หน้าที่ชาวพุทธ
หหนน้้าาททีี่่ชชาาววพพุุททธธ ชาวพุทธต้องมีความรู้ความเข้าใจหน้าที่และ บทบาทเพื่อจะได้ปฏิบัติตนต่อพระภิกษุได้อย่าง เหมาะสม
•หขนั้้านที่ตแลอะบนทบกาาทขรอดงพำรเะนภิิกนษุงสาามนเณร ๑ ศีล จะต้อง ศึกษา พระวินั ยแต่ละ สิกขาบ ท ข้อวัด ปฏิบัติ ธรรมเนียมมารยาท ต่างๆ และปฏิบัติตนได้อย่างถูก ต้องตามพระพุทธบัญญัติไม่ให้เกิดโทษในทางวินัย ๒ สม าธิ หมั่น ฝึกหัด ขัดเกล าอบรม จิตใจให้ เกิดควา มสงบ มีความหนักแน่นมั่นคงและเพื่อให้สามารถใช้อำนาจแห่ง สมาธิขจัดอุปสรรคทางความคิดที่เรียกว่านิวรณ์และ ความ โลเลสง สัยในส ิ่งไม่คว ร
•หขนั้้านที่ตแลอะบนทบกาาทขรอดงพำรเะนภิิกนษุงสาามนเณร ๓ ปัญญา จะต้องศึกษาเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพทางความ คิดในการพิจารณาให้เข้าถึงความจริงแท้ของสรรพสิ่ง จนกว่าจะบรรลุถึงภาวะแห่งความบริสุทธิ์ขั้นสูงสุด กล่าวคือ บทบาทและหน้าที่พื้นฐานทั้ง๓นี้เป็นบทบาท หน้าที่ ที่ส่วนบุคคล ที่พระภิกษุสามเณรแต่ละรูปอาจ ละเลยปฏิบัติได้ ผู้ที่ฝึกปฏิบัติย่อมจะได้รับผลเฉพาะตน ตามความเหมาะสมแก่การปฏิบัติ
ทั้งนี้พระภิกษุสามเณรให้ทำหน้าที่ตาม บทบ าทต่างๆ ดังนี้ ๑ พ ระนักเทศน์ การศึกษาอันส มควรแ ก่สมณว ิสัย อื่นๆ จนมีความแตกฉาน ในระดับนึงแล้วก็จะนำมา แสดงเผยแผ่สู่สังคม เช่น การเทศนาแบบ ธรรมาสน์ เดี ยว การเทศนาแบบปุจฉา-ว ิสัชนา ก ารเทศ นา ทำนองสรภัญญะหรือการเทศน์แหล่
ทั้งนี้พระภิกษุสามเณรให้ทำหน้าที่ตาม บทบ าทต่างๆ ดังนี้ ๒ พระธรรมทูต เป็นคำที่ใช้ เรียกพร ะภิกษุ ที่เดินท าง ไป เผยแผ่พระพุทธศาสนายั งต่างป ระเทศ เช่น ภาษา ขนบธรรมเนียม วิธีการดำรงชีวิต หรือแม้ กระทั่งกฎหมายของประเทศนั้นๆ
ทั้งนี้พระภิกษุสามเณรให้ทำหน้าที่ตาม บทบาทต่างๆ ดังนี้ ๓ พรธรรมจาริก พระธรรมะจาริกจะเดินทางไป เผยแผ่พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้ายังสถาน ที่ต่างๆ
ทั้งนี้พระภิกษุสามเณรให้ทำหน้าที่ตาม บทบาทต่างๆ ดังนี้ ๔ พระวิทยากร คือการที่พระภิกษุทำหน้าที่ในการ อบรมสั่งสอนหลักธรรม มักใช้สรรพนามเรียกท่าน ว่า\"พระอาจารย์\"
ทั้งนี้พระภิกษุสามเณรให้ทำหน้าที่ตาม บทบาทต่างๆ ดังนี้ ๕ พระวิปัสสนาจารย์ พระพิสุที่มีความชำนาญ พิเศษทั้งทางด้านการปฏิบัติ ทำหน้าที่แนะนำและ ให้การอบรมสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน แก่พระภิกษุสามเณรและประชาชนทั่วไป
ทั้งนี้พระภิกษุสามเณรให้ทำหน้าที่ตาม บทบาทต่างๆ ดังนี้ ๖ พระนักพัฒนา พระนักพัฒนาจะมีหน้าที่ทั้งพัฒนาวัดและ พัฒนาความเจริญให้แก่ชุมชน พระภิกษุทำหน้าที่ช่วยเหลือชาว บ้านในพื้นที่อัตคัดขัดสนจากปัญหาความยากจน โดยวิเคราะห์ ประเด็นปัญหาของชุมชน ชักชวนชาวบ้านให้ความร่วมมือกันคิด หาสาเหตุของปัญหา กำหนดเป้าหมายในการพัฒนาและเป็นผู้นำ ในการพัฒนาไปตามประเด็นปัญหาของแต่ละพื้นที่
การปฏิบัติตนตามหลักทิศเบื้อง ล่างใน คือ หลักในการปฏิบัติกับบุคคลประเภทต่างๆ ใน สังคม 6 ประเภท อันได้แก่คนรับใช้ คนงาน ลูกจ้าง
การปฏิบัติตนตามหลักทิศเบื้อง ล่างใน ๑ การปฏิบัติตนต่อคนงาน ลูกจ้างและคนรับใช้ -จัดการงานให้ตามความเหมาะสมกับกำลังความสามารถ -ให้ค่าจ้างรางวัลพอสมควรแก่งานและกำล ังความสามารถ -จัดสวัสดิการที่ดี -ได้ของพิเศษมาก็แบ่งปันให้ตามความสมควร -ให้มีวันหยุดและพักผ่อนหย่อนใจตามโอกาสอันสมควร
การปฏิบัติตนตามหลักทิศเบื้อง ล่างใน ๒ การปฏิบัติตนต่อนายจ้าง -เริ่มทำงานก่อนนาย -เลิกงานทีหลังนาย -ถือเอาแต่ของที่นายให้ -ทำการงานให้เรียบร้อยและดียิ่งขึ้น -นำเกียรติคุณของนายไปเผยแพร่
การปฏิบัติตนตามหลักทิศเบื้อง ล่างใน ๓ หน้าที่และบทบาทของอุบาสก อุบาสิกาที่มีผลต่อสังคมไทยในปัจจุบัน อุบาสกแปลว่าชายผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย อุบาสิกาแปลว่าผู้หญิงนั่งใกล้พระรัตนตรัย กล่าวคือชาวพุทธที่อยู่ใกล้พระศาสนามากกว่าคนอื่นอุทิศตนให้พระพุทธศาสนาและ ประกอบกิจทางศาสนามากกว่าชาวพุทธทั่วไป อุบาสิกาก็เหมือนกับผู้ที่อยู่กลาง ระหว่างทางโลกกับทางธรรม
การปฏิบัติตนตามหลักทิศเบื้อง ล่างใน พัฒนาตนให้เป็นพุทธมามกะที่ดี พยายามลดกิเลส อุบาสกอุบาสิกาที่ดีจะเป็น ตัวอย่างว่า \"คนธรรมะธรรมโม\" ในโลกปัจจุบัน\"ธุรกิจก็คือธุรกิจ\"หมายความว่าการ ประกอบธุรกิจเราต้องชนะการแข่งขัน ไม่ว่าด้วยวิธีใดก็ตามเราทำได้ทุกอย่างยกเว้น สิ่งที่ผิดกฎหมาย อุบาสกอุบาสิกาที่ปฎิบัติธรรมและประสบความสำเร็จทางธุรกิจ การงานอาจเป็นตัวอย่างและเป็นแรงบันดาลใจให้คนในสังคมเชื่อว่าธรรมะกับชนะไป ด้วยกันได้
อุบาสกอุบาสิกาที่ดีควรยึดอุบาสก ธรรม๗ ๑ ไม่ขาดการเยี่ยมเยียนพระภิกษุ ๒ ไม่ละเลยการฟังธรรม ๓ ศึกษาในอธิศีล ๔ ทำใส่ในพระภิกษุทั้งหลาย ๕ ไม่ฟังทำด้วยตั้งใจจะคอยเพ่งโทษติเตียน ๖ ไม่แสวงหาทักขิไณยภายนอกหลักคำสอน ๗ ขวนขวายในการบำรุงพระพุทธศาสนา
สมาชิกกลุ่ม น.ส.รุจิรา ขันธวิชัย เลขที่ 26 น.ส.สุวิมล เฮงเติม เลขที่ 35 น.ส.อริสรา ศุภลักษณ์ เลขที่ 39 น.ส.อนัญญา สิงหา เลขที่ 42 น.ส.ชุติกาญจนา อยู่ฉ่าง เลขที่ 43
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: