกัน 1. มีความรู รอบคอบ และระมดั ระวัง 2. มคี ณุ ธรรม ซื่อสัตยสุจริต ขยนั อดทนและแบง ปน การปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเปน แบบอยา งและแนวทางใหบ ุคคล ครอบครัว ชุมชน นํามาประ ยกุ ตใ ชในการดาํ รงชวี ติ ดงั นี้ 1. ยึดหลักความประหยัด ไมใชจ ายฟุมเฟอย ใชในส่ิงทจ่ี าํ เปน และรูจักเกบ็ ออมไวใชในอนาคต 2. ยึดหลักความซื่อสตั ยส จุ รติ ความถกู ตอ งในการประกอบอาชพี และการดําเนนิ ชีวิตไมเ หน็ แกต ัว 3. ยึดหลักความไมแ กง แยงชิงดีกัน รูจักการพึ่งพากัน ไมเอารัดเอาเปรียบและแขง ขัน โดยใชว ธิ รี ุนแรง

12 4. ยึดหลักการใฝรูใฝเรียน หมั่นศึกษาหาความรู ใชส ติปญญาในการดําเนินชีวิตการประกอบ อาชพี เพือ่ ใหม รี ายไดไ วใชจ า ย โดยยดึ ความพอเพยี งเปน หลกั 5. ยดึ หลกั การทําความดี ลด ละ ความช่ัวและส่ิงอบายมุขทั้งปวง เพื่อใหตนเอง ครอบครัว และ สงั คม อยูอยางเปน สุข กจิ กรรมท่ี 2 หลังจากผูเรยี นไดเ รียนรหู ลักการเศรษฐกจิ พอเพียงจนมีความรู ความเขาใจ ยอมรบั และตัดสินใจลงมือ ปฏิบัติ ประยุกตใชในการดําเนินชีวิต และประกอบอาชีพของตนเองน้ัน ผูเรียนมีแนวทางสามารถนํามา ปฏบิ ตั ิกบั ตวั เอง ครอบครวั อยางไร? เน้อื หา แนวทางปฏบิ ตั ิ 1.พอประมาณ ในการดาํ เนินชีวิต เชน (การช้ือสนิ คา การใชเงิน) .................................................................................................................................... 2.ความมเี หตุผล .................................................................................................................................... 3.มีภูมิคุม กนั ทีด่ ี ในการประกอบอาชพี เชน (การลงทนุ การแปรรูป) .................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ในการดําเนินชีวิต เชน (การตัดสนิ ใจชือ้ สนิ คา การใชเงิน) .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ในการประกอบอาชพี เชน (การตดั สินใจลงทุน) .................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ในการดําเนนิ ชวี ติ เชน (การสาํ รองของใช การปอ งกนั อบุ ตั ภิ ยั ) .................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ในการประกอบอาชพี เชน (การสาํ รองเงนิ ลงทุน การสํารองสนิ คา) .................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

13 เนอื้ หา แนวทางปฏิบัติ 4.เงอื่ นไขความรู รอบรู เชน (ความรูเรอ่ื งอาชพี นนั้ ๆ) ......................................................................................................................................... 5.เง่อื นไขคณุ ธรรม รอบคอบ เชน (รอบคอบในการใช).................................................................................. ........................................................................................................................................ ระมดั ระวงั เชน (การทาํ บัญช)ี ......................................................................................... ซ่ือสตั ย เชน (ใชวตั ถุดบิ ท่ไี มม ีสารพษิ ปนเปอ น) …………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………….………………………… อดทน เชน (อดทนในการดาํ เนินการ)………………………………………..………………………….. แบง ปน เชน (มคี วามเอ้ือเฟอ เผอื่ แผ) ...............................................................................

14 บทที่ 3 รใู ช รูจาย สาระสําคัญ เมอื่ เราประกอบอาชพี มรี ายได การนําเงินไปใชจายส่ิงใดตอ งจดทุกอยา ง ทุกคร้ังท่ีจายออกไป การบันทึกรายรับ รายจา ยเปนหลักฐาน แสดงแหลงที่มาของรายได รายจา ยและเงินออม อีกท้ังเปน การเตอื นตนเองและครอบครวั วา ในแตละเดอื นมีคา ใชจ า ยอะไรบางที่ไมจ ําเปน รายการใดสามารถตัดท้ิง ไปไดในเดอื นตอไป ครอบครวั ควรเริม่ ตนจดรายรับ - รายจา ยจนเปน นสิ ยั ครอบครัวเราจะไดไ มยากจน ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวัง 1. วางแผนการใชจ ายของตนเองและครอบครวั ได 2. วิเคราะหส ภาพรายรบั - รายจา ยของครอบครัวได 3. บันทกึ รายรับ - รายจา ยของตนเองและครอบครวั ได 4. อธบิ ายวธิ ีการลดรายจายและเพ่มิ รายได 5. อธิบายวธิ ีการออมเงินได ขอบขา ยเนอื้ หา เรื่องที่ 1 การวางแผนการใชจา ยของตนเองและครอบครัว เร่ืองท่ี 2 การบันทึกรายรบั - รายจายของตนเองและครอบครัว เรอ่ื งท่ี 3 การลดรายจา ยและเพิม่ รายไดในครัวเรอื น เรื่องที่ 4 การออม

15 เรื่องท่ี 1 การวางแผนการใชจ ายของตนเองและครอบครัว กอ นทจ่ี ะใชจ ายเงิน เราควรจดั สรรเงินทมี่ อี ยใู หต รงกับความตอ งการ โดยการวางแผนการใชจาย เงนิ ไวกอ น การวางแผนการใชจ า ยเงิน หมายถึง การที่บคุ คลจดั สรรรายรบั - รายจาย ของตนเอง ซ่งึ มแี นวทาง ในการปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. การหารายได ทุกคนตองประกอบอาชพี เพื่อใหมีรายไดประจาํ และหากมเี วลาวา งควรหารายได เสรมิ เพอ่ื จะไดมรี ายไดพ อกบั การใชจายในการดํารงชีพ 2. การใชจ า ยใหพ ิจารณาใชจา ยในส่ิงท่ีจําเปน จริง ๆ เชน ใชจา ยเปนคา อาหาร เครื่องนุงหม ท่ีอยูอาศัย ยารักษาโรค โดยคํานึงถึงคุณคาของส่ิงท่ีซ้ือวามีคุณภาพและคุมคา เงิน ไมใชซ ้ือเพราะ คําโฆษณาชวนเชอ่ื การประหยดั ควรรูจักเก็บออมเงินไวใ ชจ ายเม่ือคราวจําเปน เชน เม่ือเจ็บปวย โดยวางแผนใหมี รายจา ยนอยกวารายไดมากที่สุดก็จะมีเงินเก็บ เครื่องใชท่ีชํารุดเสียหาย ควรซอมแซมใหใ ชไดอยูเ สมอ ประหยัดพลังงานและทะนุถนอมเคร่ืองใชใหมอี ายุการใชงานไดน าน การเปนหนี้โดยไมจ ําเปน เพราะยืมเงินมาใชจ ายสุรุยสุรา ย เชน การยืมเงินมาจัดงานเล้ียง ในประเพณีตา ง ๆ จะทําใหช ีวิตมีความลําบาก สรา งความเดือดรอนใหต นเองและครอบครัว แตถ า หาก เปนหน้ี เพราะนาํ เงนิ มาลงทุนในกจิ การท่สี ามารถใหผลคมุ คาก็อาจจะเปนหนี้ได 3. การบนั ทึกรายรบั - รายจา ย เปน วิธกี ารวางแผนทส่ี ําคญั การบันทึกรายรับ - รายจาย ในชีวิต ประจําวัน เพ่ือใหท ราบวา ในวันหน่ึง สัปดาหห นึ่ง เดือนหนึ่ง เรามีรายไดจากอะไร เทา ไรและจายอะไร อยางไร ควรจะวางแนวทางในการใชจา ยอยางไรจึงจะพอและท่ีเหลือสะสมไวเ ปนทุนหรือเก็บสะสมไว ใชจายในยามจาํ เปน การบนั ทึกรายรบั - รายจา ย จึงเปน ขอมลู หลักฐานแสดงใหเ ห็นแหลงที่มาของรายได และทไ่ี ปของรายจา ย ซึง่ จะนาํ ไปสกู ารตง้ั เปา หมายลดรายจา ย การเพิ่มรายได และการออมตอ ไป เรื่องท่ี 2 การบันทกึ รายรบั - รายจายของตนเองและครอบครัว เมื่อเรามรี ายไดแ ละนําเงินรายไดไปใชจ า ยซื้อสิ่งท่จี าํ เปน ส่ิงใดท่ีมีราคาสูงก็ไมจ ําเปนตอ งซ้ือทันที แตใหต้ังเปา หมายไวว า จะเก็บหอมรอมริบไวจนมากพอแลวจึงซ้ือ ดังนั้นเราจึงควรวางแผนการใชจ ายไว ลว งหนา วา เราตองซือ้ อะไร เทาไหร เมื่อใด เราคงเคยไดย ินขาวชาวนาขายที่นาไดเงินเปน แสนเปน ลา น แตเ มื่อเวลาผานไปไมก ่ีป เขากลับ ไมเ หลือเงนิ เลย ตองไปเชา ทน่ี าของคนอนื่ ทาํ กนิ เรื่องดังกลาวเปนตวั อยางของบคุ คลท่ไี มมกี ารวางแผน การใชเ งนิ ดงั นน้ั กอนที่เราจะใชจา ยเงนิ เราควรจดั สรรเงนิ ที่มีอยู ใหตรงกับความตอ งการดวยการวางแผนไว

16 วิธีการวางแผนท่ีสาํ คัญวธิ ีการหนงึ่ คอื การบนั ทกึ รายรับ - รายจาย “หากอยากมชี ีวติ ที่มั่งค่ังสมบูรณ ตอ งลงมือบันทึกรายรบั - รายจายตงั้ แตบ ดั นี”้ ขอควรคํานงึ ในการใชจ ายเงนิ และจดบนั ทกึ รายรับ รายจาย 1. กาํ หนดความคาดหวังและเปาหมายวา จดบันทกึ เพือ่ อะไร 2. วางแผนรบั - จา ยกอนใชเงิน 3. กอ นซอ้ื สง่ิ ใดตอ งพิจารณาใหด กี อนวา สง่ิ นน้ั จําเปนหรอื ไม 4. จดบันทกึ ทกุ คร้งั ทุกวัน ทุกบาท ทุกสตางคท ี่มกี ารรบั และจายเงนิ 5. หมั่นตรวจสอบบญั ชวี า มรี ายการใดท่ีใชเ งินไมเ หมาะสม หากมตี องแกไ ขทนั ที 6. เกบ็ ใบเสรจ็ หรือหลกั ฐานการรับเงิน - จายเงินไวเพอ่ื ตรวจสอบกบั บัญชที ีจ่ ด “การจดบนั ทึกรายรบั - รายจา ย” หรือการจดบัญชี จะชวยใหเราทราบวาเรามีรายรับมากนอย แคไหน เราสามารถลดคา ใชจา ยรายการใดออกไปไดบ า ง “การจดบัญชี” ทําใหเราสรางสมดุลระหวา ง รายไดและรายจา ยท่เี หมาะสมแกฐ านะการเงินของเราไดเปนอยา งดี การจดบญั ชคี รวั เรอื น เปน การจัดทาํ บัญชรี ายรบั รายจา ยของครอบครัว เราสามารถจัดทําบัญชี แบบท่ีงา ย ผูท่ีไมเ คยมีความรูเรื่องการบัญชีมากอ นก็ทําเองไดโดยการแยกรายการออกเปน รายรับและ รายจาย รายรับ ไดแ ก เงินเดือน คา จา ง ผลตอบแทนที่ไดจ ากการทํางาน เงินที่ไดจ ากการขาย ผลผลิต การเกษตร หรือทรัพยสิน เปนตน รายจายไดแก คาใชจา ยเพ่ือซื้อสินคา สําหรับในการอุปโภค บริโภค คานาํ้ ประปา คา ไฟฟา คาโทรศัพท คาซอ มแซม คา อปุ กรณเ คร่ืองใช เครอ่ื งไม เคร่ืองมือ คารถ คา อาหาร คา เชา เปนตน ตวั อยาง รายรับ รายจา ย ขายผลผลติ ทางการเกษตร 2,500 บาท จายเงนิ ซ้ือของใชในบาน 500 บาท 1 ม.ค. 52 จายเงนิ ซ้อื ขา วสาร 300 บาท 5 ม.ค. 52 จา ยคา น้ํา คาไฟ 250 บาท 7 ม.ค. 52 ขายผลผลติ ทางการเกษตร 1,250 บาท 10 ม.ค. 52 จายคาซอื้ ปยุ 300 บาท 15 ม.ค. 52 จายคา อาหาร 200 บาท 20 ม.ค. 52 25 ม.ค. 52

17 ตัวอยา ง การจดบัญชีครวั เรอื น วนั เดอื น ป รายการ รายรับ รายจาย คงเหลือ 1 ม.ค. 52 ขายผลผลติ 2,500 - 2,500 5 ม.ค. 52 ซ้ือของใช 500 - 2,000 7 ม.ค. 52 ซอ้ื ขา วสาร 300 - 1,700 10 ม.ค. 52 จา ยคา น้ํา คา ไฟ 250 - 1,450 15 ม.ค. 52 ขายผลผลติ ทางการเกษตร 1,200 - 2,650 20 ม.ค. 52 จา ยคา ซื้อปุย 300 - 2,350 25 ม.ค. 52 จายคา อาหาร 200 - 2,150 รวม 3,700 - 1,500 - 2,150 รายรบั สูงกวา รายจาย 2,150 การบันทกึ รายรับ - รายจา ย หรอื การจดบญั ชีท้ังของตนเองและครอบครวั มคี วามสําคัญตอชวี ิต ของคนไทยเปนอยา งย่ิง ดงั พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลท9่ี ) พระราชทานแกคณะบคุ คลตา ง ๆ ทเ่ี ขา เฝาถวายพระพรชัยมงคลเน่อื งในวโรกาสวนั เฉลมิ พระ ชนมพรรษา วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 ณ ศาลาดุสดิ าลยั พระราชวงั ดุสติ ความวา “...เม่อื 40 กวาป มี ผหู นึ่งเปนขา ราชการชนั้ ผนู อยมาขอเงิน ที่จริงไดเ คยใหเ งินเขาเลก็ ๆ นอ ย ๆ แตเ ขาบอกวา ไมพอเขาก็มาขอ ยมื เงิน ขอกเู งินก็บอก..เอาให.. แตขอใหเ ขาทาํ บญั ชีรายรับ - รายจาย รายรบั กค็ ือ เงินเดอื นของเขาและ รายรบั ทอี่ ุดหนนุ เขา สว นรายจายก็เปนของทใี่ ชใ นครอบครวั ...ทหี ลงั เขาทํา...ตอมา เขาทําบัญชีมาไม ขาดทุน แลวเขาสามารถท่จี ะมเี งนิ พอใช เพราะวา บอกใหเ ขาทราบวา มีเงนิ เดอื นเทา ไหรจะตอ งใชภ ายในเงิน เดือนของเขา...”

18 บคุ คลตัวอยา งการสรางชีวิตใหมอ ยางพอเพียงดวยบญั ชคี รวั เรอื น นายเจน ชูใจ ราษฎร หมู 4 ตาํ บลพนมทวน จงั หวัดกาญจนบรุ ี ผปู ระสบความสําเร็จจากการทํา บัญชีครัวเรือน กลาววา “จบเพียงประถมศึกษาปที่ 4 พอ แมยากจน มีอาชีพทํานาเปน หลัก ตอมาไดรับ มรดกเปน ท่ีนา 10 ไร จึงทาํ นาเรอ่ื ยมา แตก ็สามารถสงลูกเรียนสูง ๆ ได เน่ืองจากสรางวินัยในการใชจ าย เงินอยางมรี ะบบ มีพอ แมเปนแบบอยา งทดี่ ีในเรื่องความมรี ะเบยี บในการใชเ งินทองแตละบาทแตล ะสตางค โดยในสมัยพอ ใชถา นหุงขา ว เขียนคา ใชจ า ยในแตละวันท่ีขางฝาขา งบาน จึงจดจํามาปฏิบัติ เริ่มจาก จดบนั ทึกชัว่ โมงการทํางานวาภายใน 1 เดอื น มคี วามขยนั หรอื ขเ้ี กยี จมากนอยแคไหน ภายหลังมาทําบัญชี การใชจ ายในครวั เรอื นในชว งทาํ ไรน าสวนผสม เมอ่ื ป 2528” กวา 20 ป ที่ทําบัญชีครัวเรือนมาทําใหท ุกวันนี้มีชีวิตในครอบครัวอยูอยา งมีความสุข ปจจุบัน มีทีน่ ารวมกวา 50 ไร โดยการซ้ือสะสมมา มีเงินฝากธนาคาร โดยมีคติวา จากนํ้าที่ตักมาจนเต็มโอง เวลา น้ําพรองตองเติมใหเต็ม ถา ปลอยใหน ํา้ แหงขอด ชวี ิตกจ็ ะเหนอื่ ยจะทําใหช ีวิตบั้นปลายลาํ บาก” นายเจน กลา ว น่ันคือประโยชนที่เห็นไดชัดจากการทําบัญชีครัวเรือนที่ไมเพียงแตจ ะชว ยใหความเปนอยูข อง ครอบครวั ดีขึน้ เทาน้ัน แตย งั สรา งสังคมใหเปน ปก แผน สงผลไปถึงเศรษฐกิจอนั มน่ั คงของประเทศในอนาคต ขางหนา อกี ดวย (จตพุ ร สุขอินทร และ ปญ ญา มงั กโรทัย, 2552 : 30) เรอื่ งที่ 3 การลดรายจา ยและเพ่มิ รายไดในครัวเรือน การลดรายจายในครัวเรือน ปญหาเร่ืองหน้ีสินในครอบครัวหรือปญ หารายรับไมพอกับรายจาย เปนปญหาท่ีทําใหป ระชาชนหนักใจ การปองกันและแกไขปญ หาเรื่องหน้ีสิน มีหลักงาย ๆ วาตอ งลด รายจา ยและเพม่ิ รายไดใ หมากขนึ้ การลดรายจายสามารถทําไดโดยการสํารวจคาใชจา ยในเดือนท่ีผานมา แลวจดบนั ทกึ ดวู า ในครอบครัวมีการใชจายอะไรไปบางและรายการใดที่ไมจําเปน นาตัดออกไปได ก็ใหตัด ออกไปใหหมดในเดอื นถัดไปก็จะสามารถลดรายจา ยลงได แตท ุกคนในครอบครัวตอ งชวยกัน เพราะถา คน หนง่ึ ประหยัดแตอ ีกคนยังใชจ ายฟุมเฟอ ยเหมือนเดิมก็คงไมไ ดผ ล ตองช้ีแจงสมาชิกทุกคนในบา น เมื่อลด รายจายไดแลว ก็เอารายรบั ของท้งั บานมารวมกนั ดูวาจะพอกบั รายจา ยหรือไม ถาพอและยังเหลือ ก็คงตอง เอาไปทยอยใชหน้ีและเก็บออมไวเผื่อกรณีฉุกเฉิน เชน การเจ็บปวย อุบัติเหตุ เปน ตน แตถ ารายไดย ัง นอยกวารายจายก็ตอ งชวยกันคดิ วาจะไปหารายไดเพ่มิ มาจากไหนอกี โดยสรปุ การใชจา ยเงินมี 3 แบบ คือ 1. ใชตามใจชอบเปน การใชไ ปเรื่อย ๆ แลวแตว าตองการอะไรกซ็ ้อื เงินหมดก็หยุดซอื้ 2. ใชตามหมวดทแี่ บง ไว เชน - คา อาหารและคา เส้ือผา - คา รักษาพยาบาล

19 - คา ทาํ บุญกุศล - เกบ็ ออมไวใ ชใ นอนาคต ฉุกเฉิน - คาศกึ ษาเลา เรยี นของบตุ ร ฯลฯ 3. ใชต ามแผนการใชท กี่ าํ หนดไวล ว งหนา เปน การใชตามโครงการท่ีไดวางแผนไวล ว งหนาแลวน้ัน ซึ่งเปน วิธีการท่ีถูกตอง ซึ่งสามารถนําหลักการทางวิชาการมาใชใ นการปฏิบัติการวางแผนการใชจา ย ในครอบครัว ขอ ปฏบิ ตั ิของการใชจายภายในครอบครวั มสี ง่ิ ทพี่ งึ ปฏบิ ตั ิ 3 ประการคือ - การทาํ บญั ชีรายรับ - รายจาย - การประหยัด - การออมทรพั ย ครอบครัวตองมีการวางแผนจัดการรายรับ - รายจาย เพื่อใหม ีทรัพยส ินเพียงพอจะซ้ือหรือ จดั หาส่ิงท่ีครอบครัวตอ งการ เพ่อื ความสงบสุขและความเจริญของครอบครวั เร่อื งท่ี 4 การออม การออม คือ การสะสมเงินทีละเล็กทีละนอ ย เมื่อเวลาผานไปเงินก็จะเพ่ิมพูนข้ึน การออม สว นใหญจะอยูในรูปการฝากเงินกับธนาคาร จุดประสงคหลักของการออม เพ่ือใชจา ยในยามฉุกเฉิน ยามเราตกอยใู นสภาวะลาํ บาก การออมจงึ ถือวา เปน การลงทุนใหกบั ความมัน่ คงในอนาคตของชวี ิต หลักการออม ธนาคารออมสินไดใหแ นวคิดวา “ออม 1 สวนใช 3 สวน เน่ืองจากการออมมี ความสาํ คญั ตอ การดํารงชีวิต แมบางคนมรี ายไดไมม ากนัก คนเปน จํานวนมากออมเงินไมไ ด เพราะมีคาใช จา ยมาก ใชเ งนิ เกินตวั รายรบั มีไมพอกบั รายจา ย เม่ือเรามีรายไดเราจะตองบริหารจัดการเงินของตนเอง หากเราคิดวาเงินออมเปนรายจา ยอยางหน่ึงเชน เดียวกับรายจายอ่ืน ๆ เงินออมจะเปน รายการแรกท่ีตอ ง จา ยทุกเดือน โดยอาจกําหนดวาอยา งนอ ยตองจา ยเปน รอ ยละเทา ไรของรายไดและทําจนเปน นิสัย แลวคอ ยวางแผน เพอ่ื นาํ เงนิ สว นทเ่ี หลอื ไปเปน คาใชจ า ยตา ง ๆ เทานเ้ี รากม็ เี งนิ ออม การลดรายจา ย สามารถกระทาํ ไดดงั น้ี 1. ทําสวนครัวและเลี้ยงสัตวไวสําหรับบริโภค โดยใชพืชผักพื้นบานที่มีในทองถ่ิน ผักท่ีใชเปน ประจํา ผกั ทีป่ ลกู ไดง ายไมตองดูแลมากมาปลูกไวในครัวเรือน เชน ผักบุง ผักคะนา ผักขม ชะอม ฟกทอง แตงกวา มะเขือ ถ่ัวฝกยาว ขา ตะไคร ตนหอม กระเทียม ตําลึง และการเลี้ยงปลาดุก เลี้ยงกบ เล้ียงไก เปน ตน ซึ่งหากเราสามารถปลกู ผักสวนครวั เลย้ี งสัตวไวร ับประทานในครวั เรือนไดเอง โดยไมตองไปซื้อหา มาจากตลาด กจ็ ะทาํ ใหครัวเรือนสามารถลดรายจายได แตหากผลผลิตเหลือเฟอจากการบริโภคแลวเรา นาํ ไปขายกจ็ ะเปน การเพิ่มรายไดอกี ดว ย

20 2. การประหยดั การออมในครัวเรอื น โดยการรจู กั ใชท รัพยสนิ เวลา ทรัพยากรตามความจําเปน ดวยความระมดั ระวังโดยใหเกดิ ประโยชนคมุ คามากท่สี ุด รูจักดาํ รงชีวิตใหเหมาะสมกับสภาพความเปนอยู สวนตวั รวมท้งั การอดออม ลดรายจา ยท่ีไมจําเปน ประหยัดพลังงาน รูจักการใชพลังงานจากแสงอาทิตย เปนตน 3. การลด ละ เลกิ อบายมขุ โดยการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมตนเอง จากการทช่ี อบไปงานสังคม ดื่ม เหลา ฟงเพลง เตนรํา กลับบานดึก ก็ตองเลิกการกระทําที่ไมจําเปน และเปนผลเสียตอสุขภาพรางกาย สน้ิ เปลือง 4. การจัดทําบญั ชคี รวั เรือน คือ การรจู กั จดทุกครั้งทจ่ี าย บรหิ ารการใชจ า ยใหเ หมาะสมกับตนเอง สงิ่ ใดทเ่ี กนิ ความจําเปนในชีวติ ก็ตองไมใชจาย 5. การใชพ ลังงานอยา งประหยัด เชน การประหยัดนํ้า ประหยัดไฟ ใชเทา ท่จี ําเปน เปนตน การเพิม่ รายได การเพ่มิ รายไดน้นั มหี ลากหลายวธิ ี นอกจากการประกอบอาชีพหลกั แลว เรายังสามารถเพ่มิ รายได ได ดังน้ี 1. การปลูกผักสวนครวั สาํ หรบั ไวร ับประทานเองในครัวเรอื น และแบงปนใหเพื่อนบานที่เหลือ จึงนําไปขาย ก็จะทําใหมีรายไดเพ่ิมขึ้น เชน การปลูกพริก มะเขือ ชะพลู ตนหอม ผักชี ชะอม ตําลึง ผกั หวาน เปน ตน 2. การประกอบอาชีพเสริม โดยใชทรัพยากร วัตถุดิบท่ีมีอยูในครัวเรือน ในชุมชนมาใชใหเกิด ประโยชนสูงสุด และเปนการลดตนทุนการผลิตใหคุมคาและประหยัด เชน การถนอมอาหารแปรรูป งานหตั ถกรรมสิง่ ประดษิ ฐ การผลติ กลา ไมด อกไมประดบั การเลี้ยงไกพื้นเมือง การเพาะถั่วงอก การเพาะ เห็ด การทําปุยชีวภาพ การเล้ียงปลาดกุ ในบอซเี มนต การทาํ เฟอรน เิ จอรจ ากไมไ ผ เปนตน 3. การพัฒนาอาชีพเดิม เปนการพัฒนาอาชีพเดิมใหดีข้ึน โดยการหาความรูเพิ่มเติมจาก การเขารวมเวทีประชาคมในชุมชน การศึกษาดูงาน การเขารับการอบรม เพ่ือนําความรูมาพัฒนาอาชีพ ในการขยายพนั ธมุ ะนาวขาย กอ็ าจไปหาความรูเ พิม่ เตมิ เกย่ี วกับการขยายพันธมุ ะนาวไมมีเมล็ด มะนาวนํ้าดี ลูกดก ตนเล็กแตใหผลผลิตสูง และศึกษาเร่ืองการขายพันธุมะนาวทางเว็บไซต เพ่ือขยายการตลาด ใหสามารถขายผลผลติ ไดมากข้ึน เปนตน

21 กิจกรรมท่ี 3 1. ผเู รียนไดข อ คดิ อะไรบา งจากกรณีตวั อยา ง “สรา งชีวติ ใหมอยางพอเพียงดว ยบัญชคี รวั เรอื น” ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..……………………………………………………….. .………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ผูเรียนไดจ ดั ทําบัญชีครัวเรอื นหรือไม อยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..……………………………………………………….. .………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ในชุมชนของผูเ รียนมีใครจัดทําบัญชีครัวเรือน พรอมยกตัวอยา ง 1 ครอบครัววาเขาจัดทํา อยา งไรและไดผลอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..……………………………………………………….. .…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

22 กิจกรรมท่ี 4 ใหผเู รียนตอบคําถามตอไปนี้ 1. การบนั ทกึ บญั ชคี รัวเรอื น หมายถงึ ผเู รียนและครอบครัวมกี ารวางแผนการใชจายอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..……………………………………………………….. .………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. รายรบั หมายถงึ อะไร พรอ มยกตัวอยาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. รายจาย หมายถึงอะไร พรอ มยกตวั อยา ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. ผูเรียนมวี ิธีลดรายจายและเพ่ิมรายไดอ ยา งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 5. ผูเ รยี นมวี ธิ กี ารออมเงินอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..……………………………………………………….. .…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

23 6. ใหผ เู รียนบันทกึ บญั ชคี รวั เรอื นตามรายการดังตอไปน้ี ลงในแบบบันทึกรายรบั – รายจา ย ของครอบครัวภายใน 1 เดอื น 1 ม.ี ค. 52 ขายผลไมไ ดเ งิน 1,900 บาท 3 มี.ค. 52 ขายผลไมไดเงิน 1,500 บาท 5 ม.ี ค. 52 จายคา ของใชใ นบาน 500 บาท 7 มี.ค. 52 จายคา นํา้ - คา ไฟ 400 บาท 10 มี.ค. 52 จา ยคาปยุ 600 บาท 15 มี.ค. 52 จา ยคา อาหาร 500 บาท 20 ม.ี ค. 52 ขายผลไม 1,800 บาท 25 มี.ค. 52 จายคา ซอ มรถ 300 บาท 27 มี.ค. 52 จา ยคาของใช 700 บาท แบบบนั ทึกรายรบั - รายจา ย วัน เดือน ป รายการ รายรับ รายจาย คงเหลอื (บาท) (บาท) (บาท) ยอดรวมรายรับ ยอดรวมรายจาย คงเหลือ

24 สรปุ ผลการบนั ทึกรายรบั - รายจายของครอบครวั 1. ครอบครัวของฉนั มรี ายรบั มากกวา นอ ยกวา รายจา ยอยู ..............บาท 2. ในระยะเวลา 1 เดือน ครอบครัวของฉันมีเงินออมจํานวน .................บาท ครอบครัวของฉันไมม เี งนิ ออม 3. รายจายท่คี วรปรับลด ไดแก 1) ..................................จาํ นวนเงิน .......................บาท เพราะ .............................. 2) ..................................จาํ นวนเงนิ .......................บาท เพราะ .............................. 3) ..................................จํานวนเงิน .......................บาท เพราะ ............................. ฉนั สามารถลดรายจา ยไดท ้ังหมด ................................ บาท

25 บทที่ 4 ชวี ิตสดใส พอใจเศรษฐกจิ พอเพยี ง สาระสาํ คญั เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหมเปนแนวทางปฏิบัติ เพื่อตอ งการใหค นสามารถพึ่งพาตนเองได อยา งเปน ข้นั ตอนโดยลดความเส่ยี งเก่ียวกบั ความผันแปรของธรรมชาติ โดยอาศัยความพอประมาณ ความมี เหตุมีผล การสรา งความรู ความขยันหม่ันเพียร การอดออม สติปญญา การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และความสามคั คี เมื่อเราศึกษาเรียนรูปรัญชาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางถอ งแท และนําไปประยุกตใชในการ ดําเนินงานและการประกอบอาชีพจนเห็นผลจากการปฏิบัติแลว ควรจะสงเสริมใหสมาชิกในครอบครัว มองเหน็ คณุ คา และนําแนวทางไปสกู ารปฏิบัติ ในการดํารงชวี ติ บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวัง แนะนํา สงเสริมใหส มาชกิ ในครอบครัวเห็นคุณคา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนําแนวทาง ไปสูก ารปฏิบตั ิในการดําเนนิ ชีวิตอยางยงั่ ยืน ขอบขา ยเนือ้ หา เรื่องที่ 1 ทฤษฎีใหม เรื่องที่ 2 แผนชีวติ

26 เร่ืองท่ี 1 ทฤษฎใี หม เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ทฤษฎีใหมเปนแนวทางปฏิบัติ เพ่ือตอ งการใหคนสามารถพึ่งพาตนเองได ในระดับตาง ๆ อยา งเปนขั้นตอน โดยลดความเส่ียงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยน แปลงของปจจัยตา ง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณและความมีเหตุมีผล การสรา งความรู ความขยัน หมนั่ เพียร ความอดทน สตปิ ญญา การชว ยเหลอื ซง่ึ กันและกนั และความสามคั คี 1. ความเปนมาของทฤษฎีใหม ตลอดระยะเวลาทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช (รชั กาลท9่ี ) ทรงครองรา ชยนน้ั พระองคไ ดเ สดจ็ พระราชดําเนนิ แปรพระราชฐานไปประทบั แรมยังภูมิภาคตา ง ๆ ท่วั ประเทศ พระ ราชประสงคทแ่ี ทจรงิ ของพระองคคอื การเสดจ็ ฯ ออก เพ่อื ซักถามและรับฟงความทุกขยากในการดาํ เนนิ ชีวิตของพสกนกิ รชาวไทย จงึ มพี ระราชดํารแิ นวคดิ ใหมในการบรหิ ารจดั การที่ดินของเกษตรกรใหม สี ดั สว น ในการใชพ นื้ ทีด่ ินใหเ กิดประโยชนส งู สดุ รูปแบบหนงึ่ คอื การเกษตรทฤษฎีใหม 2. หลักการและขัน้ ตอนของเกษตรทฤษฎีใหม แนวคิดใหมใ นการบริหารจัดการที่ดินของเกษตรกรใหม ีสัดสวน ในการใชพ ื้นที่ดินใหเกิด ประโยชนส งู สดุ ตามแนวทางทฤษฎใี หม มีหลกั การและขนั้ ตอนดังน้ี 1. ทฤษฎีใหมข ั้นตน หลกั การของทฤษฎใี หมข ้นั ตน ประกอบดว ย 1) มที ี่ดิน สําหรบั การจัดแบง แปลงท่ดี นิ เพอ่ื ใหเ กิดประโยชนส งู สุดนี้ พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลท่9ี ) ทรงคาํ นวณจากอัตราถอื ครองทีด่ นิ ถัวเฉล่ียครัวเรอื นละ 15 ไร อยางไรกต็ ามหากเกษตรกรมีพนื้ ทถ่ี อื ครองนอ ยกวาหรอื มากกวาน้ี กส็ ามารถใชอตั ราสวน 30 : 30 : 30 : 10 ดังน้ี พน้ื ท่ีสวนท่ี 1 รอ ยละ 30 ใหขดุ สระเก็บกกั นาํ้ เพ่อื ใชเกบ็ กกั นาํ้ ในฤดูฝนและใชเ สรมิ การปลูก พชื ในฤดแู ลง ตลอดจนการเล้ียงสัตวน้ํา และพชื น้าํ ตา งๆ พ้ืนทส่ี ว นท่ี 2 รอยละ 30 ใหปลูกขาวในฤดูฝน เพือ่ ใชเ ปน อาหารประจําวันสําหรับครอบครัว ใหเพยี งพอตลอดป เพอื่ ตดั คาใชจ ายและพง่ึ ตนเองได พื้นทีส่ วนท่ี 3 รอ ยละ 30 ใหปลกู พชื ผกั พชื ไร พืชสมุนไพร ไมผ ล ไมยืนตน ฯลฯ เพ่ือใชเปน อาหารประจําวัน หากเหลือบรโิ ภคก็นําไปจําหนาย พน้ื ทสี่ ว นที่ 4 รอ ยละ 10 เปน ทอ่ี ยอู าศยั เลย้ี งสัตว และโรงเรือนอื่น ๆ 2) มีความสามัคคี เนื่องจากการเกษตรทฤษฎีใหมขั้นตน เปนระบบการผลิตแบบพอเพียง ที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองไดในระดับท่ีประหยัดกอ น ท้ังน้ีชุมชนตองมีความสามัคคีรว มมือรว มใจ ในการชวยเหลือซึง่ กนั และกนั ทํานองเดยี วกับการลงแขกแบบด้ังเดมิ เพือ่ ลดคาใชจ าย 3) ผลผลติ เน่อื งจากขา วเปนปจ จัยหลักที่ทุกครัวเรือนจะตองบริโภค ดังนั้น จึงประมาณวา ครอบครวั หนง่ึ ทาํ นา 5 ไร จะทาํ ใหม ีขาวพอกินตลอดป โดยไมต องซอื้ เพื่อยึดหลกั พง่ึ ตนเองได

27 4) มีนา้ํ เนอ่ื งจากการทําการเกษตรทฤษฎใี หมตองมนี ํา้ เพือ่ การเพาะปลกู สํารองไวใ ช ในฤดู แลง ดังนนั้ จงึ จําเปนตอ งกนั ท่ีดินสว นหนงึ่ ไวข ุดสระน้าํ โดยมหี ลักวา ตองมีนา้ํ เพียงพอทจ่ี ะทําการเพาะปลูก ไดต ลอดป 2. ทฤษฎใี หมข ั้นทสี่ อง หรอื เรยี กวา ทฤษฎใี หมข ั้นกาวหนา เปน ขั้นที่เกษตรกรจะพัฒนาตนเอง ไปสูข ั้นพออยูพ อกิน เพ่ือใหม ีผลสมบูรณย ิ่งข้ึน โดยใหเ กษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุม หรือสหกรณ รวมแรงรวมใจกันดาํ เนินการในดานตาง ๆ ดงั น้ี 1) ดานการผลติ เกษตรกรจะตอ งรวมมอื ในการผลิตโดยเร่ิมตั้งแตขั้นเตรียมดิน การหาพันธุ พืช ปยุ การหาน้ํา และอ่ืน ๆ เพื่อการเพาะปลกู 2) ดานการตลาด เมื่อมีผลผลิตแลวจะตอ งเตรียมการตาง ๆ เพื่อการขายผลผลิตใหได ประโยชนส งู สดุ เชน การเตรยี มลานตากขาวรว มกนั การจัดหายงุ รวบรวมขาว เตรยี มเครือ่ งสีขา ว ตลอดจน การรวมกันขายผลผลิตใหไดร าคาดี และลดคาใชจา ยลงดว ย 3) ดานความเปนอยู เกษตรกรตองมีความเปนอยูท่ีดีพอสมควร โดยมีปจ จัยพ้ืนฐานในการ ดาํ รงชีวิต เชน อาหาร ทอี่ ยอู าศัย เคร่ืองนุง หม เปน ตน 4) ดานสวัสดิการ แตล ะชุมชนควรมีสวัสดิการและบริการที่จําเปน เชน สถานีอนามัย เมื่อยามเจ็บไขห รอื มีกองทุนไวก ูยืม เพอ่ื ประโยชนใ นกจิ กรรมตาง ๆ ของชมุ ชน 5) ดานการศึกษา ชมุ ชนควรมบี ทบาทในการสง เสริมการศกึ ษา เชน มีกองทุนเพื่อการศึกษา ใหแก เยาวชนในชมุ ชน 6) ดา นสังคมและศาสนา ชุมชนควรเปนที่รวมในการพัฒนาจิตใจและสังคม โดยมีศาสนา เปน ทยี่ ึดเหนย่ี ว 3. ทฤษฎีใหมข ้นั ทสี่ าม เปนข้ันพัฒนาเกษตรกรหรือกลุม เกษตรกรใหกาวหนาดว ย การติดตอ ประสานงาน เพื่อจัดหาทนุ หรือแหลง เงนิ เชน ธนาคาร หรือเอกชนมาชว ยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพ ชวี ิต ซ่งึ ทั้งสองฝา ยจะไดรับประโยชนร วมกนั ดังน้ี 1) เกษตรกรสามารถขายขา วไดในราคาสงู โดยไมถกู กดราคา 2) ธนาคารกับบริษัทสามารถซ้ือขา วบริโภคในราคาต่ํา เพราะซ้ือขา วเปลือกโดยตรงจาก เกษตรกรและนาํ มาสเี อง 3) เกษตรกรสามารถซ้ือเครอื่ งอุปโภคบริโภคไดใ นราคาตาํ่ เพราะรวมกนั ซอ้ื เปนจาํ นวนมาก เน่อื งจากเปนกลมุ สหกรณ สามารถซ้ือไดใ นราคาขายสง 4) ธนาคารกับบริษัทจะสามารถกระจายบุคคล เพ่ือไปดําเนินการในกิจกรรมตาง ๆ ใหเกิดผลดียง่ิ ข้นึ 3. ประโยชนของทฤษฎใี หม 1. การพึ่งตนเอง ทฤษฎีใหมย ดึ ถือหลกั การท่ีวา ตนเปน ที่พึ่งแหงตน โดยมงุ เนนการผลิตพชื ผลให เพียงพอกับความตองการบริโภคในครวั เรือนเปนอันดับแรก เมื่อเหลือพอจากการบริโภคแลว จึงคํานึงถึง การผลติ เพอ่ื การคาเปน อันดับรองลงมา ผลผลติ สว นเกินทอ่ี อกสูตลาดก็จะเปนกาํ ไรของเกษตรกร

28 2. ชุมชนเขม แข็ง ทฤษฎีใหมใหความสําคัญกับการรวมกลุม ของชาวบา น ท้ังนี้กลุมชาวบา น จะทําหนา ที่เปน ผูดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตา ง ๆ ใหหลากหลายครอบคลุมท้ังการเกษตรแบบ ผสมผสาน หัตถกรรม การแปรรูปอาหาร การทําธุรกิจการคา ขาย การทอ งเที่ยวระดับชุมชน ฯลฯ เม่ือ องคก รชาวบา นเหลา น้ีไดรับการพัฒนาใหเ ขมแข็ง และมีเครือขา ยที่กวา งขวางมากข้ึนแลว เกษตรกรใน ชุมชนก็จะไดรับการดูแลใหมีรายไดเ พิ่มขึ้น รวมทั้งการไดรับการแกป ญ หาในทุกดา น เมื่อเปนเชน น้ี เศรษฐกจิ โดยรวม ของประเทศก็สามารถเติบโตไปไดอยา งมเี สถียรภาพ 3. ความสามคั คี ทฤษฎใี หมต้ังอยบู นพ้ืนฐานของการมีความเมตตา ความเอ้ืออาทร และความ สามคั คีของสมาชกิ ในชุมชน ในการรวมมอื รว มใจเพ่ือประกอบอาชีพตา ง ๆ ใหบรรลุผลสําเร็จประโยชนที่ เกิดขนึ้ จึงมิไดห มายถงึ รายไดแ ตเพยี งดานเดียว หากแตรวมถงึ ประโยชนในดา นอื่น ๆ ดว ย ไดแ ก การสรา ง ความมนั่ คงใหก ับสถาบันครอบครวั สงั คม ชุมชน และความสามารถในการอนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดลอ ม ตัวอยางการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนแนวทางปฏิบัติของเกษตรทฤษฎีใหม ซึ่งเปน แนวทางในการพฒั นาดานการเกษตรอยา งเปนขนั้ ตอนในพ้นื ท่ที ่ีเหมาะสม ซงึ่ แบง เปน 3 ขน้ั ดงั น้ี * กรณตี วั อยา ง ปลูกทกุ อยา งที่กิน กนิ ทกุ อยางท่ปี ลูก ชีวิตอยไู ดอ ยา งย่งั ยนื *

29 กรณตี วั อยา ง ปลกู ทุกอยางท่กี นิ กนิ ทุกอยา งท่ีปลูก ชวี ติ เปน สขุ ไดอยางยั่งยนื นายบุญเปง จันตะภา เกษตรกรบา นหว ยถางปูตา น ตําบลไมยา อําเภอพญาเม็งราย จังหวัด เชยี งราย ดําเนนิ ชีวติ โดยยดึ แนวทางเศรษฐกจิ พอเพียงจนเปนท่ียอมรบั โดยทัว่ ไป เดิมนายบุญเปง จันตะ ภา มีฐานะยากจน เคยออกไปขอทาน เพื่อหาอาหารมาใสท อ ง หลังจาก ไปเรียนในวัดไดน ําหลักคุณธรรมมาใชใ นชีวิตและการประกอบอาชีพ โดยยึดหลักอิทธิบาท 4 และ พรหมวหิ าร 4 ในป 2529 ไปทํางานประเทศบรูไน หวงั ใหฐ านะครอบครวั ดีข้นึ แตไ มสาํ เรจ็ จงึ เดินทางกลบั มาเก็บเงนิ ไดเพยี งสองพนั กวาบาท ตอ มาไดป รับความคิดวา ถามีความขยันเหมือนทํางานท่ีประเทศบรูไน อยเู มืองไทยก็มีรายไดอยางพอเพียง ป 2542 รัฐบาลใหม ีการพักชําระหนี้ แตบ ุญเปง พักไมได เนื่องจาก มียอดหน้ีเปนแสน ไดนําเอารูปในหลวงมาต้ังสัจอธิษฐานวา ขา พเจา และครอบครัวจะขยันเพิ่มข้ึน ลด ละ เลิก ในสง่ิ ท่ไี มจ ําเปน กินทกุ อยางทปี่ ลกู ปลูกทกุ อยา งท่ีกนิ และจะขอปลดหน้ภี ายใน 4 ป นายบุญเปง พึ่งพาตนเองดว ยการทําเกษตรทฤษฎีใหม ลงแรงทุกอยางดวยตนเอง ใชภูมิปญ ญา ทอ งถ่ินประยุกตกับความรใู หม ๆ ทไี่ ดไ ปศึกษาดูงานอีก การใชทรัพยากรอยา งรูคุณคา ทําใหประหยัดเงิน ลงทุน เกิดรายไดจากการขายผลผลิตการเกษตรตลอดทั้งป รูจักอดออม ไมเปนหนี้ทําใหดําเนินชีวิตไม เดอื ดรอ น ไมเบยี ดเบียนตนเองและผูอ่นื พัฒนา ปรับปรงุ การประกอบอาชีพจนประสบความสําเร็จและยัง ถา ยทอดความรู ชวยเหลอื สังคม บนพ้ืนท่ี 10 ไร 1 งาน 35 ตารางวา มีการแบงสัดสว นตามหลักทฤษฎีใหมไ ดอ ยางลงตัว เปนนาขาว 5 ไร ปลูกขาวเหนยี วปล ะ 1 ครั้ง โดยปลูกสลับกับขาวโพด แตงโม แตงไทย อีก 5 ไร ปลูกผัก สมนุ ไพร ไมผ ล เชน ลาํ ไย มะมวง กลวย และสวนสุดทา ยเปนเรือนพักอาศัยพอเหมาะกับครอบครัว มีโรง เลย้ี งสตั ว กระบือ สุกร ไกพ ้นื เมืองและจ้งิ หรีด ความสําเร็จในชีวิตของนายบุญเปง นับเปน บทพิสูจนไดเ ปน อยา งดีวา “เศรษฐกิจพอเพียง” สามารถนํามาปรับใช ใหเกิดประโยชนส ูงสุดตอครอบครัว ชุมชน หากรูจักคิด ใช กิน อยูอยางพอเพียง ชวี ิตกด็ ํารงไดอ ยางดียิ่งขึน้ และมนั่ คง * จากหนงั สือพมิ พเดลินิวส หนา 10 ฉบับวนั พฤหสั บดที ่ี 12 กุมภาพันธ พ.ศ. 2552 การแนะนําสง เสรมิ ใหสมาชกิ ในครอบครวั เห็นคุณคาและนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต ใช เมอื่ เราเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งจนเกิดความเขาใจอยางถองแทแ ละนําสูก ารปฏิบัติ ในการดาํ เนินชีวิตและการประกอบอาชีพแลว เราจะเห็นประโยชนและคุณคาของปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ซึ่งสมควรอยางย่งิ ทีเ่ ราจะตอ งแนะนําสงเสรมิ ใหส มาชิกในครอบครัวเห็นคุณคาและนําปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใชใ นการดําเนินชีวติ และการประกอบอาชีพดว ยเชน กัน หลักในการแนะนํา คอื การทส่ี มาชิกในครอบครัวใชชีวิตบนพ้ืนฐานของการรูจักตนเอง สามารถพ่ึงตนเองไดและดําเนินชีวิต

30 อยา งพอกนิ พอใช โดยไมเบยี ดเบยี นผอู ื่น ทําใหเกดิ ความสขุ และความพอใจในการดาํ เนินชีวติ อยา งพอเพียง พยายามพัฒนาตนเองอยา งตอเนื่อง เพื่อใหสามารถอยูอยา งพอเพียงไดในทุกสถานการณ ทั้งน้ีสมาชิก ในครอบครวั อาจจะรว มกันทาํ แผนชีวติ เรอ่ื งท่ี 2 แผนชีวิต ในการดาํ เนินชวี ติ ทุกคนตองการไปใหถ งึ เปา หมายดว ยกันทั้งสิน้ แตก ารท่จี ะไปถึงเปา หมายไดจ ะ ตองมีการวางแผนชีวิตท่ดี ี มคี วามมงุ มนั่ ในการทีจ่ ะกาวไปใหถ งึ การวางแผนอยางนอยกท็ ําใหเ รารูวา เราจะเดินไปทิศทางไหน ยาํ้ เตือนวาตอ งทําอะไร ยงั ไมไดทํา อะไร แมแ ตแ มบ า นจะทาํ อาหารในแตล ะม้ือยงั ตองวางแผน และเห็นอาหารจานนั้นอยูใ นจิตนาการ เหลอื แตออกไปหาวตั ถดุ บิ และลงมอื ปรงุ อาหารใหสาํ เรจ็ ซงึ่ แมบ านกต็ องเขยี นรายการวตั ถดุ บิ ทตี่ อ งซ้อื เปนการวางแผนกอนปรงุ อาหารซึ่งจะไดไ มมีปญหาวา กลับบา นแลว ลมื ซ้ือ ซึง่ เหตุการณน ี้มักเกดิ ขน้ึ บอย ๆ ชวี ิตคนเรากเ็ ชนเดียวกนั ตอ งคดิ กอ นปรงุ โดยตองรวู าจะปรงุ ใหเ ปน อะไร ซง่ึ เรยี กวาแผนชวี ิต แตส ําหรับคน ทยี่ ังไมรกู ต็ องเขียนวา ตวั เองชอบอะไร หรอื ตอ งการอะไรจะดกี วา ดาํ เนนิ ชีวติ โดยไรจุดหมาย แผนชวี ติ คอื สง่ิ ทเ่ี ราฝนหรอื คาดหวงั อยากจะใหเกดิ ข้ึนจรงิ ในอนาคตโดยเราจะตอ งวางแผน กาํ หนด ทศิ ทางหรอื แนวทางในการดาํ เนนิ ชีวิต เพื่อใหเ ราไปถงึ เปา หมาย ทําใหเราเกิดความพึงพอใจ และความสุข แผนชีวิต มีหลายดา น เชน แผนชีวิตดา นอาชีพ แผนชีวิตดา นครอบครัว เปนตน แผนชีวิต แตละคนแตล ะครอบครัวจะแตกตา งกัน ขึ้นอยูก ับวา ใครจะใหความสาํ คญั กับแผนชีวิตดา นใดมากกวา กนั แผนดา นการพัฒนาอาชีพ ใหม องถงึ ศกั ยภาพท่มี กี ารพัฒนาได ความถนัด ความสามารถของตน เอง มองถึงทนุ ทม่ี ีในชุมชน เชน ทรัพยากร องคค วามรู ภูมิปญญา แหลงเงินทุน การตลาด ความตองการ ของคนในชุมชน โดยมีการจดั การความรขู องตนเอง เพอื่ ใหเ กดิ ความรูใหม แผนชีวิตดา นครัวเรือน ใหม องถึงหลักธรรมในการดํารงชีวิต การสรางภูมิคุมกันใหก ับคนใน ครอบครัวท่ีมีการเรยี นรตู ลอดชวี ติ เพือ่ นาํ องคค วามรูมาสรา งภมู ิคุม กันที่ดี นอกจากนกี้ ารนําบัญชีครัวเรือน มาวเิ คราะหร ายจา ยทไี่ มจําเปน มาจัดทําแผนการลดรายจา ย เพิม่ รายได และตอ งมีการประเมินแผนทท่ี ํา ดวยวาสาํ เรจ็ มากนอยเพียงใด แผนชวี ติ ดานครวั เรือน เชน (1)การจดั ทาํ บญั ชรี ายรบั - รายจายในครวั เรือน มกี ารวางแผนการใชจ าย เชน จา ย 3 สวน ออม 1 สว น เพื่อใหเกิดการมีระเบียบวินัยในการใชจ า ย การลด ละ เลิกอบายมุข การศึกษาใหรูเทาทัน กระแสบริโภคนยิ ม การวางแผนควบคมุ รายจายในครัวเรือน

31 (2)การลดรายจา ยในครวั เรอื น เชน การปลกู ผักสวนครัว การผลิตปยุ ชีวภาพไวใชทดแทนปยุ เคมี การผลิตผลติ ภัณฑเครื่องใชภายในครวั เรอื น (3)การเพมิ่ รายไดในครัวเรอื น แปรรูปผลผลิต การทําเกษตรแบบผสมผสาน ปลูกพืชสมุนไพร ฯลฯ หรืออาจจะเร่มิ จาก การจดั ทาํ แผนชวี ิตครวั เรือน อาจจะดาํ เนินการ ดังนี้ 1. จดั ทาํ ขอ มูลของครวั เรือน 2. คน หาศักยภาพของตนเอง ทักษะในการประกอบอาชพี ทุน สถานการณในการประกอบอาชีพ 3. คน หาปญ หาของครวั เรือน 4. กําหนดเปา หมายของครัวเรือนเพ่ือใหหลดุ พน จากความยากจน 5. วางแผนการแกป ญ หาของครวั เรอื น 6. บันทกึ การปฏบิ ัติตามแผน 7. บนั ทกึ การประเมนิ ผล

32 กรณตี วั อยาง สรุ ชยั มรกตวิจิตรการ เกษตรพอเพียง แหง บา นปาไผ * บา นเกษตรกรพอเพียงตามแนวพระราชดาํ ริของ สุรชัย มรกตวจิ ติ รการ ตั้งอยทู ีบ่ านปา ไผ ต.แมโ ปง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม สุรชัย ไดเ ลา ชีวิตของตนเองวา “ชีวิตคงไมมาถึงวันนี้หากไมมศี รทั ธา แรงกลา ตอ องคพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลท9่ี ) ผมเร่มิ ตน จากศนู ย เดิมผม คาขายเส้ือผาสําเรจ็ รูป ป 2540 เจอวกิ ฤตเศรษฐกจิ มหี นสี้ นิ แปดแสนบาท คดิ จะฆา ตวั ตาย แมใ หส ตวิ า ทําไมไมสู ทําใหผมคิดใหม ต้งั สตแิ ลวมงุ หนา ไปท่ศี นู ยการศึกษาการพฒั นาหว ยฮอ งไคร อนั เนอื่ งมาจากพระ ราชดาํ ริ ดวยใจทมี่ งุ มนั่ วามกี ินแนห ากเดินตามแนวทางของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ย เดช (รชั กาลที9่ ) ที่นีเ่ องไดเ รียนรแู ละทาํ ความเขาใจคาํ วา “เศรษฐกจิ พอเพยี ง”อยางถองแท” เราเริ่มตน จากการเล้ียงสัตวต ามความถนัดท้ัง ปลา ไก วัว กบ ตอ มาปลูกพืชผักสวนครัว โรงเพาะเห็ด กลายเปนไรนาสวนผสมท่ที าํ ทุกอยางเชอ่ื มโยงกันอยางเปนระบบและมีประสิทธภิ าพ เวลาผานไปไมก ี่ป สุรชัย กลายเปนผูเ ชี่ยวชาญ มีความรูใ นสิ่งท่ีตนเองลงมือทํา ไมว าจะเปน การทําปุยหมัก ปุย อินทรีย การเลี้ยงหมูหลุม การเล้ียงไก วัว ปลา กบ การทํากา ซชีวภาพจากมูลสัตว การนาํ ของเหลวจากสัตวไปเลยี้ งพืช การนาํ ของเหลวจากพืชไปใชก บั สัตว “พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่9) สอนคนไทยมากวา 20 ป วา ใหเ ชื่อมธรรมชาตเิ ขา ดว ยกนั คนไทยไมช อบคดิ ไมชอบวเิ คราะห ไมลงมือทาํ แตใ ชเงินนาํ หนา ตองแกดวย 5 ร คอื รวมพลงั รว มคิด รว มกนั ทาํ รว มกนั สรปุ บทเรียน และรวมกันรบั ผล และยดึ คําสอนที่วา ตอ ง ระเบิดจากขางใน คอื เขาใจตวั เองกอน ส่ิงแรก คือตน ทนุ ตํา่ ทาํ บัญชคี รัวเรอื น ตัดส่งิ ฟุมเฟอยออกจากชีวติ คดิ อยางรอบคอบ ไมข เี้ กียจ สรางภมู ิคุมกนั ไมหลงกระแส ไมห ลงวตั ถนุ ิยม ทสี่ ําคญั ไมแ ขงกบั คนรวย แต ทกุ คนตอ งคดิ ตองฝน เองวาอะไรเหมาะทสี่ ุด จะสําเรจ็ หรอื ลมเหลวอยทู คี่ ุณภาพคน ปจจุบัน สุรชัย ยังเดินหนาตามแผนชีวิตของตนเอง เพ่ือหวังปลดหน้ีภายในไมเกิน 5 ป ดว ยการกูเงิน 2 ลานบาท ซอ้ื ทด่ี ินหลังบานเพือ่ สรา งฐานการผลติ ผมตองการพิสจู นวา คนจนหากมุง มน่ั ทจ่ี ะสแู บบเขาใจศักยภาพตนเองรบั รองอยูไ ดอ ยางมศี ักดศ์ิ รี และเปนชีวิตทีย่ งั่ ยืนปลอดภัย ------------------------------------ * จนิ ตนา กิจมี หนังสอื พมิ พมติชน หนา 10 วันเสารท่ี 28 มีนาคม พ.ศ. 2552

33 กจิ กรรมที่ 5 ใหผเู รียนวางแผนชีวิตของตนเองดานอาชีพและดานชวี ิตครอบครวั โดยคํานึงถึงหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง แผนชวี ิต รายละเอยี ดแผนชีวิต 1. ดานอาชพี 1. ตองการประกอบอาชพี …………………………………………………………….. ดา นครอบครัว 2. ปจจัยท่ีพจิ ารณาประกอบอาชีพนี้ .............................................................................. แผนชีวิต - เงินลงทนุ ....................บาท - มีความรูวชิ าชพี น้ี……………………………….…….……………………………. - ประสบการณท ่ีเก่ียวของกบั วิชาชีพ............................................................................ - ลูกคากลุมเปา หมาย ไดแก… ……………………………….……………………….. - สถานทป่ี ระกอบอาชีพ……………………………………………………………… - ความรู ความสามารถ................................................................................................... - เคร่ืองมือและอุปกรณ................................................................................................... - การประชาสัมพันธ /โฆษณา....................................................................................... - แรงงาน...................คน - วนั เวลา เปดบรกิ าร.................................................................................................. - สภาพ / สถานการณอาชพี น้ีในพน้ื ท่ปี ระกอบอาชีพ................................................... - คูแขงทางการคา…………………………………………………………………….. - กลยทุ ธการขาย……………………………………………………..……………… บา น / ท่อี ยอู าศยั - ปรับปรุง…………………….…………………………………..……………… - พัฒนา………………………………………………………..………………… สุขภาพ - ของตนเอง……………………………………………………..…….………… - สมาชกิ ในครอบครวั ……………………………………………….……..…… การปฏิบตั ิธรรม - ยึดหลักธรรม...............................ในการดาํ เนินชวี ติ - การรวมกิจกรรมท่ีวดั ……………………………………….……….……..…… - ปฏิบัตธิ รรมในครอบครัวโดย……………………………………………….…… เศรษฐกจิ

แผนชีวติ 34 รายละเอียดแผนชีวติ - ลดรายจายโดย............................................................................................... - เพิม่ รายไดโดย................................................................................................ (รายละเอียด/แนวทางปฏิบตั ิ) - ออม / ฝากเงินกบั ..................................................................... - ลงทุนโดย

35 บทท่ี 5 การประกอบอาชพี ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เพ่ือการสรางรายได อยางม่ันคง มั่งค่ัง และยงั่ ยนื สาระสําคญั การประกอบอาชพี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อการสรางรายได อยางม่ันคง ม่ังคั่ง และยง่ั ยนื มุงเนนใหผเู รียนมกี ารพจิ ารณาอยางรอบดาน มคี วามรอบคอบ และระมัดระวัง ในการวางแผน และการดําเนินงานทุกขน้ั ตอน เพื่อมิใหเกดิ ความเสียหายตอการพัฒนา เปน การประกอบอาชีพที่คํานึงถึง การมรี ากฐานทม่ี ่นั คงแขง็ แรง ใหเจรญิ เตบิ โตอยางมลี ําดบั ขัน้ สามารถยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ทั้งทางกายภาพ และทางจิตใจควบคูกัน การประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงมิไดขัดกับกระแส โลกาภิวัฒน ตรงกนั ขา มกลับสงเสรมิ ใหก ระแสโลกาภิวฒั นไ ดรับการยอมรับมากข้ึน ดวยการเลือกรับการ เปล่ียนแปลงท่ีสงผลกระทบในแงดีตอ ประเทศ ในขณะเดียวกันเปนการสรางภูมิคุมกันในตัวท่ีดีตอการ เปล่ยี นแปลงในแงที่ไมด แี ละไมอาจหลีกเลยี่ งได เพอื่ จํากัดผลกระทบใหอยูในระดับไมกอความเสยี หายหรือ ไมเปน อันตรายรา ยแรงตอ ประเทศ ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั ตระหนกั ในความสําคัญของการประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ สรางรายได อยา งม่นั คง มงั่ คั่ง และยั่งยนื พัฒนาประเทศภายใตก ระแสโลกาภวิ ัฒนและเลือกแนวทางหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกตใ ชใ นการดําเนินชีวิตอยา งสมดุล และพรอ มรับตอความเปล่ียน แปลงของประเทศภายใตกระแสโลกาภวิ ัฒน ขอบขา ยเนอื้ หา เรอื่ งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ ประเภท สาขาอาชีพตาง ๆ การตดั สินใจประกอบอาชีพ 1.1 ความหมาย ความสําคัญ 1.2 ประเภทของงานอาชพี 1.3 กลุมงานอาชีพตา งๆ 1.4 การตดั สนิ ใจประกอบอาชพี

36 เรอ่ื งท่ี 2 การสรา งงานอาชีพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 5 กลมุ อาชพี ใหม ทีเ่ นนความเปน ไทย 2.1 เกษตรกรรม 2.2 อุตสาหกรรม 2.3 พาณชิ ยกรรม 2.4 ความคดิ สรา งสรรค 2.5 การอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง เรื่องท่ี 3 แนวทางการประกอบอาชพี ทีส่ ง ผลตอ ความสาํ เรจ็ 3.1 มคี วามรู คอื ตอ งรอบรู รอบคอบ และระมดั ระวัง 3.2 คุณธรรมทส่ี งเสรมิ การประกอบอาชพี ประสบความสําเร็จ คือ ความสาํ เรจ็ สุจริต ขยนั อดทน แบงปน

37 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ ประเภท สาขาอาชีพตาง ๆ การตัดสินใจประกอบ อาชพี 1.1 ความหมาย ความสําคัญ 1.2 ประเภทของงานอาชีพ 1.3 กลมุ งานอาชพี ตาง ๆ 1.4 การตัดสนิ ใจประกอบอาชพี 1.1 ความหมาย ความสําคัญ อาชีพ หมายถึง ชนิดของงานหรือกิจกรรมของบุคคลประกอบอยู เปนงานท่ีทําแลวไดรับ ผลตอบแทนเปนเงินหรือผลผลิต อาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คืองานท่ีบุคคลทําแลวไดรับผลตอบแทนเปนเงิน ผลผลติ โดยยึดหลักสาํ คญั 5 ประการในการดาํ เนนิ การ ไดแก 1. ยดึ หลกั ทางสายกลางในการดาํ เนนิ ชีวติ 2. มคี วามสมดุลระหวา งคน ชมุ ชน และส่งิ แวดลอม 3. มีความพอประมาณ พอเพียงในการผลติ การบรโิ ภค และการบรกิ าร 4. มภี มู คิ ุมกนั ในการดําเนินชวี ิตและการประกอบอาชีพ 5. มคี วามเทา ทนั สถานการณชุมชน สังคม อาชีพมีความสําคัญตอชีวิตคนเราอยางมาก เพราะเปนความมั่นคงของตนเองและครอบครัว คนทีม่ อี าชพี จะเปน คนท่ไี ดรับการยกยอง ไดรบั การยอมรบั นับถือ เราตองทํางานหาเงิน มีเงินรายได หรือ สรา งผลผลิต เนื่องจากตองดํารงชีวิตดวยปจจัย 4 คือ อาหาร เคร่ืองนุงหม ยารักษาโรค และท่ีอยูอาศัย การประกอบอาชีพจงึ เปน สิ่งสําคัญย่ิงตอมนุษยทุกคน 1.2 ประเภทของงานอาชีพ อาชพี สามารถแบง ออกไดเ ปน 2 ประเภทคอื 1. อาชีพอสิ ระ คือ อาชพี ที่ตนเองเปน เจาของกจิ การ โดยลงทุนเอง วางแผนเอง ตัดสินใจ เอง จัดบรกิ ารและขายเอง 2. อาชีพรับจา ง คือ อาชีพที่อยูในกิจการของนายจาง มีรายไดจากคาจางและสวัสดิการ ตา ง ๆ 1.3 กลุมงานอาชีพตาง ๆ การสรางงานอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในที่น้ี แบงกลุมอาชีพเปน 5 กลุมอาชีพใหม คือ 1. เกษตรกรรม 2. อุตสาหกรรม (ในครอบครัว) 3. พาณชิ ยกรรม 4. ดา นความคดิ สรางสรรค 5 การอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง

38 1.4 การตัดสนิ ใจประกอบอาชีพ การตัดสินใจที่จะประกอบอาชีพอะไรก็ตาม จะตองมีสิ่งท่ีจะตองคิดหลายดานทั้งตองดู ขอมูล มีความรู มีทุน แรงงาน สถานท่ี มีกลวิธีการขายและคุณธรรมในการประกอบอาชีพดวย ขอควร คาํ นึงในการตดั สินใจประกอบอาชพี มดี ังน้ี 1. การตดั สินใจประกอบอาชพี โดยใชขอ มูลอยา งเหมาะสม ในการประกอบอาชพี ผูเรยี นตองใชขอมลู หลาย ๆ ดาน เพื่อการตัดสินใจ ขอมูลท่ีสําคัญ คอื ตองรจู ักตนเองวามคี วามชอบหรอื ไม มีสภาพแวดลอมในครอบครวั ชุมชน ทเ่ี หมาะสมกบั การประกอบ อาชีพนนั้ ๆ หรอื ไม และขอมลู ทีส่ าํ คัญ คอื ความรทู างวิชาการ 2. มีความรูวชิ าชพี น้ัน ๆ การประกอบอาชีพอะไรก็ตองมีความรูในวิชาชีพน้ัน ๆ อยางดี เพราะการมีความรูใน วชิ านนั้ ๆ อยางดี จะทาํ ใหส ามารถปรับปรุงพฒั นาอาชีพนัน้ ๆ ไดดยี ิ่งขึ้น 3. มีทนุ แรงงาน และสถานท่ี ทุน แรงงาน สถานท่ี เปน องคประกอบสาํ คัญในการประกอบอาชพี ทําใหเ กิดความมนั่ ใจ ในการประกอบอาชีพเปนไปอยา งราบรืน่ 4. มวี ธิ ีการปฏบิ ัติงานและจดั การอาชีพ มีขั้นตอน กระบวนการ การจัดการท่ีเหมาะสม มีประสิทธิภาพ ทําใหงานประสบ ความสาํ เร็จ ลดตนทุนการผลิต มีผลผลติ ไดมาตรฐานตามทีต่ ั้งเปาหมายไว 5. มีกลวธิ ีการขาย การตลาด กลวิธีการขาย การตลาดที่สามารถตอบสนองความตองการ ความพึงพอใจของลูกคา ยอมทําใหย อดขายเปน ไปตามเปาหมาย 6. มีการจัดการการเงินใหมีเงินสดหมุนเวียนสามารถประกอบอาชีพไปไดอยางตอเน่ือง ไมข ัดขอ ง 7. การจดั ทาํ บัญชีรายรับ – รายจา ย เพ่ือใหทราบผลการประกอบการ 8. มีมนุษยสัมพันธและมีจิตบริการ การมีมนุษยสัมพันธท่ีดีกับลูกคา มีความเปนกันเอง โดยเฉพาะการใชค าํ พูดท่เี หมาะสม เพอ่ื สรางความพึงพอใจใหก ับลูกคา ไปพรอ มกับการมจี ติ บรกิ ารใหลูกคา ดว ยความจรงิ ใจ ตองการเหน็ ลูกคามีความสขุ ในการบริโภคสนิ คา

39 9. มคี ุณธรรมในการประกอบอาชีพ ผูผลิตและผูขายมีความซื่อสัตยตอลูกคาใชวัตถุดิบที่มี คุณภาพ ไมใชสารเคมที ่ีมพี ษิ ในผลติ ภณั ฑ ซึง่ สง ผลตอสุขภาพ สิ่งแวดลอ ม และการดําเนนิ ชีวติ ของลูกคา เรอ่ื งที่ 2. การสรางงานอาชพี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในที่นไ้ี ดแบงกลมุ อาชีพ 5 กลมุ อาชพี ใหม คอื 1. เกษตรกรรม 2. อุตสาหกรรม (ในครอบครัว) 3. พาณิชยกรรม 4. ดานความคิดสรางสรรค 5. การอํานวยการและอาชีพเฉพาะ ทาง โดยวเิ คราะหแ บง กลมุ 5 กลมุ อาชพี ใหม ดานการผลติ กบั ดา นการบริการ กลุม อาชีพ ดา นการผลิต ดา นการบรกิ าร 1. เกษตรกรรม 1. แปรรปู ผลผลิต * พชื ตน ไม ตัวอยางการตบแตง - อาหารหลัก ตนไม การจัดดอกไมประดับใน - อาหารวา ง - ขนม งานมงคล งานศพ การดูแลตนไม - เครื่องด่ืม (น้ําตะไคร กระเจี๊ยบ การจัดสวน ใบเตย ขงิ สปั ปะรด เสาวรส ฯลฯ) * สัตว เชน เลี้ยงสุนัข การดูแล 2. เพาะเห็ด (แปรรูป) ตัดขน 3. เพาะพนั ธุไม 4.การเลีย้ งไกไข 5. ขยายพนั ธุพ ืช 6. ปลูกสมนุ ไพร 2. อุตสาหกรรม (ในครอบครัว) 1. ไมนวดเทา ไมกดเทา * บรรจสุ ินคา 2. ผลิตภัณฑจากกะลามะพรา ว * สง สนิ คาตามบา น 3. ผลติ เครอ่ื งประดบั ทํามือ รา น โดยใชม อเตอรไ ซต 4. ผลิตสนิ คา จากวสั ดเุ หลอื ใช * ประกอบสนิ คา /ผลติ ภัณฑ เชน 5. รองเทา แตะ เคร่อื งใช ประดับตบแตง ประกอบชอดอกไม 6. ตะกราจะกาบหมาก 7. เกา อท้ี างมะพรา ว 3. พาณิชยกรรม 1. นาํ้ เตา หูกบั ปาทอ งโก * การขายตรง 2. เคร่ืองดื่ม นา้ํ เตา หู กาแฟ * การขายปลีก 3. ผลิตปยุ ชวี ภาพ นํา้ หมัก * การขายสง 4. ดานความคดิ สรางสรรค 1. ออกแบบบรรจุภัณฑ (ผา กระดาษ * บริการผูกผาตบแตงงานพิธี พลาสตกิ ฯลฯ) ตางๆ

40 กลมุ อาชีพ ดานการผลติ ดานการบริการ 2. ออกแบบเคร่ืองใชตาง ๆ (ดวยวัสดุ * ลําตดั หมอราํ เหลอื ใชต างๆ) * รอ งเพลงพื้นบาน 3. ออกแบบเฟอรนเิ จอร * เปา ขลยุ 4. ดนตรพี ื้นบา น (โปงลาง อังกะลงุ ) 5. การออกแบบเคร่อื งประดับ 5. การอํานวยการและอาชีพ การแพทยทางเลือก (การนวดแผนไทย * หัวหนางาน เฉพาะทาง ผอนคลาย บาํ บดั รกั ษา) * Organizer รับจัดงานวันเกิด ฉลองงานแตง * รบั ตกแตง สถานท่ี เรือ่ งท่ี 3 แนวทางการประกอบอาชีพทส่ี ง ผลตอ ความสาํ เรจ็ แนวทางการประกอบอาชีพใหประสบผลสาํ เรจ็ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีเง่ือนไขความรูแ ละคณุ ธรรมดังนี้ 3.1 มีความรูคือ ตอ งรอบรู รอบคอบและระมัดระวงั ความรอบรู มคี วามหมายมากกวาคาํ วา ความรูคือนอกจากจะอาศัยความรใู นเชงิ ลกึ เกี่ยวกับ งานท่จี ะทําแลว ยังจาํ เปน ตอ งมคี วามรใู นเชงิ กวาง ไดแกความรู ความเขา ใจในขอเท็จจริงเกย่ี วกบั สภาวะแวดลอ มและสถานการณท เ่ี ก่ยี วพันกบั งานทจี่ ะทาํ ทัง้ หมด ความรอบคอบ คือ การทํางานอยางมีสติ ใชเวลาคิดวิเคราะห ขอมูลรอบดาน กอนลงมือทํา ซึง่ จะลดความผดิ พลาด ขอบกพรอ งตา ง ๆ ทําใหงานสาํ เร็จไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ใชต น ทนุ ตํ่า ระมัดระวงั คือ ความไมป ระมาท ใหค วามเอาใจใสในการทํางานอยางตอเน่อื งจนงานสําเรจ็ ไมเ กิดความเสียหายตอ ชีวติ และทรัพยสนิ หรืออบุ ัติเหตอุ นั ไมค วรเกิดขึ้น 3.2 คณุ ธรรมท่สี ง เสริมการประกอบอาชีพใหประสบความสําเร็จ คือ ความซ่อื สัตย สุจริต ขยัน อดทน แบงปน การประกอบอาชพี ตอ งสัมพนั ธเ กย่ี วขอ งกับบุคคล สงั คม และสิง่ แวดลอม อยางหลีกเลี่ยง ไมได เพื่อใหการประกอบอาชีพประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย ไดรับการสนับสนุนจากผูเก่ียวของ ผูรว มงาน และลกู คา ผูป ระกอบอาชีพตองมคี ณุ ธรรม ซือ่ สตั ย สจุ ริต ขยนั อดทน แบงปน ความขยัน อดทน คือ ความต้ังใจเพียรพยายามทําหนาที่การงาน การประกอบอาชีพอยาง ตอเนอ่ื ง สมํ่าเสมอ ความขยันตอ งปฏิบตั ิควบคกู ับการใชส ตปิ ญ ญา แกปญ หาจนงานเกดิ ผลสาํ เรจ็ ผูท่ีมีความขยัน คือ ผูท่ีต้ังใจประกอบอาชีพอยางจริงจังตอเน่ือง ในเรื่องท่ีถูกท่ีควร มีความพยายาม เปน คนสงู าน ไมท อ ถอย กลาเผชิญอปุ สรรค รักงานทที่ ํา ตัง้ ใจทาํ หนา ท่อี ยางจริงจงั

41 ซื่อสัตย คือการประพฤตติ รง ไมเ อนเอียง จรงิ ใจ ไมม ีเลหเหลยี่ ม ผูท ม่ี ีความซื่อสตั ย คือ ผูท่ีประกอบอาชีพตรงไปตรงมา ไมคดโกง ไมเอาเปรียบผูบริโภค ไมใชวัตถุที่เปนอันตราย และ คาํ นงึ ถงึ ผลกระทบกบั สภาพแวดลอ ม ความอดทน คือ การรักษาสภาวะปกติของตนไวไมวาจะกระทบกระท่ังปญหาอุปสรรคใด ผูม ีความอดทน ในการประกอบอาชีพ นอกจากจะอาศัยปญ ญาแลว ลวนตอ งอาศัย ขันติ หรือความอดทน ในการตอสูแกไขปญ หาตาง ๆ ใหง านอาชพี บรรลุความสําเรจ็ ดว ยกันทง้ั สิ้น การแบง ปน / การให คือ การแบงปนสิง่ ท่เี รามี หรือส่ิงทส่ี ามารถใหแ กผ ูอ่ืนไดแ ละเปนประโยชน แกผทู ีร่ บั การใหผูอนื่ ท่บี ริสุทธใิ จไมห วังส่งิ ตอบแทนจะทําใหผ ใู หไ ดร บั ความสขุ ท่ีเปนความทรงจําทยี่ าวนาน การประกอบอาชพี โดยรจู ักการแบง ปน หรอื ใหส งิ่ ตาง ๆ ทส่ี ามารถใหไ ดแก ลกู คาและชุมชนของเรา ยอ มไดรับการตอบสนองจากลูกคา ในดานความเชื่อถอื

42 กิจกรรมที่ 6 1. การประกอบอาชพี มีความสาํ คัญตอ การดาํ รงชีวิตของผูเรยี นอยา งไร? 1…………………………………………………………………………………………… 2…………………………………………………………………………………………… 3………………………………………………………………………………………….. 4…………………………………………………………………………………………… 5…………………………………………………………………………………………… 2. จงยกตวั อยา งอาชีพ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อาชีพกลมุ เกษตรกรรม เชน.................................................................................................... .............................................................................................................................................. อาชีพกลุมอุตสาหกรรม เชน................................................................................................... ............................................................................................................................................... อาชีพกลุมพาณิชยกรรม เชน................................................................................................... ............................................................................................................................................... อาชีพดา นความคดิ สรางสรรค เชน .......................................................................................... ............................................................................................................................................... อาชีพดา นการอํานวยการและอาชพี เฉพาะทาง เชน ............................................................... ............................................................................................................................................... 3. เม่อื ผูเรยี นประกอบอาชีพแลว จะนาํ คุณธรรม.........................มาใชในการประกอบอาชีพ และจะมี แนวทางปฏิบตั ิตามคณุ ธรรมน้อี ยางไร............................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

43 กิจกรรมที่ 7 ใหผูเรียนวางแผนแนวทางการประกอบอาชีพของตนเองท้ังที่เขาสูอาชีพใหมและพัฒนาอาชีพ โดยมีขน้ั ตอนดงั น้ี ขน้ั ตอนท่ี 1 ใหผเู รยี นแบง กลมุ ออกเปนกลุม ละ 5 – 7 คน แตล ะกลุม ใหเลอื ก หัวหนากลมุ 1 คน และเลขากลมุ 1 คน รว มระดมพลังสมองแลกเปลีย่ นเรยี นรูตามหัวขอ ดังตอ ไปนี้ 1. การประกอบอาชีพตามแนวของหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. อาชพี ท่ีเชือ่ ม่ันวาสามารถทาํ ไดใ นครอบครวั ชุมชนของเรา 3. รวมกันรางรายละเอียด ส่ิงท่ีตองใช สิ่งท่ีตองทําในการประกอบอาชีพนั้น ๆ (ทาํ 1- 2 อาชพี ) ทงั้ นีใ้ หประธานเปน ผูดาํ เนินการ เลขากลุมจดบันทึกสรปุ สาระสาํ คัญ เพอ่ื นําเสนอ ข้ันตอนที่ 2 ใหท กุ กลุมรว มกนั คัดเลอื กอาชีพจากกจิ กรรมท่ี 1 ตามท่กี ลมุ ตกลงรวมทงั้ อาชีพท่สี ามารถ ทําเปนรายบุคคล และเปน กลุม นาํ มาเขยี นเปน โครงการประกอบอาชีพท่สี ามารถนาํ ไปปฏบิ ัติไดจริง ขัน้ ตอนที่ 3 ใหผ ูเรียนแตละคน แตละกลมุ นาํ โครงการประกอบอาชีพทน่ี ําเสนอ (ตรวจสอบความสมบูรณ) ไปประกอบอาชพี โดยมีการรว มระดมทุน จัดหาทนุ การแบงงานกันทํา การลงมตริ วมกนั ตดั สินใจ ระยะเวลา ดาํ เนินการตามความเหมาะสม แลวสรปุ ผลการประกอบอาชีพเสนอครู กศน.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook