Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการอบรมผู้สอนกีฬาลีลาศ

คู่มือการอบรมผู้สอนกีฬาลีลาศ

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-04-23 01:48:38

Description: กรมพลศึกษา
กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา
หนังสือ,เอกสาร,บทความที่เผยแพร่นี้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

ภาพที่ 5 แสดงการจบั คู่แบบบอลรูมเปิด (OPEN BALLROOM) มีล�ำดับการปฏบิ ัตดิ งั น้ี 1. ค่ลู ีลาศหันหน้าแนวเดียวกันฝา่ ยหญงิ ยนื ทางขวาฝา่ ยชาย 2. มือของฝ่ายชายโอบเอวดา้ นหลังของฝ่ายหญงิ 3. มือซา้ ยฝา่ ยชายจบั มอื ขวาฝ่ายหญงิ 4. มอื ซ้ายฝา่ ยหญิงวางบนไหล่ขวาฝา่ ยชาย ประโยชน์ : นยิ มน�ำไปใชล้ ีลาศกับจังหวะแทงโก้ ภาพท่ี 6 143 แสดงการจับคู่แบบคล้องแขนด้านใน (ESCORT POSITION) มีล�ำดับการปฏิบตั ดิ ังน้ี 1. คู่ลลี าศหันหน้าแนวเดยี วกนั 2. ฝา่ ยชายงอแขนขวา 3. ฝ่ายหญิงใช้แขนซา้ ยคลอ้ งแขนขวาฝ่ายชายบริเวณข้อศอก 4. มือซา้ ยฝ่ายชายและมือขวาฝา่ ยหญิงห้อยลงพ้นื ประโยชน์ : นิยมนำ� ไปลีลาศในฟิกเกอรต์ า่ งๆ คมู่ ือฝึกอบรมผฝู้ กึ สอนกฬี าลลี าศ

แสดงการจบั คแู่ บบภดาาพวท(ี่S7TAR POSITION) มลี �ำดบั การปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1. ค่ลู ลี าศยนื หันหน้าเขา้ หากัน โดยฝ่ายชายอยูท่ างขวามอื ฝ่ายหญงิ 2. มือขวาฝา่ ยชายกำ� มือขวาฝ่ายหญิงระดับหขู องคนทเ่ี ต้ยี กว่า 3. มอื ซ้ายของค่เู ทา้ เอว ประโยชน์ : นยิ มน�ำไปเปน็ ทา่ ทรงตวั เพือ่ ออกฟกิ ฟิกเกอร์ต่างๆ ภาพท่ี 8 แสดงการจับค่แู บบสะพานโค้งหรือแบบประจันหน้า (FACING POSITION) มลี ำ� ดับการปฏบิ ตั ดิ งั นี้ 1. คลู่ ีลาศยืนหันหนา้ เขา้ หากนั 2. ฝ่ายชายหงายมือทงั้ สอง ฝา่ ยหญิงคว�ำ่ มอื ขวาบนมือซา้ ยของฝ่ายชายและควำ่� มอื ซ้าย วางบนมือขวาฝา่ ยชาย 3. ฝ่ายชายจับมอื ทั้งสองของฝ่ายหญิงยกขึ้นเหนือเอวเล็กนอ้ ย ประโยชน์ : นิยมนำ� ไปลลี าศกับจังหวะโจว์ฟ ตลงุ และบีกนิ 144 ค่มู อื ฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลลี าศ

ภาพท่ี 9 แสดงการจับคู่แบบหุม้ รอบ (WRAP POSITION) มีลำ� ดบั การปฏิบัตดิ งั น้ี 1. คลู่ ลี าศยนื หันหนา้ แนวเดยี วกันฝา่ ยชายอยู่เยือ้ งข้างหลงั ทางซา้ ยเลก็ นอ้ ย 2. มือซ้ายฝา่ ยชายจับมือขวาฝา่ ยหญงิ ดา้ นหนา้ ระดบั เอว 3. มอื ซา้ ยฝา่ ยหญงิ ผ่านด้านหนา้ เพื่อมาจบั มอื ขวาของฝ่ายชายบริเวณเอวของฝ่ายหญงิ ประโยชน์ : นิยมนำ� ไปลีลาศกบั จังหวะรมุ บ้า บีกนิ กวั ราชา่ ภาพท่ี 10 145 แสดงการจบั คแู่ บบวาโซเวียน (VARSOUVIENNE POSITION) มลี ำ� ดบั การปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. คู่ลลี าศหนั หน้าแนวเดียวกนั ให้ฝ่ายหญงิ อยู่ทางขวามอื 2. ฝ่ายหญิงยกมอื ท้ัง 2 พรอ้ มหงายมอื เหนอื ไหล่ 3. มือขวาฝ่ายชายจบั มอื ขวาฝ่ายหญิงและมอื ซา้ ยจับมอื ซา้ ย 4. ฝ่ายชายยืนเยือ้ งไปขา้ งหลังฝา่ ยหญิงเลก็ นอ้ ย ประโยชน์ : นิยมนำ� ไปลีลาศกบั จังหวะบีกนิ คู่มือฝกึ อบรมผ้ฝู กึ สอนกีฬาลลี าศ

ภาพที่ 11 แสดงการจับคแู่ บบผีเสื้อ (BUTTERFLY POSITION) มลี �ำดบั การปฏบิ ัติดังนี้ 1. คู่ลีลาศยืนหนั หนา้ เข้าหากนั พร้อมยกมอื ทงั้ สองกางออกระดบั ไหล่ของผูท้ ี่เต้ียกว่า 2. จับมือด้านเดียวกันกบั ครู่ ะดับไหล่ ประโยชน์ : นยิ มน�ำไปลลี าศกับจงั หวะบีกิน และโบเรโล่ ภาพท่ี 12 แสดงการจบั ค่แู บบสวงิ หรอื เก้ยี ว (SWING OUT OR FLIRTATION POSITION) มลี �ำดบั การปฏิบตั ดิ ังน้ี 1. คู่ลีลาศยืนหันหน้าเขา้ หากนั 2. ให้มอื ด้านเดียวกนั จบั มือเชน่ มือซ้ายฝา่ ยชายจับมอื ขวาฝ่ายหญงิ 3. สามารถดงึ คมู่ าจับแบบบอลรูมปิดหรอื บอลรมู เปดิ ได้ ประโยชน์ : นยิ มนำ� ไปลีลาศกบั จงั หวะไจว์ฟ 146 คมู่ อื ฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าลลี าศ

ภาพท่ี 9 แสดงการจับค่แู บบอ้อมหลัง (BACK CROSS POSITION) มีลำ� ดบั การปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1. ค่ลู ีลาศยนื หนั หนา้ แนวเดยี วกนั ฝา่ ยหญงิ อยู่ทางขวามอื ฝา่ ยชาย 2. ฝา่ ยหญิงน�ำมอื ซา้ ยอ้อมหลงั ฝ่ายชายและจับมือซ้ายฝ่ายชาย 3. มอื ขวาฝ่ายชายจับมือขวาฝา่ ยหญงิ ด้านหลังในระดับเอว ประโยชน์ : นิยมน�ำไปลีลาศกบั จงั หวะบกี ิน ภาพที่ 10 แสดงการจับคู่แบบจบั มือดา้ นใน (COUPLE POSITION) มีล�ำดบั การปฏบิ ัติดังนี้ 1. คลู่ ีลาศยนื หันหน้าแนวเดยี วกนั ฝ่ายหญงิ อยทู่ างขวามือฝ่ายชาย 2. มอื ขวาฝ่ายชายจับมอื ขวาฝ่ายหญงิ พร้อมยกข้นึ ระดบั ไหล่ของฝ่ายที่เต้ยี กว่า 3. มอื ดา้ นนอกของทั้งสองฝา่ ยปล่อยลงขา้ งลำ� ตัว ประโยชน์ : นิยมน�ำไปลีลาศกับจงั หวะชา่ ช่าช่า รุมบ้า วอลซ์ แซมบา้ และบกี ิน คมู่ ือฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาลีลาศ 147

ภาพท่ี 11 แสดงการจบั คแู่ บบวาโซเวียนกลบั (REVERSE VARSOUVIENNE POSITION) มลี �ำดบั การปฏิบตั ิดงั น้ี 1. ค่ลู ลี าศยนื หันหนา้ แนวเดียวกนั 2. มือขวาฝ่ายหญงิ โอบหลงั ฝา่ ยชายพรอ้ มกับจับมือขวาฝา่ ยชาย 3. มอื ซา้ ยฝา่ ยชายจบั มอื ซา้ ยฝา่ ยหญงิ และยกมือทง้ั สองระดบั ไหลข่ องผทู้ ี่เตี้ยกวา่ ประโยชน์ : นยิ มนำ� ไปลีลาศกบั จงั หวะชา่ ช่าช่า และบกี นิ ภาพที่ 12 แสดงการจับค่แู บบไหล่-เอว (SHOULDER-WAIST POSITION) มีลำ� ดบั การปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1. คลู่ ลี าศยนื หันหน้าเขา้ หากนั 2. ฝา่ ยชายจับเอวฝา่ ยหญิงบรเิ วณเอวทง้ั 2 ขา้ ง 3. ฝา่ ยหญิงวางมือทงั้ สองข้างไว้บนไหลฝ่ ่ายชาย โดยแขนทั้งสองเหยยี ดตงึ ลำ� ตัวตรง ประโยชน์ : นยิ มน�ำไปลีลาศกับจงั หวะสโลว์ 148 คมู่ อื ฝึกอบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าลลี าศ

การเคล่ือนไหวรา่ งกายทศิ ทางตรงกนั ขา้ ม (CONTRARY BODY MOVEMENT) มัวร์ (MOORE, 1986 : 15-17) ไดก้ ล่าวว่า การเคล่ือนไหวรา่ งกายทศิ ทางตรงกนั ข้าม หรอื เรยี กวา่ การเหวยี่ งตวั คอื การบดิ สะโพกและไหลห่ มนุ ตรงขา้ มกา้ วเทา้ ทกี่ า้ ว จะเหวย่ี งตวั ขณะเรมิ่ หมนุ ขวาหรือหมนุ ซ้าย การหมนุ ไหลแ่ ละสะโพกจะไมห่ มุนอยู่กับที่ หรอื หมุนรอบศูนย์กลาง การลีลาศมีวิธีการหมุนอยู่ 4 อย่างคือ หมุนตัวทางขวาหรือซ้ายขณะไปข้างหน้า และหมนุ ตวั ทางขวาหรือซ้ายขณะไปขา้ งหลงั มวี ิธปี ฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1. เดินไปข้างหน้าหมุนตัวไปทางขวา ให้ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับบิดไหล่ และสะโพกซา้ ยไปขา้ งหนา้ 2. เดินไปข้างหน้าหมุนตัวไปทางซ้าย ให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับบิดไหล่ และสะโพกขวาไปข้างหน้า 3. เดินถอยหลังหมุนตัวไปทางขวา ให้ก้าวเท้าซ้ายถอยหลังพร้อมกับบิดไหล่ และสะโพกขวาไปขา้ งหลงั 4. เดินถอยหลังหมุนตัวไปทางซ้าย ให้ก้าวเท้าขวาถอยหลังพร้อมกับบิดไหล่ และสะโพกซ้ายไปขา้ งหลงั ตำ� แหน่งการเคลอื่ นไหวรา่ งกายทิศทางตรงกันขา้ ม (CONTRARY BODY MOVEMENT) เป็นการเคล่ือนไหวเฉพาะล�ำตัว ส่วนต�ำแหน่งการเคล่ือนไหวร่างกายทิศทางตรงกันข้ามอยู่ที่ไขว้ ไปขา้ งหนา้ หรือข้างหลงั เท้าอีกข้างหนง่ึ ซ่ึงจะไม่หมุนตวั แตบ่ างครง้ั การเคลอื่ นไหวร่างกายทศิ ทาง ตรงกันข้ามอาจจะพร้อมกัน ผู้หัดใหม่ควรจ�ำว่า การก้าวเท้านอกคู่ หรือคู่ลีลาศก้าวเท้าออกนอก ตัวเราจะต้องอยู่ในต�ำแหน่ง การเคล่ือนไหวร่างกายทิศทางตรงกันข้าม ซึ่งฟิกเกอร์พร็อมมิเนต ของจังหวะแทงโก้จะใช้มากท่ีสดุ การเอนตวั (BODY SWAYS) มัวร์ (MOORE, 1986 : 27-28) กล่าวถึงการเอนตัวว่า การเอนตัว (BODY SWAYS) ในการลลี าศน้ัน เป็นส่วนส�ำคญั ท่สี ดุ ในการดงึ ดูดใจ แม้แต่ผ้หู ัดใหม่ก็ควรเหน็ คณุ คา่ ในการฝกึ ฝน การเอนตัวน้ัน ควรโน้มตัวไปทางด้านซ้าย และขวา สามารถท�ำได้ในทุกคร้ังที่หมุนตัว ยกเว้นเวลาทีห่ มนุ ตัวด้วยความเร็ว ซึง่ จะไม่สามารถเอนตวั ได้สะดวก การหมุนตัวทุกคร้ัง จะเริ่มต้นโดยการเคล่ือนไหวร่างกายในทิศทางตรงกันข้าม (CONTRARY BODY MOVEMENT STEP) และการเอนตวั จะท�ำตามจงั หวะน้ี ถา้ การเคลอ่ื นไหว ร่างกายในทิศทางตรงกันข้ามนั้นเริม่ ตน้ ด้วยเทา้ ขวา การเอนตวั กจ็ ะโน้มไปทางขวา ถา้ เริ่มด้วยเท้า ซา้ ย การเอนตวั กจ็ ะโนม้ ไปทางซา้ ย ไมว่ า่ การกา้ วเทา้ นนั้ จะไปขา้ งหนา้ หรอื ขา้ งหลงั กต็ าม การเอนตวั โดยปกตจิ ะทำ� ตาม 2 จงั หวะนี้ และเหมาะกบั การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายแบบตรงกนั ขา้ มจงั หวะตอ่ ๆ ไป บางครั้งการเอนตัวจะทำ� แค่จังหวะเดยี ว คมู่ อื ฝึกอบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาลีลาศ 149

สงิ่ สำ� คญั ในการเอนตวั คอื การโนม้ ตวั เขา้ หาสว่ นกลางของการหมนุ นนั้ ๆ ดงั นน้ั ประโยชน์ ของการฝึกฝนการเอนตัวบ่อยๆ จะช่วยให้ผู้เต้นไม่เสียสมดุล และไม่หมุนเกินจ�ำนวนที่ก�ำหนดไว้ สิ่งนี้จะส�ำคัญมากในการเต้นวอลซ์ (WALTZ) แม้แต่ผู้ท่ีฝึกใหม่ยังพบว่า เขาสามารถรู้ตัวทันทีท่ี โนม้ ตวั ผิดนดิ เดียวเทา่ นนั้ และยังชว่ ยรกั ษาความสมดลุ ไดด้ ีอกี ดว้ ย อย่างไรก็ตาม ประโยชน์ท่ีส�ำคัญท่ีสุดของการเอนตัวนั้น ช่วยให้การลีลาศงดงามย่ิงข้ึน และนักลลี าศจะพบวา่ การศกึ ษาการเอนตวั แต่ละอย่างระมดั ระวัง จะช่วยให้การเต้นนน้ั ออกมาได้ นา่ ประทบั ใจยง่ิ นกั แตก่ ารเอนตวั มากเกนิ ไป จะทำ� ใหเ้ กดิ การผดิ พลาดมากยงิ่ ขน้ึ กวา่ การไมเ่ อนตวั เลย การน�ำและการตามในการลลี าศ (LEADING AND FOLLOWING) มวั ร์ (MOORE, 1986 : 28-30) กลา่ วถงึ การเปน็ ผนู้ ำ� และผตู้ ามวา่ ในการลลี าศสมยั ใหมน่ น้ั จะไม่มีจังหวะการเต้นตามล�ำดับก่อนหลัง ฝ่ายชายจะเป็นฝ่ายรับผิดชอบในการเร่ิมต้นในท่า แตล่ ะทา่ ฝา่ ยหญงิ จะเปน็ ผูต้ าม ไมว่ า่ ฝ่ายชายจะเตน้ ถกู หรือผดิ ก็ตาม การน�ำ เวลาหมุนตัวส่วนใหญ่ เริ่มโดยการหมุนของฝ่ายชาย ซ่ึงจะบังคับด้วยมือขวา เลก็ น้อย มอื ขวานน้ั จะไมใ่ ชด่ ึง หรอื ผลกั ค่เู ต้น แต่จะใช้บังคบั มากกว่า ดงั นนั้ ควรม่ันใจว่าฝา่ ยหญิง สามารถรับรู้จากท่าทางของฝ่ายชายในขณะหมุนตัว การบังคับมือนี้ควรใช้แขนด้านหน้าบังคับให้ เคล่ือนที่ใกล้เข้ามา ไม่ใช้มือบังคับอย่างเดียว มือขวา และน้ิวมือขวาน้ัน จะใช้ส�ำหรับหมุนตัว ฝา่ ยหญงิ เขา้ มาใกล้ และออกไปขา้ งหลงั ในตำ� แหนง่ ของการออกเดนิ สว่ นมอื ซา้ ย และแขนซา้ ยนน้ั ไม่ใช้ในการนำ� จะวางไวเ้ ฉยๆ ดูเหมือนว่าสิ่งท่ีส�ำคัญท่ีสุดก็คือ ฝ่ายหญิงจะต้องสัมผัสฝ่ายชาย เพ่ือจะได้เคล่ือนไหว ร่างกายตั้งแต่ช่วงสะโพกขึ้นไปได้อย่างสมบูรณ์ และสามารถหมุนตามการน�ำของฝ่ายชายได้อย่าง เหมาะสม ฝ่ายหญิงไม่ควรด่วนตัดสินใจท�ำก่อน เพราะการตัดสินใจไม่ได้เป็นของเธอ ฝ่ายหญิง จะตอ้ งท�ำตามไมว่ า่ ฝา่ ยชายจะทำ� อะไร และพยายามอย่าจบั ผดิ เขา การสัมผัสกับคู่เต้นน้ัน ไม่เพียงแต่เฉพาะช่วงสะโพกเท่าน้ัน แต่รวมไปถึงส่วนล่างของ รา่ งกาย และกระบงั ลมดว้ ย ถา้ ฝา่ ยหญงิ โนม้ สะโพกไปทางดา้ นหนา้ มากเกนิ ไป เพยี งเพอื่ ใหฝ้ า่ ยชาย สมั ผสั สะโพก จะทำ� ใหฝ้ า่ ยหญงิ ตอ้ งทรงตวั ไปทางดา้ นหลงั มากขนึ้ ซงึ่ กจ็ ะทำ� ใหฝ้ า่ ยชายเคลอ่ื นไหว ไปขา้ งหน้าไดย้ ากย่ิงขึ้นด้วย เม่ือการลีลาศจะเริ่มต้นข้ึนนั้น เป็นสิ่งส�ำคัญท่ีฝ่ายชายจะต้องก�ำหนดว่าจะเร่ิมต้นด้วย เท้าใดกอ่ น ไมม่ ีกฎในสว่ นนี้ ซ่งึ ฝา่ ยชายควรเลอื กเท้าทีต่ นถนดั ทสี่ ดุ การฝึกฝนนน้ั ให้ยนื กบั ค่เู ต้น ในท่าเร่มิ ต้นธรรมดาๆ เทา้ ชิดกัน ถ้าตอ้ งการเร่ิมดว้ ยเทา้ ขวา ใหเ้ คลอ่ื นเท้าซ้ายไปทางซา้ ยเลก็ น้อย และถ่ายน้�ำหนักไปที่เท้าซ้าย ในขณะเดียวกัน ให้บังคับฝ่ายหญิงไปทางขวาของเธอเล็กน้อย ซงึ่ ฝา่ ยหญงิ กจ็ ะถา่ ยนำ้� หนกั ไปทเ่ี ทา้ นน้ั โดยอตั โนมตั ิ และพรอ้ มทจ่ี ะเรมิ่ ตน้ กา้ วดว้ ยเทา้ ซา้ ยของเธอ 150 คู่มอื ฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกีฬาลีลาศ

เคล็ดลับเล็กๆ น้อยๆ ส�ำหรบั ฝา่ ยชาย ไมค่ วรยึดคูเ่ ตน้ ไว้กบั ตวั มากเกินไป เพราะจะท�ำใหค้ เู้ ตน้ เสียการทรงตัว ไม่ควรประคองคู่เต้นให้หลวมจนเกินไป เพราะจะท�ำให้ฝ่ายหญิงไม่สามารถรับรู้ถึง การน�ำของฝา่ ยชายได้ ควรจับมอื ให้มนั่ คง ไม่ควรก้าวเท้ายาวจนเกินไป ถ้าคู่เต้นของคุณไม่สามารถก้าวตามได้ ควรปรับเปลี่ยน ใหเ้ หมาะสม ตามความสามารถของคเู่ ตน้ ร�ำอ่ืน ๆ ใหม้ าก ปรมิ าณการหมุน (AMOUNT OF TURN) ปรมิ าณของการหมนุ (ทวพี งษ ์ กลิ่นหอม, 2531 : 30) กล่าววา่ ปริมาณการหมนุ ระหวา่ ง ก้าวแต่ละก้าวของแต่ละฟิกเกอร์ เป็นส่ิงส�ำคัญท่ีผู้เรียนลีลาศจะต้องเรียนรู้และท�ำความเข้าใจ ผู้เรียนจะต้องรู้ว่าต้องหมุนไปมากน้อยเท่าใดขณะก้าวไปแต่ละก้าว ปริมาณมากน้อยของการหมุน จะบอกเปน็ สว่ น สว่ นของแปด หรือสว่ นของส่ี ปริมาณของการหมุนวดั จากตำ� แหนง่ ของเท้าท่ีเรม่ิ หรือจากทศิ ทางท่เี ท้าชไ้ี ป ภาพแสดงปริมาณของการหมุนส่วนของแปด 151 ทม่ี า : ทวีพงษ์ กลน่ิ หอม, 2531 : 30 1. หมุนไปหนึ่งในแปด หรอื หนงึ่ ส่วนแปด 2. หมนุ ไปสองในแปด หรอื สองส่วนแปด 3. หมุนไปสามในแปด หรอื สามสว่ นแปด คู่มอื ฝกึ อบรมผ้ฝู กึ สอนกีฬาลีลาศ

ภาพแสดงปรมิ าณของการหมุนสว่ นของสี่ ทมี่ า : ทวีพงษ ์ กล่นิ หอม, 2531 : 30 1. หมุนไปหน่ึงในส่ี หรือหน่ึงสว่ นสี่ 2. หมนุ ไปสองในสี่ หรือสองส่วนส่ี ทักษะในกีฬาลีลาศ จงั หวะวอลซ์ (WALTZ) ส�ำหรับบรรดาผู้เข้าแข่งขัน “วอลซ์” จะเป็นจังหวะแรกเสมอท่ีจะแสดงให้ประจักษ์แก่ คณะกรรมการตัดสิน และจะเป็นโอกาสเพียงหนึ่งเดียวที่จะสร้างความประทับใจเม่ือแรกเห็น (FIRST IMPRESSION) ลองค�ำนึงถึงว่าบ่อยคร้ังกรรมการตัดสินจะไม่รู้จักท่านเลยและไม่ทราบว่า มาตรฐานการเต้นร�ำของท่านระดับไหน เม่ือคู่แข่งขันเร่ิมย่างลงสู่ฟลอร์ กรรมการตัดสินและผู้ชม (ใหน้ กึ ถงึ ตวั เอง) จะเรมิ่ กวาดตาเพอ่ื มองหาคทู่ เี่ ดน่ ทส่ี ดุ หรอื แชมปเ์ ปย้ี นทนั ที ขอ้ คำ� นงึ ถา้ ทา่ นทำ� ตวั ใหด้ เู หมอื น และประพฤตกิ รรมเฉกเชน่ แชมปเ์ ปย้ี นแลว้ ทา่ นตอ้ งแสดงการเตน้ ของจงั หวะใหด้ เู หมอื น แชมปเ์ ปยี้ นคนหนึ่ง เพอื่ ยืนยนั ในการสรา้ งความประทบั ใจเป็นครง้ั แรกทีส่ ดุ โดยดึงดดู ความสนใจ จากกรรมการและผู้เข้าร่วมชมมายังคู่ของท่าน ต้ังแต่ย่างก้าวแรกที่ลงสู่ฟลอร์การแข่งขัน บรรดาคู่แข่งขันจ�ำนวนไม่น้อยที่ประเมินผลกระทบจากการสร้างความประทับใจครั้งแรกที่ต่�ำเกินไป จังหวะวอลซ์ ยามฝึกซ้อมหรอื การวางแผนการเรียนให้คิดถงึ ความสำ� คัญของขอ้ นด้ี ว้ ย ต้องคำ� นงึ ถงึ วา่ คเู่ ต้นรำ� อน่ื ๆ อาจเจยี ดเวลาถงึ 40% ของการฝึกซอ้ มใหก้ ับจงั หวะวอลซ์ และถ้าท่านเปน็ หนง่ึ ในจ�ำนวนนั้นก็ถอื ไดว้ า่ ทา่ นไดเ้ ดนิ อย่บู นหนทางแหง่ ความสำ� เรจ็ แล้ว 152 คมู่ อื ฝึกอบรมผู้ฝกึ สอนกีฬาลลี าศ

ประวัตขิ องจงั หวะวอลซ์ ช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1910-1914 ฝูงชนได้หล่ังไหลไปท่ีบอสตัสคลับ ในโรงแรมซาวอย ท่ีต้ังอยู่ ณ กลางกรุงลอนดอน เพ่อื เต้นรำ� จังหวะ “บอสตัน วอลซ์” ซ่งึ เปน็ ตน้ แบบของวอลซท์ ่ีใช้ ในการแขง่ ขันปจั จุบนั ในปี ค.ศ. 1914 จงั หวะบอสตัสได้เสือ่ มสลายลง เบสคิ พืน้ ฐานได้ถกู เปลย่ี น ไปในทศิ ทางของ “วอลซ์” หลังสงครามโลกครั้งท่ี 1 จังหวะวอลซไ์ ด้เริม่ ถกู พฒั นาใหถ้ ูกทางดว้ ยทา่ แม่แบบ อยา่ งเชน่ THE NATURAL,REVERSE TURN และ THE CLOSED CHANGE ความก้าวหน้า ในการพฒั นาจังหวะ “วอลซ”์ เป็นไปอยา่ งยืดยาดและเช่ืองชา้ ผทู้ ีไ่ ด้ทุ่มเทกบั การพฒั นาจงั หวะนี้ เปน็ พเิ ศษ ตอ้ งยกใหม้ สิ โจสเ์ ซฟวนิ แบรดลยี ์ (JOSEPHINE BRADLY) วคิ เตอร์ ซลิ เวสเตอร์ (VICTOR SILVESTER) แมก็ ซเ์ วลล์ สจว็ ตค์ (MAXWELL STEWARD) และแพท็ ไซด์ (PAT SYKES) แชมปเ์ ปย้ี น คนแรกของชาวองั กฤษ สถาบนั ทไ่ี ดส้ รา้ งผลงานตอ่ การพฒั นาแมแ่ บบตา่ งๆ ใหม้ คี วามเปน็ มาตรฐาน คือ “IMPERIAL SOCIETY OF TEACHERS” (ISTD) ท่าแมแ่ บบเหลา่ น้ี บรรดานกั แข่งขนั ยังคงใช้ กันอยจู่ นถงึ ปจั จบุ นั ลกั ษณะเฉพาะของจังหวะวอลซ์ เอกลักษณเ์ ฉพาะ สวงิ และเลือ่ นไหล นมุ่ นวล เคล่ือนเปน็ วง ซาบซงึ้ และเรา้ อารมณ์ การเคลอื่ นไหว การสวิง ลักษณะแกว่งไกว แบบลกู ตมุ้ นาฬิกา หอ้ งดนตรี 3/4 ความเร็วตอ่ นาที 28-30 บารต์ อ่ นาที สลอดคล้องกบั กฎของ WDSF การเนน้ จังหวะ บนบีท (Beat) ที่ 1 ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการแขง่ ขัน 1 นาทคี รึง่ ถงึ 2 นาที การขึ้นและลง เร่มิ ขน้ึ หลงั ส้นิ สดุ 1 ขนึ้ ตอ่ เนอื่ งตอน 2 และ 3 หนว่ ยลดลง หลังสน้ิ สดุ 3 หลกั พลศาสตร์ ความสมดุลท่ีดีสัมพันธ์กับการเลื่อนไหล การใช้น�้ำหนัก จังหวะ เวลา และการเคล่อื นไหวท่โี ลง่ อสิ ระ การสอื่ ความหมายของจงั หวะวอลซ์ ลักษณะท่าทางอย่างหน่ึงท่ีต้องมีให้เห็นจากนักกีฬาไม่ว่าจะระดับไหน คือ ลักษณะ การแกวง่ ไกวของลกู ตมุ้ นาฬกิ า เปรยี บเทยี บไดก้ บั การแกวง่ ของลกู ตมุ้ ระฆงั จงั หวะวอลซต์ อ้ งมกี ารสวงิ ขนึ้ และลงท่ีมีความสมดุลในระดับที่ถูกต้อง ด้วยการเคลื่อนไหวที่โล่งอิสระ โครงสร้างของท่าเต้น ต้องเป็นแบบท่ีมีการสวิงโยกย้าย นุ่มนวล เคล่ือนเป็นวง ซ่ึงบังเกิดผลให้นักเต้นร�ำ เคลื่อนที่ไป อย่างเป็นธรรมชาติ และโล่งอิสระร่วมกับการเปล่ียนแปลงแรงโน้มถ่วง โดยปกติแล้ววอลซ์ควร ประกอบดว้ ยลวดลายทสี่ ามารถแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การควบคมุ (CONTROL) ทย่ี อดเยยี่ มและเปย่ี มไปดว้ ย คู่มอื ฝึกอบรมผูฝ้ กึ สอนกฬี าลลี าศ 153

ความมนั่ ใจในหลายๆ กฎเกณฑ์ ดนตรจี ะมคี วามโรแมนตกิ ชวนฝนั ละเอยี ดออ่ น และเปรยี บเสมอื น กับสตรีเพศ ซึ่งน้ีคือข้อท่ีพึงระมัดระวังถึงของคู่แข่งขันจ�ำนวนมาก ต้องปลดปล่อยให้ความรู้สึกไว ตอ่ การรบั รถู้ งึ จงั หวะ และอตั ราความเรว็ ของดนตรแี ละการเตรยี มพรอ้ มทจี่ ะเตน้ ใหแ้ ผว่ เบาอยา่ งมี ขอบเขตอสิ ระเหมอื นกบั ทกุ ๆ จงั หวะ การเตน้ จากเทา้ สง่ (SUPPORTING FOOT) จะขาดเสยี ไมไ่ ดเ้ ลย ส�ำหรับวอลซ์แล้ว “ชั่วขณะท่ี” เมื่อเริ่มยืดขึ้น (RISING) จากน้ันน้�ำหนักเท้าส่งมีความส�ำคัญย่ิง การลดลงพน้ื (LANDING) ขณะทห่ี นว่ งลง(LOWERING) บนเทา้ ทร่ี บั นำ�้ หนกั (SUPPORTING FOOT) ความตอ้ งการในแบบฉบบั ของวอลซ์ ตอ้ งเกร็งยืด(TENSION) และควบคมุ (CONTROL) LR L LR 21 13 2 LR 3 R LR ภาพรอยเท้าการเต้น “หญงิ ” 65 ภาพรอยเทา้ การเต้น “ชาย” 4 1 32 1 32 1 เรม่ิ ต้น เรม่ิ ตน้ 65 ภาพรอยเท้าการเตน้ “หญงิ ” ภาพรอยเทา้ การเตน้ “ชาย” 1 1 32 4 32 1 เรมิ่ ตน้ เร่มิ ต้น ภาพรอยเท้าการเต้น “หญิง” ภาพรอยเท้าการเตน้ “ชาย” 5 6 56 4 4 23 23 1 1 เร่มิ ต้น เรม่ิ ต้น 154 คมู่ อื ฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาลีลาศ

จงั หวะแทงโก้ (TANGO) ถึงเวลาของแทงโก้แล้ว เปรียบตัวเองว่าเป็นผู้เข้าแข่งขันคนหน่ึง ท่านจะมีเวลาเพียงแค่ 15 วินาที ท่ีจะผ่อนคลายร่างกายและจิตใจจากอาการสวิงและการเคลื่อนไหวที่โล่งอิสระจาก การเต้นวอลซ์ จงั หวะแทงโกม้ คี วามแตกต่างกบั จังหวะอนื่ ๆ อย่างเห็นไดช้ ัด มนั ไมม่ กี ารขน้ึ และลง (RISE AND FALL) ไม่มีการสเวยข์ องลำ� ตวั (BODY SWAY) การเปลย่ี นทา่ ทางการเขา้ คู่ ต้นขาเบ่ียง เขา้ หากนั และผเู้ ตน้ ควรเตรียมพร้อมทัง้ รา่ งกายและจิตใจเพื่อจะทำ� ใหเ้ กิดอาการกระแทกกระท้ัน เปน็ ชว่ งๆ (STACCATO ACTIONS) ตามท่จี ังหวะนต้ี อ้ งการ เมอ่ื จงั หวะแทงโก้ต้งั เค้าทีจ่ ะเร่ิม ให้ใส่ ความรู้สึกลงไปว่า เป็นผู้ชมหรือผู้เข้าแข่งขันคู่หนึ่งอยู่ในสนามแข่งขัน ระดับความตึงเครียดและ การเตรียมพร้อมจะมีสูงขึ้นอย่างผิดปกติวิสัย เปรียบเสมือนว่าสงครามย่อยๆ ก�ำลังจะปะทุขึ้น บนฟลอรก์ ารแขง่ ขนั อย่างไรอยา่ งนั้น คเู่ ตน้ รำ� ทไี่ มเ่ คยไดฝ้ กึ ฝนการสบั เปลยี่ นโดยฉบั พลนั จากการเตน้ จงั หวะวอลซ์ มาเปน็ หลกั การพน้ื ฐานของจงั หวะแทงโกเ้ พยี ง 15 วนิ าที ควรคำ� นงึ ถงึ เสมอวา่ ตน้ แบบของแทงโก้ เมอื่ เรมิ่ เตรยี ม เข้าคู่เพื่อการแข่งขัน ควรเตรียมพร้อมในการแผ่รัศมีเพื่อที่จะฉายแววของความเย่อหยิ่งยโสซึ่งเป็น แบบฉบบั ของชาวสเปน อาร์เจนตนิ ่า กอ่ นหนา้ ท่ดี นตรจี ะเริ่มบรรเลง และกอ่ นทจ่ี ะเรม่ิ ในย่างกา้ วแรก ข้อสรปุ ตรงนค้ี ือ การแข่งขนั จังหวะแทงโก้นีต้ ้งั เค้ากอ่ นทดี่ นตรจี ะเริม่ บรรเลงเสยี อกี ประวัติของจงั หวะแทงโก้ จังหวะมิรองก้า (MILONGA) คือ แม่แบบของจังหวะแทงโก้ ซ่ึงมีเอกลักษณ์เฉพาะ คอื การเคล่อื นไหวของศรี ษะและไหล่ โดยการสับเปลย่ี นทันทีทันใด จากการเคลอื่ นไหวส่คู วามนิง่ สงบ ต้นศตวรรษท่ี 20 ได้มีการเต้นร�ำจังหวะมิรองก้าน้ีในโรงละครเล็กๆ โดยเหล่าชน สังคมชั้นสูงที่มาจากประเทศบราซิลในช่วงเวลานั้น ได้ถูกเปลี่ยนจากมิรองก้าเป็นแทงโก้ ชื่อของ มิรองก้ายังมีต�ำนานเล่าขานอีกมากมายท่ีจะหวนไปสู่ความทรงจ�ำ ที่มาจากนครบัวโนสแอเรส (BUENOS AIRES) แหง่ ประเทศอารเ์ จนติน่า จังหวะแทงโก้ได้ถูกแนะน�ำสู่ทวีปยุโรป ความจริงแล้วเร่ิมก่อนในกรุงปารีส ในชุมชน ชาวอารเ์ จนตินา่ กระทั่งปี ค.ศ. 1907 แทงโกไ้ ม่เปน็ ทีย่ อมรบั ในกรุงลอนดอน การเต้นไดส้ ่อแนวไป ในทางเพศสัมพันธ์มากเกินไป และมีคนจ�ำนวนมากคัดค้าน ภายหลังได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบ (STYLISTIC) ไปบ้าง จังหวะแทงโก้จึงได้รับการยอมรับในกรุงปารีสและลอนดอน ในเวลาน้ัน (ค.ศ.1912) ซึ่งเป็นช่วงเวลาของแทงโก้ปาร์ตี้ แทงโก้ทีส์และแทงโก้ซุปเพียร์ ร่วมกับการแสดง ของเหลา่ นักเต้นแทงโก้ระดบั มอื อาชพี ในปี ค.ศ. 1920-1921 จังหวะแทงโก้ได้เพมิ่ ความมาตรฐานมากยง่ิ ขึ้น ในการร่วมปรกึ ษา หารือในการประชมุ ทม่ี หานครลอนดอน ระหวา่ งชว่ งศตวรรษท่ี 30 ลักษณะการกระแทกกระท้ัน เป็นชว่ งๆ (STACCATO ACTION) ได้ถกู นำ� เขา้ ใชร้ ่วมในองคป์ ระกอบท่าเตน้ ของจงั หวะแทงโก้ คูม่ อื ฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาลลี าศ 155

ลักษะเฉพาะของจังหวะแทงโก้ เอกลักษณ์เฉพาะ มั่นคงและน่าเกรงขาม โล่งอิสระ ไม่มีการสวิงและเล่ือนไหล การกระแทกกระทัน้ เปน็ ชว่ งๆ (STACATO ACTION) การเคลอื่ นไหว เฉียบขาด อาการเปล่ียนแปลงท่ีสับเปล่ียนอย่างฉับพลัน ส่คู วามสงบน่ิง การย่างกา้ วที่นมุ่ นวลอย่างแมว ห้องดนตร ี 2/4 ความเร็วต่อนาท ี 31-33 บาร์ตอ่ นาที สอดคลอ้ งกบั กฎของ WDSF การเน้นจงั หวะ บนบที ท่1ี และ 3 ระยะเวลาที่ใช้ในการแข่งขัน 1 นาทีครึ่ง ถงึ 2 นาที การขึน้ และลง ไม่มกี ารขึ้นและลง หลกั พลศาสตร ์ ความสมดลุ ทด่ี รี ว่ มกบั การใชน้ ำ้� หนกั จงั หวะ เวลา และการขบั เคลอ่ื น อย่างโล่งอสิ ระ การสอ่ื ความหมายของจังหวะแทงโก้ การเต้นแทงโก้ต้องไม่ดูเหมือนหุ่นยนต์ แต่ท่าทางการเคล่ือนไหวต้องแผ่รังสีคล้ายสัตว ์ ด่ังแมวหรือเสือ นอกเหนือจากน้ันความส�ำนึกในหลายๆ รูปแบบของการเต้นต้องใส่ความรู้สึก ทห่ี ยง่ิ ยโสตามแบบฉบบั ของชาวสเปน มนั ไมม่ กี ารขนึ้ และลง ไมม่ กี ารสเวยข์ องลำ� ตวั ตน้ ขาและเขา่ เบย่ี งชดิ ซงึ่ กนั และกนั เลก็ นอ้ ย (ใหน้ กึ ถงึ ความรสู้ กึ ทเ่ี พรยี ว ชะลดู ) ดา้ นขอบในของเทา้ ใหเ้ กบ็ เขา้ หากนั เล็กน้อยตลอดเวลา ฝ่ายหญิงให้ยืนเบี่ยงไปทางขวาของชายมากกว่าท่ีเคย และสร้างกิริยาท่าทาง ท่ีเย่อหย่ิงและเชื่อม่ัน คู่เต้นร�ำต้องแผ่รังสีในการดูดซับความรู้สึกของล�ำตัวซ่ึงกันและกันไว้ สำ� หรบั การเพม่ิ แรงโนม้ ถว่ งทลี่ งพนื้ มไี วใ้ นสถานการณท์ ต่ี อ้ งการสบั เปลย่ี นใหเ้ ปน็ อยา่ งฉบั พลนั สงบนง่ิ การใชเ้ ทา้ สง่ (SUPPORING FOOT) มคี วามสำ� คญั เปน็ อยา่ งยงิ่ ซงึ่ เหมอื นกบั ทกุ ๆ จงั หวะ การเคลอื่ นลำ� ตวั ใหผ้ า่ นเทา้ และลลี าทา่ ทางการกา้ วยา่ งของโครงสรา้ งทา่ เตน้ จะเพม่ิ ศกั ยภาพใหก้ บั แทงโก้ของท่านในด้านการแสดงออก รากเหง้าของจังหวะแทงโก้ คือ การเต้นร�ำท่ีเหมือน “ศิลปะการละครและการอารมณ์” (DRAMA AND MOOD) 78 บิดเทา้ 4 6 3 5 8 43 3 4 2 2 2 1 1 WOMAN 1 MAN WOMAN L.O.D L.O.D L.O.D 156 คมู่ ือฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าลีลาศ

4 3 2 1 L.O.D L.O.DMAN 3 4 L.O.D3 1 4 2 1 2 MAN WOMAN 3 23 2 11L.O.D L.O.D WOMAN MAN จงั หวะเวยี นนสี วอลซ์ (VIENNESE WALTZ) จังหวะเวียนนีสวอลซ์ เป็นจังหวะท่าเต้นร�ำท่ีได้แสดงถึงการมีพลังความอดทน การเคลื่อนไหวท่ีเป็นอิสระและการสวงิ ไปดา้ นข้าง จงั หวะนม้ี รี ปู แบบการเตน้ (FIGURES) ท่ีนอ้ ยมาก ความเร็วดนตรีนับได้ถึง 60 บาร์ต่อนาที การเต้นจังหวะเวียนนีสวอลซ์ เปรียบเทียบได้กับ การแขง่ ขนั ว่งิ ในระยะทาง 400 เมตรของนักกีฬา บ่อยครั้งท่ีจะเห็นจุดผิดพลาดนี้เกิดข้ึนบนฟลอร์ของการแข่งขัน ซึ่งเปรียบเสมือนกับ การแข่งขนั ว่ิงในระยะทาง 400 เมตร ผเู้ ข้าแขง่ ขนั เร่ิมตน้ จังหวะน้ีอยา่ งเปยี่ มไปดว้ ยพลัง แต่แลว้ ก ็ ไม่สามารถรักษาให้อยู่ในระดับเดิมได้ และเริ่มท่ีจะท�ำเทคนิคของการเต้นผิดพลาดเน่ืองจาก พละกำ� ลงั ถดถอยและหลงั จากน้แี ลว้ การเต้นในจงั หวะสโลว์ฟอกซท์ รอทกจ็ ะมาถึง คูม่ ือฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาลลี าศ 157

ควรระมัดระวังที่จะแสดงให้เห็นถึงการเต้นที่โล่งอิสระและรักษาระดับความเร็วของ การเคล่ือนไหวท่ีเป็นไปอย่างสม่�ำเสมอ เมื่อนั้นแล้วคู่ท่ีก�ำลังเต้นอยู่ทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลัง จะถกู นำ� มาเปรยี บเทียบ ซึง่ เปน็ การงา่ ยมากตอ่ การตดั สนิ ของคณะกรรมการ เปน็ การยากมากทจี่ ะได้พบเหน็ การเตน้ เข้ากับชว่ งจังหวะดนตรี (MUSICAL PHRASING) ในระดับนกั เต้นสมัครเล่น และคดิ ว่ามันไมย่ ากนกั ท่ีจะเพม่ิ เข้าไปในการเต้นเวยี นนีสวอลซ์ ประวัตขิ องจงั หวะเวยี นนีสวอลซ์ โดยด้ังเดิมเวียนนีสวอลซ์ จากทางตอนใต้ของประเทศเยอรมัน แถบเทือกเขาแอลป์ ช่วงศตวรรษที่ 18 การเต้น WELLER, WALTZ และ LANDLER ได้ถกู คน้ พบและจงั หวะสดุ ทา้ ย LANDLER น้ีเองที่เปน็ ตน้ แบบดัง้ เดิมของเวยี นนสี วอลซ์ ระหวา่ งปี ค.ศ. 1800 และ ค.ศ. 1820 การกา้ วเท้า และรปู แบบท่าเตน้ ตา่ งๆ ของจงั หวะ LANDLER ได้ถกู ลดนอ้ ยลงไปเรอื่ ยๆ เนื่องจาก ความเรว็ ของดนตรีและจากน้ันการเตน้ 6 ก้าว ของเวียนนสี วอลซก์ ็ไดถ้ ือก�ำเนดิ ขึน้ ช่วงยุค 60’s (SIXTIES) ประเทศเยอรมันและอังกฤษได้มีการถกเถียงกันมากเกี่ยวกับ เร่ืองจ�ำนวนของรูปแบบท่าเต้นที่จะอนุญาตให้บรรจุเข้าในการแข่งขันในปี ค.ศ.1883 I.C.B.D. (INTERNATIONAL COUNCIL OF BALLROOM DANCING) ไดส้ รุปตกลงใจในข้นั สุดท้าย ดงั น้ี NATURAL ND REVERSE TURN, NATURAL AND REVERSE FLECKERS THE CONTRA CHECK เปล่ียนจาก RECERSE FLECKERS ไปยัง NATURAL FLECKERS เตน้ อยู่บนเวลา 1 บารข์ องดนตรี ลักษณะเฉพาะของจังหวะเวยี นนีสวอลซ์ เอกลักษณเ์ ฉพาะ การโคจรไปโดยรอบ การสวิงท่โี ลง่ อสิ ระ การเคลอ่ื นไหว เคลอื่ นท่ีไปขา้ งหน้า ห้องดนตรี 3/4 ความเร็วตอ่ นาที 58 – 60 บารต์ ่อนาที สอดคลอ้ งกับกฎของ WDSF การเนน้ จังหวะ บนบที ท่ี 1 ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการแข่งขัน 1 นาที ถงึ 1 นาที ครึ่ง การขึน้ และลง ไม่มกี ารเขย่งข้ึนในการหนั วงใน หลกั พลศาสตร์ การเลือ่ นไหลและเคล่อื นไปอย่างโลง่ อสิ ระ การสอ่ื ความหมายของจงั หวะเวียนนีสวอลซ์ จังหวะเวียนนีสวอลซ์ เป็นการเต้นร�ำท่ีเคลื่อนท่ีไปข้างหน้าในลักษณะโคจรไปโดยรอบ (ROTATING DANCE) ที่ร่วมกับการเน้นบนบีทที่ 1 ของดนตรี ลองคิดถึงว่าขณะท่ีก�ำลังวอลซิ่ง (WALTZING) เคลื่อนไปรอบๆ ฟลอร์แข่งขัน คนใดคนหน่ึง ท่านหรือคู่เต้นจะมีโอกาสอยู่ในวงใน (INNER TURN) หน่ึงครั้ง การเลื่อนไหลและการเคลื่อนไปข้างหน้าขณะอยู่วงใน ตัดสินใจได้จาก 158 คมู่ ือฝึกอบรมผู้ฝกึ สอนกีฬาลีลาศ

การเลอื่ นไหลและเคลอ่ื นไปขา้ งหนา้ จากการหนั ทอ่ี ยวู่ งนอก (OUTSIDE TURN) บอ่ ยครงั้ ทฝี่ า่ ยชาย เคลอื่ นไปขา้ งหน้ามากไปในขณะทอ่ี ยวู่ งใน ซึง่ ท�ำให้ฝ่ายหญิงเสยี การทรงตวั ขณะเตน้ อยู่วงนอก การท�ำสเวย์ก้าวแรกของ NATURAL TURN มากไป อาจขัดวงการเคล่ือนไหวของ การเคลือ่ นไหวที่เป็นธรรมชาติของล�ำตวั ในจังหวะเวยี นนีสวอลซส์ อดคลอ้ งกบั กฎเกณฑ์ ก้าวแรกน้ี จะไม่มีการสเวย์ อาจจะเหลือสเวย์ที่มีอยู่ก่อนแล้วเล็กน้อยตอนที่ก�ำลังเร่ิมออกเท้า ก้าวท่ี 1 และก้าวท่ี 4 การรวบชิดของเท้าต้องไม่ให้สังเกตเห็นได้ชัดจากอาการในช่วงบน (TOP LINE) และช่วงศรี ษะ (HEAD LIND) จงั หวะสโลว์ ฟอกซท์ รอท (SLOW FOXTROT) สโลว์ ฟอกซ์ทรอท จะถูกมองอยู่บ่อยๆ ว่าเป็นการเต้นร�ำท่ีจัดอยู่ในฐานะหัวใจหลัก (CORNER STONE) ของการเต้นร�ำแบบบอลรูม บางท่านถึงกับกล่าวว่า หากท่านสามารถเต้น จงั หวะน้ไี ดด้ ีแลว้ ทา่ นกจ็ ะมีพนื้ ฐานทเ่ี ติบโตขน้ึ มาเองโดยปริยาย ซึ่งท�ำให้เตน้ ร�ำจงั หวะอนื่ ๆ ได้ดี เช่นกัน โดยการปรับระดับการขึ้นและลงให้แน่ชัดและการได้มาของกลุ่มท่าเต้น (CHOREOGRAPHY) ที่เหมาะสมนักเต้นจังหวะสโลว์ ฟอกซ์ทรอทที่ดีปกติแล้วจะสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับจังหวะ ดนตรีไดเ้ กือบท้งั หมดไมเ่ หมอื นจังหวะอน่ื ๆ จังหวะสโลว์ ฟอกซ์ทรอทน้ีไม่ได้มีการเปล่ียนแปลงมากนักตั้งแต่มีการพัฒนาโครงสร้าง ของจงั หวะนป้ี ระกอบดว้ ยทา่ กา้ วอยา่ งพนื้ ฐาน และรปู แบบของทา่ เตน้ ทมี่ จี ำ� กดั หลายๆ ครง้ั ในการแขง่ ขนั ความหลากหลายอย่างมากมายที่มีให้กับการเต้นเป็นการท�ำลายความเป็นเอกลักษณ์ที่แท้จริง ของจังหวะสโลว์ ฟอกซ์ทรอท ซ่ึงมีปัจจัยพื้นฐานอยู่กับสไตล์ ความเก๋เท่ห์ ความสมดุลที่สง่างาม การเคล่ือนไหว และจังหวะเวลา ท่านจะไม่ชนะการเต้นจังหวะน้ี ด้วยรูปแบบท่าเต้นท่ีโลดโผน (EXTTING CHOREOGRAPHY) แต่ท่านจะชนะได้ด้วยการแสดงถึงการเคล่ือนไหวที่มีคุณภาพสูง ผา่ นเหนือฟลอร์ของการเข่งขัน ประวตั ิของจงั หวะสโลว์ ฟอกซ์ทรอท จงั หวะสโลว์ ฟอกซท์ รอท ได้ถูกแนะน�ำเข้ามาในทวปี ยโุ รป เพิง่ จะก่อนสงครามโลกครง้ั ที่ 1 จากรากฐานของมัน ฟอกซ์ทรอท เป็นการเต้นร�ำท่ีแสดงถึงอารมณ์ความรู้สึกด้วยการเคล่ือนไหว ที่มีท้ังชา้ และเรว็ พดู กนั ว่าชื่อนตี้ งั้ ขึน้ มาจากนกั เต้นรำ� ประกอบดนตรีคนหนง่ึ (MUSICAL DANCER) ชอื่ ฮารฟี อกซ์ (HARRYFOX) เหลา่ ครสู อนเตน้ รำ� ชาวยโุ รปไมค่ อ่ ยมคี วามกระตอื รอื รน้ นกั ตอ่ ลกั ษณะ การเต้นอย่างไม่มีรูปแบบของจังหวะสโลว์ ฟอกซ์ทรอทและเริ่มต้นขัดเกลาเพ่ืมขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1992 และ ค.ศ.1929 แฟรงคฟ์ อรต์ (FRANK FORD) ผซู้ ง่ึ เคยรว่ มสาธติ กับเซฟฟิน เบรดลีย์ (JOSEPHINE BRADLEY) ไดพ้ ฒั นาการเคล่อื นไหวพน้ื ฐานของจงั หวะสโลว์ ฟอกซท์ รอทขึ้น แนวคิดน้ี ท�ำให้ไดร้ บั ชยั ชนะในงานแข่งขนั เตน้ รำ� ในปี ค.ศ.1927 “STAR CHAMPIONSHIPS” รว่ มกับค่เู ตน้ คมู่ อื ฝึกอบรมผ้ฝู ึกสอนกฬี าลลี าศ 159

ที่ช่อื มอลลี่ สเปน (MOLLY SPAIN) ทา่ เต้นสว่ นมากท่ที ัง้ สองใช้เตน้ ในคร้ังน้ัน นกั กฬี ายังคงใช้อยู่ ถงึ ปัจจบุ นั ชว่ งเวลานน้ั ทำ� นองดนตรที ถี่ กู ตอ้ งยงั ไมค่ ดิ ทำ� ขน้ึ จงั หวะสโลว์ ฟอกซท์ รอท คดิ เลน่ อยา่ งไร ก็ได้ ซึ่งมีต้ังแต่จาก 40-50 บาร์ต่อนาที และเป็นการง่ายที่จะใช้สไตล์อย่างไรขึ้นอยู่กับความเร็ว ของดนตรที ่เี ปลยี่ นแปลงไป ตามแตว่ ่าใครท่ีจะเปน็ ผู้ควบคมุ วงดนตรี แตค่ รั้งนน้ั ครง้ั เดยี ว วงดนตรี วิคเทอซิลเวสเทอ (VICTOR SILVESTOR ‘ BAND) เรม่ิ ท�ำการปรบั ปรงุ และปญั หาก็ไดถ้ กู แกไ้ ข ลกั ษณะเฉพาะของจังหวะสโลว์ ฟอกซ์ทรอท เอกลักษณเ์ ฉพาะ ความบริสุทธิ์ชัดเจน และสงา่ งามอย่างมบี คุ ลกิ การเคล่ือนไหว ความต่อเนื่อง เคลื่อนไปข้างหน้าอย่างโล่งอิสระ และรูปแบบที่มี แนวตรงอย่างเปน็ ระเบยี บ หอ้ งดนตรี 4/4 ความเรว็ ต่อนาที 28 – 30 บาร์ต่อนาที สอดคล้องกบั กฎของ WDSF การเน้นจงั หวะ บนบีทที่ 2 ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการแขง่ ขนั 1 นาทีครึง่ ถงึ 2 นาที การขึน้ และลง ขึน้ หลังสิ้นสุด 1 ขนั้ ตอน 2 ขึน้ และหนว่ งลงหลังส้ินสุด 3 หลักพลศาสตร์ การเลอ่ื นไหลและเคลอ่ื นไปอยา่ งโล่งอิสระ การส่อื ความหมายของจงั หวะสโลว์ ฟอกซท์ รอท จงั หวะสโลว์ ฟอกซท์ รอท เปน็ จังหวะหนึ่งทีม่ ากไปด้วยรูปแบบของการเคลอื่ นท่ีไปขา้ งหนา้ และถอยหลงั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ซง่ึ ตรงและเปน็ แนวอยา่ งเปน็ ระเบยี บบนฟลอรก์ ารแขง่ ขนั เกยี่ วเนอื่ งจาก เอกลกั ษณข์ องความตอ่ เนอื่ งและการเลอื่ นไหลของจงั หวะสโลว์ ฟอกซท์ รอท เปน็ การยากทจ่ี ะทำ� ให้ เกดิ การขน้ึ และการลงทก่ี ลมกลนื ซงึ่ ผลลพั ธน์ ค้ี วรจะมกี ารตดั สนิ ใจทแี่ นว่ แนใ่ นการใชพ้ ลงั ทมี่ ที า่ ที ของการโอนอ่อนผ่อนตาม ซึ่งการนี้การใช้เท้าและการเปล่ียนน้�ำหนักจะไม่ท�ำให้เกิดการหดเกร็ง ของกล้ามเนื้อขณะท่ีก�ำลังหน่วงลง (LOWERING) กฎคือว่าเข่าจะยันรับน�้ำหนักของล�ำตัว โดยการยดื หยนุ่ กอ่ นทเ่ี ทา้ จะยนั รับวา่ และหนว่ งลงซงึ่ จะขาดเสียมิไดเ้ ลย การก้าวเท้าควรสนับสนุนการสวิงของล�ำตัว(ล�ำตัวต้องก่อน) โดยการดันส่งจากขาข้าง ที่รบั น้�ำหนกั และการดึง (PULLING) ขณะทขี่ าข้างท่กี ำ� ลังกา้ วไดม้ าถงึ ผู้ฝกึ สอนบางท่านอธิบายวา่ ควรจะใช้เทา้ ให้เปรียบเสมือนดงั่ “วงล้อ” ผู้เป็นแชมป์เปี้ยนสามารถที่จะลดลักษณะการดัน (PUSHING) และการดึง (PULLING) ของการก้าวเท้าของกันและกันอย่างแยบยล ผลจากการแสดงน้ีคือการเคลื่อนไหวของจังหวะ สโลว์ ฟอกซท์ รอทอันสวยสดงดงาม 160 คูม่ ือฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาลลี าศ

L R R LR R L L R R L R L L RL L RL R LR R L R R LL R คู่มือฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกฬี าลีลาศ 161

จังหวะคว๊กิ สเตป็ (QUICKSTEP) คว๊ิกสเต็ป เป็นจังหวะที่ให้ความสนุกสนานไม่มีขีดจ�ำกัดในความเร็ว การเคล่ือนไหว การโคจร และการหน่วงเวลาจนวินาทีสุดท้าย เพื่อสร้างความสนุกสนานบนฟลอร์การแข่งขัน “ควก๊ิ สเตป็ ” เปรยี บเสมอื นเปน็ ขวดแชมเปญอยา่ งดที ซ่ี งึ่ เปดิ ขนึ้ ในเวลาเดยี วกบั ทดี่ นตรเี รมิ่ บรรเลง และมันกเ็ ป็นจงั หวะหนงึ่ ดว้ ยทไี่ ด้ละทิง้ หลักการใชเ้ ทา้ เฉียดพืน้ ผิวฟลอร์ออกจากจงั หวะอื่น ประวตั ขิ องจังหวะควก๊ิ สเตป็ จงั หวะควก๊ิ สเตป็ ไดแ้ ตกแขนงมาจากจงั หวะฟอกซท์ รอท ชว่ งทศวรรษที่ 20 วงดนตรสี ว่ นมาก จะเล่นจังหวะฟอกซ์ทรอทถึง 50 บาร์ต่อนาที ซ่ึงเป็นความเร็วที่เร็วเกินไป การก้าวเท้าที่เปิดกว้าง ของจังหวะสโลว์ ฟอกซ์ทรอท ไม่สามารถจะท�ำการเต้นบนความเร็วขนาดน้ีได้ ชาวอังกฤษ ไดพ้ ฒั นามาจากการเตน้ ชาร์ลสทน่ั (CHARLESTON) ตน้ แบบซ่ึงเป็นจงั หวะหนึ่งของการเต้นทีต่ ่อเนื่อง โดยไม่มีการแตะเท้า และได้ท�ำการผสมผสนานกับจังหวะฟอกซ์ทรอท (เร็ว) ที่ได้กล่าวมาแล้ว เรียกจังหวะน้ีกันว่า จังหวะควิ๊กไทม์ ฟอกซ์ทรอท และชาร์ลสทั่น (CHARLESTON) คู่เต้นร�ำ ชาวอังกฤษ แฟรงคฟ์ อร์ด และมอลลี่ สเปญ (FRANKFORD AND MOLLY SPAIN) ได้เตน้ รูปแบบใหม่ ของจังหวะ QUICKSTEP FOXTROT AND CHARLESTON ในงานเดอะสตาร์แชมป์เปี้ยนชิพ ปี ค.ศ. 1927 โดยปราศจากลักษณะท่าทางของการใช้เข่าแบบ CHARLESTON และท�ำการเต้น เป็นคู่แทนการเต้นแบบเดี่ยว ลักษณะเฉพาะของจังหวะคว๊ิกสเต็ป เอกลักษณเ์ ฉพาะ กระฉับกระเฉง ตน่ื ตัวและชว่ั พริบตา ความเพลิดเพลนิ การเคล่ือนไหว อย่างรวดเร็ว ลูกเล่นของเท้าร่วมโบยบิน และเคล่ือนเลียดพื้น อย่างโล่งอสิ ระ ห้องดนตร ี 4/4 ความเรว็ ต่อนาที 50 – 52 บารต์ ่อนาที สอดคลอ้ งกับกฎของ WDSF การเน้นจังหวะ บนบที ท่ี 1 และ 3 ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการแข่งขนั 1 นาทีครึ่ง ถงึ 2 นาที การขน้ึ และลง เร่ิมข้ึนหลังส้ินสุด 1 “ข้ึน” ต่อเน่ืองตอน 2 และ 3 ข้ึน/ลดลง หลงั สิ้นสุด 4 หลกั พลศาสตร์ การเล่อื นไหลโบยบิน และการเคลอ่ื นท่เี ลยี ดพืน้ การสอื่ ความหมายของจงั หวะคว๊ิกสเต็ป รา่ งสองรา่ งกำ� ลงั เคลอื่ นทใี่ นความเรว็ ตามความตอ้ งการของจงั หวะควก๊ิ สเตป็ เหนอื สงิ่ อน่ื ใด การท�ำให้เป็นจังหวะเดียวกัน รวมไปถึงการเข้าใจเก่ียวกับการเกร็งยืดของขา และวิธีการ 162 คมู่ อื ฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศ

ใช้ข้อเท้าระหว่างปฏิบัติการของลูกเล่นของเท้า (TRICKSTEPS) ทั้งคู่ ต้องการการปรับระดับ การควบคุม (TONING) ของเท้าและขา เปรียบเทียบได้กับจังหวะไจว์ฟ (JIVE) ในการเต้น แบบลาติน อเมริกนั การสอื่ ความหมายของดนตรที ถ่ี กู ตอ้ ง จงั หวะเวลาของการชา้ (SLOWS) ควรยดื ออกเลก็ นอ้ ย เพอื่ สร้างพลังของอาการคมชัดในขอ้ เท้า ใน “การเรว็ ” (QUICKS) ประสบการณ์ของการใช้ฟลอร์ (FLOORCRAFT) ในจงั หวะนีม้ ีความส�ำคญั มากกว่าการเตน้ รำ� แบบอนื่ ๆ Natural spin tLu.Orn.DW. 5 Natural spin tLu.Orn.DW. 6 To 1 7 5 To 1 43 8 6 7 10 8 2 9 43 1 10 2 9 1 L.O.D L.O.D WOMAN MAN L R 4 8 L R8 L R4 R 6 L 2L 6 L 7 7 3R R 2 L L 3 1R L1 5R L R 5 LL 4 R L R4 คู่มอื ฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าลีลาศ 163

จงั หวะแซมบา้ SAMBA เป็นจังหวะที่มีชีวิตชีวา โดยปกติแล้วจะน�ำมาซึ่งความต่ืนเต้นเร้าใจบนฟลอร์ของ การแข่งขัน การออกแบบท่าเต้น การมีดุลยภาพร่วมกับการทรงตัวท่ีหยุดน่ิง และรูปแบบของ การเตน้ ซิกแซกทีเ่ คล่อื นไหวไปขา้ งหน้า โดยทวั่ ไปแล้วแซมบ้าเปน็ การเต้นรำ� ทีเ่ คลื่อนท่ไี ปขา้ งหน้า ลักษณะการเคล่ือนไหวควรท่ีจะสะท้อนถึงลักษณะการเดินพาเหรดเป็นวงกลมในท่ีว่าง บางครั้ง จะแสดงถงึ ลีลาอวดผู้ชมโดยการเต้นอยกู่ ับที่ การเต้นแซมบ้าแบบแข่งขันในปัจจุบัน มีความเปล่ียนแปลงจากรูปแบบดั้งเดิมของ “บราซิลเล่ียนแซมบ้า” ไปเป็นอย่างมาก ซ่ึงในอดีตน้ันเน้นการกระตุ้นให้ผู้คนเกิดความรู้สึกที่ลุ่มหลง คล่ังไคล อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าแซมบ้าจะเปลี่ยนแปลงจากรูปแบบดั้งเดิมไป โดยละท้ิงลักษณะ การเตน้ แบบพาเหรดและความมชี วี ติ ชวี าลงไปบา้ ง มไิ ดท้ ำ� ใหเ้ สยี ภาพลกั ษณข์ องแซมบา้ แตอ่ ยา่ งไร สิ่งท่ีต้องการจะเห็นจากคู่แข่งขันก็คือ การใช้ความยืดหยุ่นของร่างกายเป็นอย่างมาก ท่อนแขนจะมีบทบาทส�ำคัญรองลงมา โดยใชเ้ พอ่ื ทำ� ใหเ้ กิดความสมดุลในการใช้ร่างกายเต้นเขา้ กบั จังหวะ นักเต้นแซมบ้าท่ีดีควรตระหนักถึงการใช้น�้ำหนักและจะต้องไม่เพิ่มเติมความหนักหน่วง ลงไปในน�้ำหนักของการเคลื่อนไหวทเี่ ป็นจริง ส่ิงส�ำคัญท่ีสุดส�ำหรับนักกีฬา คือ ต้องให้ความส�ำคัญไปที่ลักษณะการผ่อนคลาย และการใชน้ ำ�้ หนกั การเนน้ เพอ่ื เพมิ่ ทศั นะการตอ่ สบู้ นฟลอรก์ ารแขง่ ขนั เพอ่ื เชอื ดเฉอื นใหอ้ อกมาเปน็ แซมบ้าทเ่ี ปี่ยมไปดว้ ยชีวติ ชีวา ประวตั ขิ องจังหวะแซมบา้ ต้นแบบของแซมบ้ามาจากอัฟริกา แต่ได้รับการพัฒนามากท่ีสุดที่ประเทศบราซิล ซ่ึงจะปรากฏให้เห็นในงานเทศกาลร่ืนเริง และตามโรงเรียนสอนจังหวะแซมบ้าในประเทศบราซิล ปี ค.ศ.1925 จังหวะแซมบ้าได้เริ่มแพร่หลายเข้าสู่ทวีปยุโรป ถึงแม้ว่าแซมบ้าจะได้รับการยอมรับ เป็นจังหวะหน่ึงที่ใช้ในการแข่งขันก็ตาม แต่การบุกเบิกคร้ังส�ำคัญของจังหวะแซมบ้าได้เกิดข้ึน เม่อื ปี ค.ศ.1939 ในงานมหกรรมการแสดงระดับโลกในนครนิวยอร์กจังหวะแซมบ้าได้ถกู ยอมรับ อย่างแท้จริงในปี ค.ศ. 1948-1949 ผู้ที่ได้พัฒนาจังหวะแซมบ้ามากที่สุดคือ WALTER LAIRD และ LORRAINE ซงึ่ ทง้ั สองทา่ นเปน็ อดตี แชมปเ์ ปย้ี นโลกของการเตน้ รำ� แบบลาตนิ อเมรกิ นั ทม่ี ชี อื่ เสยี ง โด่งดังในยุคนั้น ลกั ษณะเฉพาะของจังหวะแซมบ้า เอกลกั ษณ์เฉพาะ เบกิ บาน มชี วี ิตชวี า และความพึงพอใจ การเคลื่อนไหว แบบซิกแซก เคลื่อนที่แบบเดินขบวนและแบบวงกลม เต้นในท่ีโล่ง หรืออยูก่ บั ที่ 164 คู่มอื ฝกึ อบรมผ้ฝู ึกสอนกีฬาลีลาศ

หอ้ งดนตร ี 2/4 ความเร็วต่อนาท ี 50 – 52 บาร์ต่อนาที สอดคลอ้ งกบั กฎของ WDSF การเน้นจังหวะ บนบที ที่ 2 ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการแขง่ ขนั 1 นาทีคร่งึ ถึง 2 นาที การขนึ้ และลง ทา่ เบ้าส์ (Bounce) ของแซมบ้า หลักพลศาสตร์ ความหนักหน่วง ยดื หยุ่น ฉับพลัน และกท็ ันทที ันใด การสือ่ ความหมายของจงั หวะแซมบา้ แบบฉบับท่าทางการยืดหยุ่นข้ึนและลงของแซมบ้า ก่อเกิดการย่นย่อและการเหยียดตึง ของเข่าและข้อเท้าของขาข้างท่ีรองรับน�้ำหนักอยู่ ในแต่ละคร้ังของการยืดขึ้นและหน่วงลงใช้เวลา ครง่ึ บีท (1/2 Beat) ของดนตรี ระดบั ของการใช้ความยืดหยุน่ ในทา่ เตน้ ต่างๆ ไมเ่ หมอื นกนั ท้ังหมด บ้างก็มีเพียงเล็กน้อย บา้ งกไ็ ม่มีการข้นึ และลงเลย ลีลาท่าทางแซมบ้า ความสะท้อนให้เห็นถึงการเดินพาเหรดเคลื่อนเป็นวงกลมในท่ีโล่ง แสดงอวดผู้ชมบ้างในบางคร้ัง ด้วยการเต้นพกั อยกู่ ับที่ 12 AH L R LR 12 LEADER FOLLOWER คมู่ อื ฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลลี าศ 165

จงั หวะชา่ ชา่ ช่า CHA CHA CHA หลงั จากทกี่ ารแขง่ ขนั แซมบา้ สน้ิ สดุ ลง จะเหน็ วา่ คแู่ ขง่ ขนั ตา่ งพากนั เลอื กตำ� แหนง่ บนฟลอร์ เพื่อเต้นร�ำจังหวะช่า ช่า ช่า ซ่ึงเป็นจังหวะท่ีสองของการแข่งขัน ช้ีให้เห็นว่าองค์ประกอบ การจัดท่าเต้นของจังหวะนี้ไม่เน้นให้มีการเต้นแบบเดินไปข้างหน้า ฉะน้ัน นักกีฬาจึงมีโอกาสท่ีจะ เลือกท่ีว่างตามความถนัดบนฟลอรข์ องการแขง่ ขนั ในท่าเต้นท่ีได้รับการจัดรูปแบบแล้ว บรรดานักเต้นจะเน้นการใช้ขาและเท้า ร่วมกันกับ กริ ิยาทา่ ทางของการใช้ล�ำตัว ซึง่ ความสำ� คัญนจ้ี ะมมี ากกว่าจังหวะก่อนหน้านหี้ รอื จังหวะแซมบ้า ประวตั ิจังหวะช่า ชา่ ชา่ จังหวะช่า ชา่ ชา่ ไดร้ ับการพฒั นามาจากจังหวะแมมโบ้ (MAMBO) และเป็นจงั หวะลาตนิ ที่คนส่วนมากชอบที่จะเลือกเรียนรู้เป็นอันดับแรก ชื่อของจังหวะนี้ต้ังขึ้นโดยการเลียนเสียงเท้า ขณะทก่ี ำ� ลงั เตน้ รำ� ของสตรชี าวควิ บา จงั หวะชา่ ชา่ ชา่ ไดถ้ กู พบเหน็ เปน็ ครง้ั แรกทป่ี ระเทศอเมรกิ า และระบาดเขา้ ไปสยู่ โุ รป เกอื บจะเปน็ เวลาเดยี วกนั กบั จงั หวะแมมโบ้ หลงั สงครามโลกครงั้ ที่ 2 จงั หวะ แมมโบไ้ ดเ้ สอ่ื มความนยิ มลงไป โดยหนั มานยิ มจงั หวะชา่ ชา่ ชา่ ซง่ึ กลายเปน็ ความนยิ มอยา่ งจรงิ จงั ในปี ค.ศ. 1956 หากสอดคลอ้ งกบั ตน้ แบบแลว้ ดนตรขี องจงั หวะชา่ ชา่ ชา่ ควรเลน่ ดว้ ยอารมณค์ วามรสู้ กึ โดยปราศจากความตงึ เครยี ดใดๆ รว่ มดว้ ยลกั ษณะการกระแทกกระทนั้ ของจงั หวะทที่ ำ� ใหน้ กั เตน้ รำ� สามารถทจ่ี ะสรา้ งบรรยากาศของความรสู้ กึ ทขี่ เี้ ล่นและซุกซนให้กับผชู้ มได้ เมอื่ ไม่นานมานี้ เป็นที่ตกลงกันไว้ว่า ใหต้ ดั ทอนชือ่ ให้สน้ั ลง เป็นชา่ ชา่ ลักษณะเฉพาะของจงั หวะชา่ ชา่ ช่า เอกลักษณ์เฉพาะ กระจมุ๋ กระจ๋มิ เบิกบาน การแสดงความรกั ใคร่ การเคลื่อนไหว อยู่คงที่ คู่เต้นร�ำเคลื่อนท่ีไปในทิศทางตรงกันข้าม และร่วมทศิ ทางเดยี วกัน ห้องดนตร ี 4/4 ความเรว็ ตอ่ นาท ี 30 – 32 บารต์ ่อนาที สอดคล้องกับกฎของ WDSF การเน้นจงั หวะ บนบีทท่ี 1 ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการแข่งขัน 1 นาทีครึ่ง ถึง 2 นาที การขนึ้ และลง ทา่ เบา้ ส์ (Bounce) ของแซมบา้ หลกั พลศาสตร์ การเคล่ือนที่ตามเวลา ทันทีทันใด หนักหน่วงโดยตรง และการเคลื่อนไหวทีเ่ ป็นอิสระ 166 ค่มู ือฝึกอบรมผูฝ้ กึ สอนกฬี าลีลาศ

การสื่อความหมายของจงั หวะชา่ ช่า ช่า ความส�ำคัญของจังหวะนี้อยู่ที่ขาและเท้า โครงสร้างของการจัดท่าเต้นไม่ควรให้ม ี การเคลอื่ นทมี่ ากนกั และตอ้ งมคี วามสมดลุ ทผ่ี ชู้ มสามารถจะเขา้ ใจในรปู แบบและตดิ ตามทศิ ทางได้ สิง่ ทค่ี วรใสใ่ จอยา่ งยง่ิ ควรมุง่ เนน้ ไปท่ี “จงั หวะเวลา” ของการเคล่อื นไหวในแต่ละทา่ ทาง Ladies - Basic Cha Cha 3 Start 10 8 7 75 41 2 2 4 6 96 10 Start 9 8 1 3 5 Mens - Basic Cha Cha ภาพรอยเท้าชาย - หญงิ ครึ่งแรกชาย - คร่งึ หลงั หญิง 5 34 1 2 คร่งึ แรกหญิง - ครึง่ หลังชาย 1 43 5 2 คูม่ อื ฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกฬี าลลี าศ 167

จังหวะรมุ บ้า RUMBA ถงึ เวลาของรมุ บ้า ดังนั้น จงึ เปน็ เวลาทเี่ พิม่ ความตงึ เครียดระหวา่ งคแู่ ขง่ ขัน ทั้งชายและหญงิ มักมีความส�ำคัญอย่างยิ่งที่รูปแบบของการออกแบบท่าเต้น ต้องเน้นให้ฝ่ายหญิงสามารถที่จะใช้ สะโพกผา่ นการเคลอ่ื นไหวได้ การแสดงออกของฝา่ ยหญงิ ตอ้ งแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การตอบสนองตอ่ การ ใหค้ วามรสู้ กึ ซึง่ ผลของการเคล่ือนไหวของสะโพกเกิดขึ้นเนื่องจากฝ่ายชาย การเคลื่อนไหวสะโพก ของฝ่ายชาย แสดงออกถึงการให้ความรู้สึกยั่วยวน ซึ่งเป็นไปอย่างระมัดระวังแต่ไม่ใช้เป็นสิ่งส�ำคัญนัก ส�ำหรับฝ่ายชาย การใช้ทุกสัดส่วนของร่างกายเพ่ือที่จะสร้างอิทธิพลทางกายภาพให้ฝ่ายหญิง เกิดความประทบั ใจ ฝ่ายชายควรท่ีจะสรา้ งความร้สู กึ ใหเ้ ห็นว่ามีความตอ้ งการฝา่ ยหญิง นักกีฬาไม่ควรเต้นเคล่ือนท่ีไปรอบๆ ฟลอร์ แต่ควรที่จะท�ำการเต้นอยู่ในส่วนพื้นที่ว่าง ของตัวเองในลักษณะทอ่ี ย่คู ู่กัน การย่างก้าวไม่ไดถ้ กู สรา้ งขน้ึ มาให้เคล่อื นไปข้างหนา้ แต่เป็นการเปลีย่ นถา่ ย นำ�้ หนักร่วมกันกับการบิดเอ้ียวล�ำตัวเล็กน้อย ในลักษณะย่ัวยวนและการใช้สะโพกที่เป็นธรรมชาติ ในขอบเขตท่เี ปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะของจังหวะรุมบา้ อย่างแทจ้ รงิ ควรออกแบบท่าเต้นท่ีโลดโผนในลักษณะกายกรรมและด้วยการแสดงออกของหน้าตา ทไี่ มเ่ ปน็ ธรรมชาติ โดยเกย่ี วเนอ่ื งมาจากองคป์ ระกอบของทา่ เตน้ ซงึ่ ไมท่ ำ� ใหเ้ กดิ อารมณร์ ว่ มเสยี เลย อยากทจี่ ะแนะนำ� ใหค้ เู่ ตน้ เหลา่ นนั้ ยอ้ นกลบั ไปหาองคป์ ระกอบพน้ื ฐานของธรรมชาติ คอื การยว่ั ยวน เย้าหยอก และการผละหนอี ยา่ งมีจริตของหญงิ -ชาย ประวตั ขิ องจงั หวะรมุ บา้ ประมาณกันวา่ รุมบา้ น�ำเขา้ มาในอเมริกาโดยทาสชาวอัฟริกัน แต่เม่อื ราว ปี ค.ศ.1928 – 1929 การก้าวเท้าและรูปแบบการเต้นของจังหวะน้ียังไม่ชัดเจนทีเดียว ส่วนมากทึกทัก เอาการเต้นของจังหวะน้ีเป็นการเต้นรูปแบบใหม่ของจังหวะฟอกซ์ทรอท โดยเพิ่มการใช้สะโพกลงไป หลงั สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 รุมบ้าได้รับการพัฒนาตอ่ ใหเ้ ปน็ คิวบนั รุมบา้ โดย MONSIEUR PIERRE และ DORIS LAVELL นกั เตน้ ชาวองั กฤษ ซงึ่ มีโรงเรียนสอน เต้นร�ำอยู่ท่ีถนน REGENT ในนครลอนดอน แต่ก็ยังไม่ได้มาตรฐานเท่าท่ีควรจนกระทั่ง WATER LAIRD เริ่มเขยี นตำ� ราเตน้ ร�ำของลาตนิ ขน้ึ ผลงานของเขาได้รบั การยอมรบั เปน็ อยา่ งมากจากหลาย องคก์ รของการเตน้ ร�ำ จึงทำ� ให้การจัดมาตรฐานบรรลคุ วามเปน็ จริง ลักษณะเฉพาะของจังหวะรุมบ้า เอกลกั ษณ์เฉพาะ ยว่ั ยวน กระตนุ้ ความร้สู กึ ดดู ด่มื และการผละหนอี ย่างมีจรติ การเคลือ่ นไหว คงทโ่ี ล่งอิสระ การเลอื่ นไหล การต่อเน่ืองร่วมกับการเน้นจังหวะ ห้องดนตร ี 4/4 ความเรว็ ตอ่ นาที 25 – 27 บาร์ตอ่ นาที สอดคลอ้ งกับกฎของ WDSF การเนน้ จงั หวะ บนบที ที่ 4 ของแต่ละบาร์ 168 คมู่ อื ฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกฬี าลีลาศ

ระยะเวลาท่ใี ช้ในการแขง่ ขนั 1 นาทคี รง่ึ ถึง 2 นาที หลกั พลศาสตร ์ ความหนกั หนว่ ง เคลอื่ นทต่ี ามเวลา การเดนิ ทมี่ น่ั คง และตรงทศิ ทาง การส่อื ความหมายของจังหวะรมุ บ้า ในจังหวะนี้ ความส�ำคัญอยู่ที่ล�ำตัว การเคลื่อนไหวของสะโพกเกิดขึ้นจากการควบคุม การโอนถ่ายน้�ำหนักจากเท้าหน่ึงไปยังอีกเท้าหน่ึง การก้าวเท้าแต่ละก้าวใช้เวลาครึ่งบีทของดนตรี ท่าทางของล�ำตัวเกิดขึ้นบนคร่ึงท่ีสองของบีท ความใส่ใจท่ีส�ำคัญควรมุ่งใช้ไปท่ีหลักพลศาสตร์ และจงั หวะดนตรี เพอ่ื เพมิ่ ความเคลอ่ื นไหวอยา่ งตอ่ เนอื่ งกบั ความตอ้ งการทต่ี รงกนั ขา้ ม และความเยา้ ยวน อารมณ์ ล�ำตัวจะไม่มีการหยุดเพ่ือการเปล่ียนท่า การเคลื่อนไหวของแขนจะเริ่มจากจุดศูนย์กลาง ของล�ำตวั และนัน่ คือ ผลจากการเคลือ่ นไหวของลำ� ตวั ควรให้ความใส่ใจกับการแสดงความชัดเจนของการใช้เท้า เท้าจะสัมผัสพื้นผิวของฟลอร์ อย่างต่อเน่ืองและแผ่วเบา ฝ่ายชายจ�ำเป็นต้องใช้ความรู้สึกท่ีให้อารมณ์ในการน�ำด้วยมือ แขน และด้วยจติ ใจ ปล่อยใหฝ้ า่ ยหญิงเปน็ ฝา่ ยแสดง RR L LL R R LL L RR คมู่ ือฝกึ อบรมผูฝ้ ึกสอนกีฬาลีลาศ 169

จงั หวะพาโซโดเบล (PASO DOBLE) จังหวะพาโซโดเบลที่อยู่บนฟลอร์การแข่งขัน ควรสร้างบรรยากาศของการสู้วัวกระทิง ตามแบบฉบบั ของชาวสเปน ส�ำหรับการเตน้ จังหวะนี้ เปน็ การเต้นรำ� ส�ำหรบั ฝ่ายชาย ซงึ่ ให้โอกาส ได้ครอบครองพื้นที่ว่าง ด้วยท่าทางท่ีเป็นสามมิติ และเคลื่อนไหวการเต้นด้วยความทะนง และภมู ฐิ าน “PRIDE AND DIGNITY” นกั เตน้ รำ� ชายสว่ นมาก ใหค้ วามสำ� คญั นอ้ ยไปกบั การควบคมุ (TONGING) ส่วนของล�ำตัวที่จะท�ำให้การเต้นของจังหวะน้ีมีท่าทีเฉียบคมและฉับพลัน ลักษณะ ของพาโซโดเบล คอื การเดนิ มาร์ช (MARCHING) สว่ นลีลาทา่ ทางอย่ทู ี่การยา่ งกา้ วและการโบกสะบดั ของผืนผ้าที่ใช้ส�ำหรับกีฬาสู้วัวกระทิง เพ่ิมความตึงเครียดระหว่างคู่เต้นร�ำ อย่างไรก็ตามแต่ ฝ่ายหญงิ เปรียบเสมอื นเป็นผ้าแดง แต่ไมใ่ ช่วัวกระทงิ ควรให้ความใส่ใจกับการแบ่งช่วงห้องดนตรีและรูปแบบของการออกแบบท่าเต้นท ี่ มไิ ดม้ งุ่ ไปขา้ งหนา้ โดยเพม่ิ พลงั และความเขม้ แขง็ ทตี่ อ้ งสงั เกตเหน็ ไดจ้ ากผชู้ มและกรรมการผตู้ ดั สนิ ประวตั จิ ังหวะพาโซโดเบล พาโซโดเบล เปน็ จังหวะการเต้นร�ำเพยี งจงั หวะเดียวในแบบลาติน อเมริกัน ที่ไม่ได้มีทีม่ า จากชนผวิ ดำ� (NEGRO) ถน่ิ กำ� เนดิ ทแ่ี ทจ้ รงิ อยทู่ ป่ี ระเทศสเปน ขดี ความนยิ มแพรห่ ลายสงู สดุ เกดิ ขน้ึ เมอื่ ปี ค.ศ.1926 ภายหลงั สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 จงั หวะพาโซโดเบลไดร้ บั การยอมรบั ใหบ้ รรจเุ ขา้ เปน็ จังหวะหนง่ึ ของการแขง่ ขนั ลกั ษณะเฉพาะของจงั หวะพาโซโดเบล เอกลักษณเ์ ฉพาะ สง่าและภาคภมู ิ ความเป็นชาวสเปน อวดลลี าการเต้นแบบฟลามิงโก้ การเคลอ่ื นไหว ในที่โล่งและเคลื่อนไหวไปข้างหน้า การโบกสะบัดผ้าคลุม การเคลือ่ นไหวเปน็ วงกลมและการเดินมารช์ ห้องดนตรี 2/4 ความเร็วต่อนาที 60 – 62 บาร์ต่อนาที สอดคล้องกบั กฎของ WDSF การเน้นจังหวะ เนน้ เล็กน้อย บนบที ที่ 1 ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการแข่งขัน 1 นาทคี ร่ึง ถึง 2 นาที หลักพลศาสตร ์ การเดินแบบมารช์ ท่มี นั่ คงและตรงทศิ ทาง การสอื่ ความหมายของจงั หวะพาโซโดเบล จุดส�ำคญั ของจงั หวะน้ี ควรอยู่ท่ีการเนน้ ลำ� ตวั และทา่ ทางตา่ งๆ โดยการใชล้ ลี าของ แขน ข้อศอก ข้อมือ และนิ้วมือตามแบบการเต้นฟลามิงโก้ (FLAMENCO) ท่ีออกไปในทางสามมิติ ตามจริง การใช้สั้นเท้าควรแสดงให้เห็นถึงการใช้จังหวะที่ถูกต้อง ลักษณะเฉพาะควรรวมไปถึงท่า SPANISH LINES, PRESS LINES การเขย่งข้ึนและลง (ELEVATION) การเต้นแบบชาสเช่ ด้วยลลี า โบกผา้ (CHASSE CAPES) และการเคาะเท้าแบบฟลามงิ โก (FLAMENCO TAPS) การยกแขนขนึ้ ควรท�ำด้วยการควบคุม (TONING) อย่างดีเยยี่ มดว้ ยทศิ ทางทีย่ อ้ นกลบั เข้าหาตัว 170 คูม่ ือฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาลลี าศ

จงั หวะไจว์ฟ (JIVE) จังหวะ “ไจวฟ์ ” เป็นจังหวะทค่ี ู่เตน้ ร�ำควรแสดงการใช้จังหวะ ซึ่งเป็นความตอ้ งการของ ผ้ชู ม “จังหวะและก็จังหวะ” ผสมผสานกับความสนกุ สนานและการใชพ้ ลงั อยา่ งสงู การเน้นจังหวะ ลว้ นอยทู่ ข่ี าทง้ั คู่ ท่ีแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การเตะ และการดดี สะบัดปลายเท้า คู่เต้นร�ำต่างเอาใจใส่กับการเคล่ือนท่ีไปรอบๆ เต้นเข้าและเต้นออกรอบจุดศูนย์กลาง ท่เี คลือ่ นไหวอยู่ การเต้นลกั ษณะนมี้ ือตอ้ งจับกันไว้ จะเห็นสไตลก์ ารเต้นแบบสากลท่ีไดร้ ับอิทธพิ ล โดยวัฒนธรรมชาวยุโรป อย่างเช่น ROCK’N ROLL มากกว่ารูปแบบการเต้นของไจว์ฟที่มี รากเหง้ามาจากอัฟริกา (สวงิ ) การออกแบบท่าเต้น ควรสมดุลร่วมกับลีลาที่ผสมผสานกลมกลืนของการเต้นที่เป็น อันหนึ่งอันเดียวกันและการแสดงเด่ียว ท่ีต้องท�ำให้เกิดผลสะท้อนกลับของผู้ชม การเต้นของจังหวะน้ี หากมีปฏิกิริยาตอบรบั จากผู้ชมจะมผี ลทำ� ให้คูเ่ ตน้ ร�ำมกี �ำลงั ใจยิ่งข้ึน ประวตั จิ ังหวะจงั หวะไจว์ฟ ไจว์ฟ เป็นจังหวะเต้นร�ำที่มีจังหวะจะโคนและการสวิง ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจาก ROCK’N ROLL, BOGIE และ AFRICAN.AMERICAN SWIMG ต้นก�ำเนิดของไจว์ฟมาจาก NEWYORK, HALEM ในปี ค.ศ.1940 ไจวฟ์ ไดร้ ว่ มกันถกู พัฒนาไปส่จู ังหวะจิกเตอร์บัคจ์ (JITTERBUG) และจากน้ัน MR.JOS BARDLY และ MR.ALEX MOORE ชาวอังกฤษได้พัฒนาจังหวะดังกล่าว จากนั้นไจว์ฟจงึ ได้เข้าสู่การแข่นขันในระดับสากล ลักษณะเฉพาะของจังหวะไจวฟ์ เอกลักษณเ์ ฉพาะ การมจี งั หวะจะโคน การออกทา่ ทาง เตะ และดีดสบัด การเคลอื่ นไหว เคลอื่ นไปข้างหนา้ มุ่งไปข้างหนา้ และยอ้ นกลบั มาจาก จดุ ศูนยก์ ลาง ห้องดนตร ี 4/4 ความเรว็ ต่อนาท ี 42 – 44 บาร์ต่อนาที สอดคล้องกับกฎของ WDSF การเนน้ จังหวะ บนบที ท่ี 2 และ 4 ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการแขง่ ขนั 1 นาทคี รึง่ ถงึ 2 นาที หลักพลศาสตร ์ ฉับพลัน ตรงและการเคลอื่ นไหวท่ีแผว่ เบา คูม่ ือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศ 171

การสอื่ ความหมายของจงั หวะไจวฟ์ สไตลส์ ากลของจงั หวะน้ี ควรแสดงให้เห็นถงึ การใชเ้ ท้าเตะและดีดสะบดั ขณะที่แบบเกา่ ด้ังเดิมใช้ส่วนของร่างกาย (TORSO) และส่วนของสะโพกมากกว่า ปัจจุบันในการแข่งขันจะเห็น การผสมผสานของการเตน้ ทงั้ สองสไตล์ กส็ ดุ แลว้ แตว่ า่ จะชอบสไตลไ์ หน และใหค้ อยตดิ ตามผลทไ่ี ด้ รับจากกรรมการตัดสนิ 1 R 2 8 67 5 LR 4 LR R START 3 START 5 76 L LR 2 LR 1 L 172 คูม่ อื ฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลลี าศ

บ ทที่ 10 กตกิ ากีฬาลลี าศ กตกิ าการแข่งขันกีฬาลีลาศของสหพันธก์ ีฬานานาชาติ (IDSF Competition Rules) (การกฬี าแห่งประเทศไทย, 2555) สหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาติ ไดท้ ำ� การปรบั ปรงุ กตกิ าการแขง่ ขนั กฬี าลลี าศของสหพนั ธฯ์ ในระหวา่ งการจดั ประชมุ ประจำ� ปขี องสหพนั ธฯ์ เมอ่ื วนั ที่ 14 พฤษภาคม 2543 ณ กรงุ มวิ นคิ ประเทศ เยอรมนี และแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ตามมติที่ประชุม ณ เมืองโลซาน ประเทศสวสิ เซอร์แลนด์ ประกาศใช้ เมอื่ วนั ที่ 3 มถิ นุ ายน 2544 โดยมรี ายละเอยี ดในดา้ นกตกิ าการแขง่ ขนั เกย่ี วกบั องคก์ รทที่ ำ� หนา้ ทค่ี วบคมุ ดูแล การใช้กติกาการแข่งขัน เงินรางวัล การโฆษณา การจัดระดับการแข่งขัน ความชอบธรรม ในการจดั การแขง่ ขนั การเชญิ เขา้ รว่ มการแขง่ ขนั การจา่ ยเงนิ คนื การใชส้ ารกระตนุ้ การดำ� เนนิ การ แข่งขันระดับนานาชาติ ข้อก�ำหนดทางด้านอายุเคร่ืองแต่งกายคู่ลีลาศ การแข่งขันชิงแชมป์เปี้ยน ฟอรเ์ มชน่ั นานาชาติ อำ� นาจของคณะกรรมการบรหิ ารสหพนั ธฯ์ และการใชก้ ตกิ าการแขง่ ขนั ดงั นน้ั ผู้ท่ีเป็นนักกีฬาลีลาศจ�ำเป็นต้องศึกษากติกาดังกล่าวให้เข้าใจจึงจะสามารถวางแผนส�ำหรับ การแข่งขันไดด้ ี กตกิ าขอ้ ท่ี 1 องคก์ รทีด่ ำ� เนินการควบคุมดูแล สหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF) เป็นองค์กรที่ก�ำกับดูแลการแข่งขันกีฬาลีลาศ และนกั กฬี าลลี าศ รวมไปถงึ การแขง่ ขนั สมคั รเลน่ ทกุ ระดบั ชน้ั ในแตล่ ะประเทศ ตลอดจนถงึ ประเทศ ที่เป็นสมาชิกของสหพนั ธก์ ีฬาลลี าศนานาชาติและท่ีเปน็ ระดบั สากล กติกาข้อที่ 2 การประยุกตใ์ ช้กตกิ า 1. กติกาข้อนี้ให้ประยุกต์ใช้กับการแข่งขันกีฬาลีลาศนานาชาติ ซ่ึงจัดโดยองค์กรท่ีเป็น สมาชกิ ของสหพนั ธฯ์ รวมถงึ การแขง่ ขนั ประเภท Standard, Latin, New Vogue,American Style, Rock’n Roll, Old Time, Modern และ Latin Sequence สำ� หรับกตกิ า Rock’n Roll ใหใ้ ช้ กติกาท่กี �ำหนดโดยสมาพนั ธ์เวิลด์ รอ็ คแอนดโ์ รล (World Rock’n Roll Confederation) ซึ่งเปน็ สมาชิกร่วมของสหพนั ธก์ ีฬาลลี าศนานาชาติ 2. คณะกรรมการบรหิ ารของสหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาติ จะเปน็ ผพู้ จิ ารณาวา่ จะสามารถ ประยกุ ตใ์ ชร้ ว่ มกบั กติกาไดห้ รอื ไม่ 3. สำ� หรับรายการแข่งขันที่เป็นกรณพี ิเศษ 4. ผู้เข้าร่วมในการแข่งขันของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติจะต้องสังกัดในองค์กรที่เป็น สมาชกิ ของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ คู่มอื ฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาลีลาศ 173

กตกิ าข้อที่ 3 เงินรางวัล ในการแข่งขันกีฬาลีลาศของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ เงินรางวัลสามารถที่จะจ่ายให้ได้ เทา่ กบั ทางสหพันธฯ์ จ่ายให้กับการแขง่ ขันเวิลด์ โอเพน่ (IDSF World Open) แต่ถา้ ผู้ทจ่ี ดั การแข่งขัน ก�ำหนดเงินรางวัลไว้สูงกว่าการแข่งขันเวิลด์ โอเพ่น ของสหพันธ์ฯ จะต้องได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบรหิ ารของสหพันธฯ์ กอ่ น กตกิ าขอ้ ท่ี 4 การโฆษณา 1. ในการแขง่ ขนั ทไ่ี ดร้ บั การรบั รองจากสหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาติ คแู่ ข่งขนั จะตดิ ปา้ ย โฆษณาของผใู้ หก้ ารสนบั สนนุ ไดไ้ มเ่ กนิ 2 ราย บนชดุ สำ� หรบั แขง่ ขนั และใหม้ ขี นาดไมเ่ กนิ 40 ตาราง เซนตเิ มตรต่อผู้ใหก้ ารสนบั สนนุ 1 ราย ต�ำแหนง่ ที่ติดปา้ ยจะอยูท่ ่บี ริเวณเอว หนา้ อก หรอื แขนเส้ือ ป้ายโฆษณาจะตดิ อยู่ท่ฝี า่ ยหญิงหรือฝ่ายชายก็ได้ หรือฝา่ ยหญงิ 1 ราย ฝา่ ยชาย 1 รายก็ได้ 2. โฆษณาที่จะลงบนหมายเลขประจ�ำตัวของผู้แข่งขันจะต้องมีขนาดไม่เกิน 20% ของขนาดหมายเลขประจ�ำตวั ผู้เขา้ แขง่ ขนั กติกาข้อท่ี 5 ระดับของการแขง่ ขัน 1. การแข่งขันชิงแชมป์เปี้ยนโลกสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF World Championships) 1.1 รุ่นผู้ใหญ่ (Adult) เยาวชน (Youth) และยุวชน II (Junior II) 1.1.1 ประเภทการแข่งขนั การชงิ แชมปเ์ ป้ียนโลก IDSF ประกอบดว้ ย 1.1.1.1 ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) 1.1.1.2 ประเภท Latin American (จงั หวะ Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Dobleและ Jive) 1.1.1.3 ประเภท Over Ten Dances (Standard และ Latin American) 1.1.1.4 ประเภท Formation (Standard และ Latin American) ตามกตกิ าข้อท่ี 14 ข้อที่ 2 -13 ให้ใช้กบั รุ่นผูใ้ หญ่เท่านั้น 1.1.2 การเชิญเข้ารว่ มการแข่งขัน สหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาตจิ ะเชญิ ไปยงั ทกุ ๆ สมาคมทเ่ี ปน็ สมาชกิ ของสหพนั ธฯ์ 1.1.3 จำ� นวนผู้เข้าร่วมการแขง่ ขนั สมาคมทเี่ ปน็ สมาชกิ ของสหพนั ธม์ สี ทิ ธส์ิ ง่ คแู่ ขง่ ขนั เขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ไดส้ มาคมละ 2 คู่ คอื การแขง่ ขัน Ten Dance ชงิ แชมเปย้ี นโลก สมาคมต่างๆ สามารถส่งคเู่ ข้าแข่งขนั ได้ 1 คู่ 174 ค่มู อื ฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าลลี าศ

และการแขง่ ขนั Formation ชงิ แชมปเ์ ปย้ี นโลก แตล่ ะสมาคมทเี่ ปน็ สมาชกิ ของสหพนั ธฯ์ จะถกู เชญิ ให้เข้าร่วมการแขง่ ขันรวม 2 ทมี ในแต่ละรายการ 1.1.4 การจา่ ยคา่ ตอบแทนต่างๆ การจา่ ยคา่ ตอบแทนตา่ งๆ ให้ดกู ตกิ าขอ้ ท่ี 8 1.2 รุ่นอาวุโส (Senior) 1.2.1 ประเภทของการแข่งขนั การแข่งขันกีฬาลีลาศชิงแชมป์เปี้ยนโลกรุ่นอาวุโสของสหพันธ์กีฬาลีลาศ นานาชาติ ประกอบดว้ ย 1.2.1.1 ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) 1.2.1.2 ประเภท Latin American (จงั หวะ Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Doble และ Jive) 1.2.2 การเชิญเขา้ ร่วมการแข่งขนั สหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาตจิ ะเชญิ ไปยงั ทกุ ๆ สมาคมทเี่ ปน็ สมาชกิ ของสหพนั ธ์ 1.2.3 การก�ำหนดจำ� นวนผเู้ ข้ารว่ มการแขง่ ขัน สมาคมทเ่ี ปน็ สมาชกิ ของสหพนั ธ์ฯ มสี ิทธ์สิ ่งผู้เขา้ แข่งขันได้ 2 คู่ 1.2.4 การจา่ ยค่าตอบแทน สหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาตจิ ะรบั ผดิ ชอบจา่ ยคา่ ทพี่ กั ใหแ้ กผ่ เู้ ขา้ รว่ มการแขง่ ขนั 1 คนื แตไ่ มร่ วมคา่ ใชจ่ า่ ยในการเดนิ ทาง สว่ นคา่ ใชจ้ า่ ยของประธานกรรมการและกรรมการผตู้ ดั สนิ ใหเ้ ป็นไปตามกฎขอ้ ที่ 8 1.2.5 เกณฑอ์ ายุของผูเ้ ขา้ รว่ มการแข่งขนั ผู้เข้าร่วมการแข่งขันรุ่นอาวุโสนานาชาติ อย่างน้อยท้ังคู่จะต้องมีอายุครบ 35 ปี บริบรู ณ์ในปีทม่ี ีการแข่งขนั 2. การแขง่ ขนั กฬี าลลี าศชงิ แชมปร์ ะดบั ภาคพน้ื ทวปี ยโุ รปของสหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาติ (IDSF Continental Championships) 2.1. ประเภทของการแข่งขัน การแข่งขันกีฬาลีลาศชิงแชมป์เปี้ยนระดับภาคทวีปยุโรปของสหพันธ์กีฬาลีลาศ นานาชาติประกอบด้วย 2.1.1 ประเภท Standard (จงั หวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) 2.1.2 ประเภท Latin American (จังหวะ Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Doble และ Jive) ค่มู อื ฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาลลี าศ 175

2.1.3 ประเภท Formation (Standard และ Latin American) ตามกฎข้อท่ี 14, ขอ้ ท่ี 2 – 13 ให้ใช้กับรุ่นผใู้ หญ่เทา่ นน้ั 2.2 การเชญิ เข้าร่วมการแขง่ ขนั สหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติจะเชิญไปยังทุกๆ สมาคมที่เป็นสมาชิกของสหพันธ์ฯ ท่มี ีทตี่ ั้งตามทวีปต่างๆ ทง้ั นใี้ นระบบทางการกฬี าให้ถอื วา่ ประเทศอสิ ราเอลจดั อยู่ในกลุ่มทวปี ยุโรป 2.3 การก�ำหนดจำ� นวนผู้เขา้ รว่ มการแข่งขัน 2.3.1 ทกุ ๆ สมาชกิ ของสหพนั ธ์ มสี ทิ ธสิ์ ง่ นกั กฬี าเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ไดส้ มาคมละ 2 คู่ 2.3.2 การแข่งขัน Ten Dance ชิงแชมป์เปี้ยนภาคพ้ืนทวีปของสหพันธ์ฯ ก�ำหนดใหแ้ ต่ละสมาคมสง่ คเู่ ขา้ ร่วมการแขง่ ขันได้สมาคมละ 1 คู่ เทา่ นนั้ 2.3.3 การแข่งขันประเภท Formation ชิงแชมป์เปี้ยนภาคพ้ืนทวีปยุโรป ของสหพนั ธฯ์ สมาชิกของสหพนั ธ์ จะถกู เชญิ เขา้ ร่วมการแข่งขันสมาคมละ 2 ทีมในแตล่ ะรายการ 2.4 การจ่ายค่าตอบแทน การจา่ ยค่าตอบแทนให้ดกู ตกิ าข้อที่ 8 3. การแข่งขันกีฬาลีลาศชิงแชมป์ภาคพื้นอนุทวีปยุโรปของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF Sub-Continental Championships) 3.1 ประเภทของการแขง่ ขัน การแขง่ ขันกีฬาลีลาศชิงแชมป์ภาคพื้นอนุทวปี ยุโรป มดี ังนี้ 3.1.1 ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) 3.1.2 ประเภท Latin American (จงั หวะ Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Dobleและ Jive) 3.1.3 ประเภท Over Ten Dances (Standard และ Latin American) 3.2 การเชิญเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั สหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติจะเชิญไปยังทุกๆ สมาคมท่ีเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฯ อยา่ งนอ้ ย 4 สมาคม 3.3 การก�ำหนด จ�ำนวน ผูเ้ ขา้ ร่วมการแขง่ ขัน สมาชิกของสหพันธ์ ที่ได้เชิญแต่ละสมาคมมีสิทธ์ิที่จะส่งตัวแทนเข้าร่วมการแข่งขัน สมาคมละ 2 คู่ ผจู้ ดั การแขง่ ขนั อาจเชิญ 1 คู่ จากประเทศทเี่ ข้าร่วม 3.4 การจ่ายค่าตอบแทน การจา่ ยคา่ ตอบแทนใหด้ กู ตกิ าขอ้ ที่ 8 176 คู่มือฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาลลี าศ

4. การแข่งขันสะสมคะแนนเพ่ือจัดอันดับโลกของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF World Ranking Tournaments) การแข่งขันสะสมคะแนนเพ่ือจดั อนั ดบั โลกมี 4 ประเภทดว้ ยกนั 4.1 การแข่งขันซุปเปอร์เวิลด์คัพของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF Super World Cup) 4.2 การแขง่ ขันเวิลด์โอเพ่นของสหพนั ธ์กีฬาลลี าศนานาชาติ (IDSF Super World Cup) สหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติจะจัดการแข่งขันเวิลด์โอเพ่นในประเภท Standard และ Latin - American โดยจะมเี งนิ รางวัลและการสะสมคะแนนในการจัดอันดบั โลกโดยคำ� นวณ ด้วยคอมพิวเตอร์ 4.3 การแข่งขันอินเตอร์เนชั่นแนลโอเพ่นของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF International Open) สหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ จะจัดการแข่งขันอินเตอร์เนชั่นแนลโอเพ่นในประเภท Standard และ Latin American โดยมีคะแนนสะสมซึ่งค�ำนวณโดยการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ เพ่อื จัดอันดบั โลกประกอบกบั การพจิ ารณาเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบริหารของสหพนั ธ์ฯ 4.4 การแขง่ ขัน ไอ ดี เอส เอฟ โอเพ่น (IDSF Open) สหพันธก์ ีฬาลีลาศนานาชาตจิ ะจดั การแขง่ ขัน ไอ ดี เอส เอฟ โอเพ่น (IDSF Open) ในประเภท Standard และ Latin American โดยมคี ะแนนสะสมซงึ่ คำ� นวณโดยการใชค้ อมพวิ เตอร์ ในการจัดอันดับโลกประกอบกับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารของสหพนั ธฯ์ อนึ่ง ในรายละเอียดของระเบยี บการแข่งขนั ทไ่ี ดก้ ลา่ วมาข้างตน้ นี้ คณะกรรมการบรหิ าร สหพันธก์ ีฬาลีลาศนานาชาติ จะแจง้ ให้ทราบเป็นครั้งๆ ไป 5. การแขง่ ขนั อินเตอรเ์ นชนั่ แนลอนิ วิเทช่ัน (International Invitation Competition) 5.1 การเชิญเขา้ ร่วมการแขง่ ขนั สหพันธก์ ฬี าลีลาศนานาชาติจะเชิญเฉพาะสมาชิก ของสหพนั ธฯ์ เขา้ รว่ มในการแขง่ ขนั เทา่ นนั้ หรอื มเิ ชน่ นน้ั ใหข้ น้ึ อยกู่ บั การพจิ ารณาของคณะกรรมการ บริหารของสหพนั ธ์ฯ 5.2 การจา่ ยคา่ ตอบแทน การจ่ายค่าตอบแทนของผู้ร่วมการแข่งขันให้เป็นไปตามข้อตกลงระหว่างสมาคมกับ สมาชิกของสหพันธฯ์ 6. การแข่งขันอินเตอร์เนชั่นแนลอินวิเทช่ันส�ำหรับฟอร์เมชั่น - ทีม (International Invitation Competition for Formation - Teams) 6.1 คำ� จำ� กดั ความของการแขง่ ขนั อนิ เตอรเ์ นชน่ั แนลอนิ วเิ ทชน่ั สำ� หรบั ฟอรเ์ มชน่ั - ทมี การแข่งขันน้ีอาจใช้ช่ือว่า “การแข่งขันฟอร์เมช่ันนานาชาติ” ถ้ามีฟอร์เมชั่น - ทีม ส่งคู่แข่งขัน เขา้ รว่ มการแข่งขันไมน่ อ้ ยกวา่ 4 ประเทศ คู่มอื ฝกึ อบรมผ้ฝู ึกสอนกฬี าลีลาศ 177

6.2 การเชิญเข้าร่วมการแขง่ ขัน สหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาตจิ ะเชญิ เฉพาะสมาชกิ ของสหพนั ธฯ์ เขา้ รว่ มการแขง่ ขนั เทา่ นน้ั หรอื ใหข้ นึ้ อยกู่ ับการพจิ ารณาของคณะกรรมการบริหารของสหพันธ์ฯ 6.3 การจ่ายค่าตอบแทนตา่ งๆ การชดเชยค่าใช้จ่ายของผู้เข้าร่วมการแข่งขัน ให้เป็นไปตามข้อตกลงระหว่างสมาคม ที่เป็นสมาชกิ ของสหพันธ์ 7. การแข่งขนั เวิลด์ คพั ของสหพนั ธฯ์ กีฬาลลี าศนานาชาติ (IDSF World Cup) 7.1 ประเภทของการแข่งขัน การแข่งขันเวลิ ์ดคัพของสหพันธก์ ฬี าลีลาศนานาชาติ ประกอบดว้ ย 7.1.1 ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) 7.1.2 ประเภท Latin American (จังหวะ Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Dobleและ Jive) 7.1.3 ประเภท Over Ten Dance (Standard และ Latin American) 7.2 การเชิญเขา้ ร่วมการแขง่ ขัน สหพนั ธ์กีฬาลลี าศนานาชาติจะเชญิ ไปยงั ทุกๆ สมาคมทเ่ี ปน็ สมาชิกของสหพันธ์ฯ 7.3 การกำ� หนดจำ� นวนผู้เขา้ ร่วมการแขง่ ขัน สมาคมที่เป็นสมาชิกของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติท่ีได้รับเชิญมาสามารถส่ง คู่แขง่ ขนั เขา้ รว่ มรายการแขง่ ขันได้เพียง 1 คู่ 7.4 การจ่ายคา่ ตอบแทนตา่ งๆ การจา่ ยค่าตอบแทนให้ดกู ติกาขอ้ ที่ 8 8. การแข่งขันชิงถ้วยภาคพ้ืนทวีปยุโรปของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF Continental Cup) 8.1. ประเภทของการแข่งขนั การแขง่ ขนั ชิงถ้วยภาคพนื้ ทวีปยโุ รปของสหพันธก์ ฬี าลีลาศนานาชาติ ประกอบด้วย 8.1.1 ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) 8.1.2 ประเภท Latin American (จังหวะ Samba. Cha ChaCha, Rumba, Paso Dobleและ Jive) 8.1.3 ประเภท Over Ten Dance (Standard และ Latin American) 8.1.4 ประเภท Formation (Standard และ Latin American) ทง้ั นี้ ใหด้ ู กตกิ าข้อที่ 14 ข้อย่อยที่ 2 – 13 ประกอบ 178 คมู่ อื ฝึกอบรมผู้ฝกึ สอนกีฬาลีลาศ

8.2 การเชิญเข้ารว่ มการแขง่ ขัน สหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติจะเชิญไปยังทุกๆ สมาคมที่เป็นสมาชิกของสหพันธ์ฯ ทม่ี ที ีต่ ้งั ตามทวปี ต่างๆ ทั้งนีใ้ นระบบทางการกฬี าให้ถือวา่ ประเทศอสิ ราเอลจดั อยูใ่ นกลมุ่ ทวปี ยโุ รป 8.3 การก�ำหนดจำ� นวนคทู่ ่เี ข้ารว่ มการแข่งขัน สมาคมทเี่ ปน็ สมาชิกของสหพันธก์ ีฬาลลี าศนานาชาติที่ได้รบั เชิญ สามารถสง่ เขา้ ร่วม การแข่งขนั ไดส้ มาคมละ 1 คู่ และ 1 ทีม - ฟอร์เมชนั่ 8.4 การจา่ ยคา่ ตอบแทนต่างๆ การจา่ ยคา่ ตอบแทนใหด้ ูกตกิ าข้อท่ี 8 9. การแข่งขนั ทมี แมชส์นานาชาติ (International Team Matches) 9.1 ประเภทของการแข่งขัน การแขง่ ขันแมชสน์ านาชาติ ประกอบดว้ ย 9.1.1 ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) 9.1.2 ประเภท Latin American (จังหวะ Samba. Cha ChaCha, Rumba, Paso Doble และ Jive) 9.2 การเชิญเขา้ รว่ มการแข่งขนั การแข่งขันทีมแมชส์นานาชาติ เป็นการจัดการแข่งขันที่ตกลงกันเองระหว่างสมาคม ทเี่ ปน็ สมาชกิ ของสหพนั ธก์ ฬี านานาชาติ โดยจดั ขน้ึ เพยี งปลี ะหนง่ึ ครงั้ ในประเทศและระหวา่ งสมาชกิ ของสหพันธฯ์ เดยี วกัน 9.3 การก�ำหนดจ�ำนวนคูท่ เ่ี ขา้ ร่วมการแขง่ ขนั (ค�ำจ�ำกดั ความของค�ำวา่ “ทีม”) ในแต่ละทีมต้องมีผู้เข้าร่วมอย่างน้อย 4 คู่ คัดเลือกจากการจัดอันดับคะแนนสะสม ของแต่ละประเทศ และตอ้ งไมม่ กี ารเปลย่ี นคู่ในระหวา่ งท่ีมีการแข่งขัน 9.4 การจา่ ยคา่ ตอบแทน การจ่ายค่าตอบแทน ให้ตกลงกันเองโดยอิสระระหว่างสมาคมที่เป็นสมาชิกของ สหพนั ธ์ฯ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 10. การแข่งขนั ประเภทโอเพ่น (Open Competitios) เป็นการจัดการแข่งขันที่เปิดให้เข้าร่วมเฉพาะคู่แข่งขันของสมาคม ที่เป็นสมาชิกของ สหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติเท่าน้ัน คู่แข่งขันที่มาจากประเทศหรือสมาคมใดท่ีมิได้อยู่ในเครือของ สหพนั ธฯ์ หากจะเขา้ รว่ มทำ� การแขง่ ขนั ตอ้ งผา่ นการพจิ ารณาจากคณะกรรมการบรหิ ารของสหพนั ธฯ์ กอ่ น 11. ระยะเวลาที่อนุญาตให้ใชใ้ นการแขง่ ขันและอัตราความเร็วของจงั หวะดนตรี ในทกุ รอบการแขง่ ขนั ระยะเวลาของดนตรที ใี่ ชส้ ำ� หรบั จงั หวะ Waltz, Tango, Viennese คมู่ อื ฝึกอบรมผฝู้ กึ สอนกฬี าลลี าศ 179

Slow Foxtrot, Quickstep, Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Doble จะต้องมรี ะยะเวลา อย่างนอ้ ย 1 นาทคี ร่ึง ส�ำหรับจังหวะ Viennese Waltz และ Jive จะต้องมีระยะเวลาไม่น้อยกวา่ 1 นาที และไม่เกิน 1 นาทีคร่ึง ประธานผู้ตัดสินอาจให้ระยะเวลาของดนตรีเพ่ิมขึ้นตามวินิจฉัย เพอ่ื ความจำ� เปน็ ส�ำหรบั การตดั สินท่ีบริสทุ ธ์ยิ ุติธรรมในจงั หวะของการแข่งขนั ในแต่ละรายการ อตั ราความเร็วของจงั หวะดนตรีในแต่ละรูปแบบของการลลี าศมดี งั น้ี Waltz 28 – 30 บาร์ต่อนาที Samba 50 - 52 บาร์ต่อนาที Tango 31 – 33 บารต์ อ่ นาที Cha Cha Cha 30 - 32 บารต์ ่อนาที Viennese Waltz 58 – 60 บาร์ตอ่ นาที Rumba 25 – 27 บาร์ตอ่ นาที Slow Foxtrot 28 – 30 บารต์ อ่ นาที Paso Doble 60 – 62 บาร์ต่อนาที Quickstep 50 – 52 บารต์ ่อนาที Jive 42 – 44 บาร์ต่อนาที ประเภทของดนตรี ในทกุ รายการแขง่ ขนั ของสหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาติ ดนตรที ใ่ี ชจ้ ะตอ้ งมเี อกลกั ษณเ์ ฉพาะ ของจังหวะท่ีใช้ในการแข่งขัน เช่น ไม่อนุญาตให้ใช้ดนตรีที่จัดอยู่ในประเภทดิสโก้ในการแข่งขัน ประเภทลาติน อเมรกิ ัน 12. กฎระเบยี บที่เข้มงวด 12.1 ในการแข่งขันทุกรายการท่ีได้รับการรับรองโดยสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ ภายใต้กติกาข้อท่ี 5 มีกฎระเบียบท่ีเข้มงวดเพียงข้อเดียวเท่าน้ัน คือ ระเบียบการแต่งกายของ นักลีลาศที่อยใู่ นทุกเกณฑอ์ ายุของรุ่นเดก็ (juvenilse) กฎระเบียบที่เข้มงวดใดๆ ท่ีได้จัดท�ำขึ้นโดยคณะกรรมการท่ีแต่งตั้งขึ้นโดยสหพันธ์ กีฬาลีลาศนานาชาติ ระเบียบที่มีการเปล่ียนแปลงจะมีผลใช้บังคับเมื่อได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยท่ัวถึงให้สมาคมที่เป็นสมาชิกของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติได้ทราบล่วงหน้าหลังจากท่ี ประกาศไปแล้ว 12 เดือน 12.2 กฎระเบียบท่ีเข้มงวดจะต้องสังเกตเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิอย่างน้อยหนึ่งคน ผู้ทรงคุณวุฒิจะต้องได้รับการแต่งต้ังจากชาติของสมาคมที่เป็นสมาชิกของสหพันธ์กีฬาลีลาศ นานาชาติ และต้องได้รบั การยืนยันจากสหพันธก์ ีฬาลีลาศนานาชาติ 12.3 ผทู้ รงคณุ วฒุ ริ อ้ งเรยี นไปถงึ ประธานกรรมการ ในขอ้ ทวี่ า่ มกี ารทำ� ผดิ กฎระเบยี บ ข้ึนในรอบแรกของการแข่งขันคู่แข่งขันจะได้รับค�ำเตือนจากประธานกรรมการ หากมีการท�ำผิด กฎระเบียบซ้�ำขึ้นอีกในรอบถัดไปหรือถึงรอบสุดท้าย คู่แข่งขันจะถูกประธานกรรมการตัดสิทธ์ิ ใหอ้ อกจากการแขง่ ขัน 180 คมู่ ือฝึกอบรมผฝู้ กึ สอนกฬี าลลี าศ

กติกาขอ้ ที่ 6 สทิ ธใิ นการจดั การแขง่ ขนั 1. คณะกรรมการบริหารของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติมีสิทธิอันชอบธรรมในการจัด การแขง่ ขันตามกตกิ า ขอ้ ที่ 5 ข้อย่อยท่ี 1 - 8 และมีสทิ ธิในการจดั เกบ็ คา่ ธรรมเนยี ม (ดูกฎระเบียบ วา่ ดว้ ยการเงิน) การแขง่ ขันเหล่าน้ี ยกเวน้ การแขง่ ขนั ทอี่ ยูภ่ ายใตก้ ตกิ าขอ้ 5 ขอ้ ยอ่ ยที่ 5 และ 6 จะตอ้ ง มีจดหมายเวียนล่วงหน้าไปยังเหล่าสมาชิก ในกรณีท่ีเป็นพิเศษคณะกรรมการบริหารของสหพันธ์ กีฬาลีลาศนานาชาติมีอ�ำนาจท่ีจะจัดการแข่งขัน โดยออกค�ำส่ังโดยตรงให้กับเมืองหรือประเทศท่ี เปน็ สมาชกิ โดยแจง้ เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร 2. การจัดการแข่งขันตามกฎกติกาข้อ 5 ย่อหน้าท่ี 5 ต้องมีการรับรองจากสหพันธ์ กีฬาลีลาศและต้องเสียค่าลงทะเบียน 2,000 CHF ซึ่งองค์กรที่จัดจะต้องได้รับความเห็นชอบจาก สมาชิกขององคก์ รดว้ ย กติกาข้อที่ 7 การเชญิ เข้าร่วมแขง่ ขัน การเชิญเข้าร่วมแข่งขัน ในการแข่งขันอินเตอร์เนชั่นแนล อินวิเทชั่น (International Invitation Competitions) จะตอ้ งด�ำเนนิ การขนึ้ ระหวา่ งสมาคมทเ่ี ป็นสมาชิก การเชญิ ตอ้ งระบุ วันท่ี ทีไ่ ด้ลงในทะเบยี นการแข่งขนั ของสหพันธ์กฬี าลลี าศนานาชาติ กตกิ าข้อที่ 8 การชดเชยค่าใช้จ่ายต่างๆ การชดเชยค่าใช้จ่ายขั้นต่�ำต่างๆ ให้กับคู่แข่งขัน ประธานและกรรมการผู้ตัดสิน ในการแข่งขันครอบคลุมไปถึง กติกาข้อท่ี 5 ข้อย่อยท่ี 1 - 4, 7 และ 8 ให้เป็นสิทธิ์ขาดของ คณะกรรมการบริหารของสหพันธฯ์ สมาชกิ จะตอ้ งระบุจ�ำนวนเงินลว่ งหน้า กตกิ าขอ้ ท่ี 9 การใชส้ ารตอ้ งหา้ ม สหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติมีกฎข้อห้ามมิให้มีการใช้สารต้องห้าม ซ่ึงเป็นไปตามกฎ ระเบยี บการควบคมุ หา้ มใชส้ ารต้องห้าม กติกาขอ้ ที่ 10 วธิ ีการส�ำหรบั การจัดการแขง่ ขนั ระดับนานาชาตติ า่ งๆ 1. ประธานกรรมการผตู้ ดั สนิ (ทไ่ี มต่ อ้ งลงคะแนน) ทไี่ ดร้ บั การแตง่ ตง้ั จากคณะกรรมการ บริหารของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ เป็นผู้ซึ่งรับผิดชอบในการควบคุมดูแลการแข่งขันท่ีได้รับ การรับรองจากสหพันธ์ฯ ในรายการแข่งขันระดับนานาชาติใดๆ ท่ีสหพันธ์ฯ ไม่ได้มีการแต่งต้ัง ประธานผตู้ ดั สนิ ผู้จัดการแขง่ ขันจะตอ้ งแตง่ ตง้ั ประธานผตู้ ัดสิน (ที่ไมต่ ้องลงคะแนน) เอง 2. กรรมการผู้ตัดสิน ในการแข่งขันระดับนานาชาติต่างๆ จะต้องมีกรรมการผู้ตัดสิน ทำ� หนา้ ทต่ี ดั สนิ อยา่ งนอ้ ย 7 คน โดยเปน็ ไปตามกตกิ าขอ้ ที่ 5 ขอ้ ยอ่ ยที่ 1, 2, 4 a-c และ 8 กรรมการ ผู้ตดั สินอยา่ งนอ้ ย 3 คน ในการแขง่ ขันประเภททีมแมทช์ (Team Matches) คู่มือฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกฬี าลีลาศ 181

3. สำ� หรบั การแขง่ ขนั ตา่ งๆ ทอี่ ยภู่ ายใตก้ ตกิ าขอ้ ท่ี 5 ยกเวน้ ขอ้ ยอ่ ยท่ี 5 และ 6 กรรมการ ผ้ตู ัดสนิ จะต้องถอื ใบอนญุ าตเป็นผู้ตัดสินของสหพันธก์ ีฬาลลี าศนานาชาติ 4. กรรมการผตู้ ดั สนิ ของการแขง่ ขนั ครอบคลมุ โดยกตกิ าขอ้ ที่ 5, ขอ้ ยอ่ ยที่ 1 - 4, 9 - 6,7 และ 8 จะตอ้ งได้รับการแตง่ ต้งั จากคณะกรรมการบริหารของสหพนั ธ์กฬี าลีลาศนานาชาติ 5. ส�ำหรบั การแข่งขนั ภายใตก้ ตกิ าขอ้ ที่ 5 ขอ้ ย่อยท่ี 1 - 4, 7 และ 8 คณะกรรมการ ผูต้ ัดสินจะตอ้ งเชิญจากประเทศต่างๆ ทไ่ี ม่ซำ้� กัน 6. ในทุกๆ การแข่งขันระดับนานาชาติ คณะกรรมการผู้ตัดสินจะต้องได้รับการรับรอง เป็นทางการโดยคณะกรรมการบริหารของสหพนั ธก์ ฬี าลีลาศนานาชาติ 7. กรรมการผู้ตัดสินจะต้องไม่ท�ำการตัดสินการแข่งขันและต้องถอนตัวออกจาก คณะกรรมการผตู้ ดั สนิ ในการแขง่ ขนั นน้ั หากพบวา่ มคี แู่ ขง่ ขนั คนใดคนหนงึ่ เปน็ เครอื ญาตหิ รอื ครอบครวั ของตวั เอง รวมไปถงึ การมพี นั ธะผกู พนั หรอื ความสมั พนั ธส์ ว่ นตวั สำ� หรบั คำ� ทเ่ี ขา้ ใจงา่ ยและชดั เจน คอื “การมคี วามสมั พนั ธเ์ ปน็ เครอื ญาต”ิ รวมไปถงึ การมคี วามสมั พนั ธท์ างสายเลอื ดหรอื การแตง่ งาน การเป็นญาติท่ีใกล้ชิดหรือลูกบุญธรรม หรือเป็นบุคคลท่ีผู้ตัดสินอยู่อาศัยด้วยและการอยู่กินกัน ฉนั สามภี รรยากนั กตกิ าข้อท่ี 11 การกำ� หนดเกณฑ์อายุ 1. การแบ่งเกณฑ์อายุดังต่อไปน้ี เป็นส่ิงท่ีจ�ำเป็นอย่างย่ิงในทุกๆ การแข่งขันระดับ นานาชาติ และระดับชิงแชมป์เป้ียนตา่ งๆ 1.1 รนุ่ เดก็ ระดบั I (Juvenile I) นบั ถงึ อายุ 9 ปี หรอื ตำ่� กวา่ ในปปี ฏทิ นิ ทมี่ กี ารแขง่ ขนั 1.2 รุน่ เดก็ ระดบั II (Juvenile II) นับถงึ อายุ 10-11 ปใี นปปี ฏิทินท่มี กี ารแข่งขัน 1.3 ยุวชนระดบั I (Junior I) นบั ถงึ อายุ 12-13 ปี ในปีปฏทิ ินทีม่ ีการแข่งขัน 1.4 ยวุ ชนระดับ II (Junior II) นับถึงอายุ 14-15 ปี ในปีปฏทิ นิ ทม่ี ีการแข่งขนั 1.5 เยาวชน (Youth) นับถงึ อายุ 16-17 และ 18 ปี ในปปี ฏิทินทีม่ กี ารแข่งขนั 1.6 ผ้ใู หญ่ (Adult) นบั ถึงอายุ 19 ปี ในปปี ฏทิ ินทมี่ ีการแข่งขัน 1.7 อาวโุ ส (Senior I) นับถึงอายุ 35 ปี หรือ มากกว่า ในปปี ฏิทนิ ท่มี ีการแขง่ ขัน 1.8 อาวโุ ส (Senior II) นบั ถงึ อายุ 45 ปี หรอื มากกว่า ในปีปฏิทินท่มี ีการแข่งขนั อนุญาตให้กล่มุ อายุ 2 กลมุ่ สามารถเข้าแข่งขนั รว่ มกนั ได้ ตัวอย่างเชน่ รุ่นเดก็ I และ II และร่นุ ยวุ ชนระดับ I และ II ก็เชน่ เดียวกนั ร่นุ เยาวชนกอ็ นุญาตให้เขา้ รว่ มในการแขง่ ขันของรนุ่ ผู้ใหญ่ ได้ในกลุม่ เกณฑอ์ ายุของทกุ รุ่น คูเ่ ต้นคนใดคนหน่ึงสามารถมอี ายนุ ้อยกว่าได้ยกเว้นในรุ่นอาวโุ ส 2. ในการสมัครเข้าร่วมแข่งขัน สมาชิกของผู้จัดการแข่งขันต้องแจ้งวัน เดือน ปีท่ีเกิด แก่ผู้จัดการทมี 182 คูม่ อื ฝกึ อบรมผูฝ้ กึ สอนกฬี าลีลาศ

กตกิ าข้อที่ 12 เครอื่ งแต่งกายในการแข่งขัน ส�ำหรับการแข่งขันทุกรายการท่ีได้จัดขึ้นโดยสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ ภายใต้กติกา ข้อที่ 5 การแต่งกายของผู้เข้าแข่งขันให้ปฏิบัติสอดคล้องกับระเบียบการแต่งกายของสหพันธ์ กีฬาลีลาศนานาชาติ ระเบียบว่าด้วยการแต่งกายส�ำหรับการแข่งขันของสหพันธ์ฯ เหล่าน้ี เปน็ องคป์ ระกอบหนงึ่ ของกตกิ าการแขง่ ขนั ของสหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาติ สำ� หรบั ทกุ ๆ เกณฑอ์ ายุ ส่วนสะโพกของฝ่ายหญิงต้องปกปิดไว้ให้มิดชิดตลอดเวลา ประธานกรรมการหรือผู้อ�ำนวยการ ฝา่ ยกฬี าของสหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาติ มอี ำ� นาจทจ่ี ะตดั สทิ ธคิ์ แู่ ขง่ ขนั ทส่ี วมใสช่ ดุ แขง่ ขนั ทไี่ มเ่ ปน็ ไปตามกฎระเบียบของข้อน้ี นอกเหนือจากน้ีแล้ว คณะกรรมการบริหารของสหพันธ์ฯ จะลงโทษ ทางวนิ ยั ตัดสทิ ธไิ์ มใ่ ห้ค่แู ข่งขันเข้าร่วมในการแข่งขนั ต่างๆ ชว่ งระยะเวลาหนึง่ กตกิ าขอ้ ท่ี 13 คแู่ ข่งขัน 1. คำ� จำ� กัดความของคแู่ ขง่ ขัน คือ คแู่ ขง่ ขนั 1 คู่ จะประกอบด้วยชาย 1 คน ค่เู ตน้ ที่เป็น หญงิ 1 คน 2. คแู่ ข่งขันท่ตี า่ งสัญชาตกิ ัน 2.1 คู่แข่งขันหนึ่งคู่สามารถเป็นตัวแทนได้เพียงหนึ่งประเทศในทุกรายการแข่งขัน ในระดับแชมป์เปี้ยนหรือชิงถ้วยรางวัลของสหพันธ์ฯ ถ้าคู่แข่งขันคนใดคนหนึ่งถือครอง หนังสือเดินทางที่ยังไม่หมดอายุของประเทศที่เป็นตัวแทนขณะที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในช่วงเวลา ท่ตี รงกับการแขง่ ขนั 2.2 คู่แข่งขันหน่ึงคู่สามารถเป็นตัวแทนได้เพียงหน่ึงประเทศในทุกรายการแข่งขัน ในระดับนานาชาติ แต่ละคู่แข่งขันอนุญาตให้เข้าร่วมการแข่งขันโดยเป็นตัวแทนของสมาชิกของ สหพนั ธ์ฯ ขณะทีข่ ้นึ ทะเบียนและอยใู่ นชว่ งเวลาทตี่ รงกบั การแข่งขัน 2.3 คู่แข่งขันท่ีเป็นตัวแทนของประเทศใดประเทศหนึ่งในการแข่งขันนานาชาติ ของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ หรือการแข่งขันชิงถ้วยรางวัลของสหพันธ์ฯ จะไม่สามารถเป็น ตัวแทนของประเทศอ่ืนได้จนกว่าจะผ่านพ้นระยะเวลา 12 เดือน เร่ิมต้นการเป็นตัวแทนเข้าร่วม การแขง่ ขนั คร้งั สดุ ท้าย 2.4 คแู่ ขง่ ขนั ทไ่ี ดเ้ ปน็ ตวั แทนของประเทศใดประเทศหนงึ่ ในทวั รน์ าเมน้ ของการสะสม คะแนนโลกของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ หรือรายการแข่งขันโอเพ่นไม่อนุญาตให้เป็นตัวแทน ของประเทศอ่ืนจนกว่าจะพ้นระยะเวลา 6 เดือน ซึ่งต้องให้ผู้อ�ำนวยการฝ่ายกีฬาของสหพันธ์ฯ อนุญาตเปน็ ลายลักษณ์อักษร ถา้ เกดิ มีปญั หาวา่ สมาคมสมาชกิ ของสหพันธ์ฯ ตกลงกนั เองโดยแจ้ง เป็นลายลักษณ์อักษรที่จะเปล่ียนแปลงตัวแทนเข้าร่วมการแข่งขัน ดังนั้น ผู้เข้าแข่งขันจะต้องเป็น ตวั แทนของสมาคมใหมโ่ ดยทนั ที ก�ำหนดระยะเวลา 6 เดอื น โดยเรมิ่ จากวนั ท่ไี ดย้ นื่ ในสมคั รใหก้ ับ คมู่ อื ฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลลี าศ 183

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายกีฬาของสหพันธ์ฯ ที่จะเป็นตัวแทนของประเทศอ่ืน การยื่นสมัครต้องท�ำเป็น ลายลกั ษณ์อกั ษร โดยสมาคมทเี่ ป็นสมาชิกของสหพันธ์ฯ 2.4.1 ในการแข่งขันที่จัดข้ึนโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (IOC) หรือ สมาคมเวิล์ดเกมส์นานาชาติ (IWGA) จะไม่อนุญาตให้คู่แข่งขันท่ีต่างสัญชาติเข้าร่วมการแข่งขัน สอดคลอ้ งกบั กตกิ าของการแขง่ ขนั กฬี าโอลมิ ปกิ ทนี่ กั แขง่ ขนั ตอ้ งเปน็ ตวั แทนชาตขิ องตนเองนกั แขง่ ขนั ต้องถือครองหนังสือเดินทางของประเทศสมาชิกของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติที่เป็นตัวแทนใน ชว่ งเวลาทร่ี ่วมอยใู่ นรายการแขง่ ขันของ IOC หรือ IWGA นกั กฬี าเป็นตวั แทนได้เพียงประเทศเดยี ว ในรายการแข่งขันของ IOC, OCA หรือ IWGA ทั้งคู่ได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมแข่งขันโดยสมาชิก สหพนั ธ์ฯ ในประเทศนั้น และระยะเวลาท่ไี ด้รบั การอนุญาตรวม 6 เดอื น กอ่ นวันทม่ี กี ารแข่งขัน 2.5 การแข่งขันชงิ แชมป์เปีย้ น/ชงิ รางวัลฟอร์เมช่ัน – ทมี ของ IDSF ในการแขง่ ขัน ชิงแชมป์เปี้ยนหรือชิงถ้วยรางวัล นักแข่งขันต้องมีอย่างน้อย 12 คู่ ในหนึ่งทีมและต้องถือครอง หนังสือเดินทางประเทศสมาชิกของสหพันธ์ฯ ในขณะน้ันท้ังคู่ท่ีได้รับการแต่งตั้งเป็นตัวแทนของ สมาชกิ นั้นต้องอยู่ในช่วงเวลาของการแขง่ ขนั ชงิ แชมปเ์ ปย้ี นหรือชงิ ถ้วยรางวลั ในขณะนนั้ กตกิ าขอ้ ท่ี 14 การแขง่ ขนั ชงิ แชมเปย้ี นฟอรเ์ มชน่ั นานาชาติ (International Formation Championships) 1. การจัดการแข่งขันชิงแชมปเ์ ป้ยี นฟอรเ์ มชน่ั อาจจดั ขึ้นได้ 2 รปู แบบ 1.1 ประเภท Standard 1.2 ประเภท Latin American 2. เครือ่ งแตง่ กายทีใ่ ช้ในการแข่งขนั 2.1 ประเภท Standard การแต่งกายของชายจะต้องเปน็ สีด�ำ หรือสีกรมทา่ 2.2 ประเภท Latin American การแต่งกายของชายให้มีสีสันหลากหลายได้ แตฝ่ า่ ยชายจะตอ้ งใสช่ ดุ แขง่ ขนั เปน็ สเี ดยี วกนั หมดทงั้ ทมี ไมอ่ นญุ าตใหส้ วมใสเ่ ครอ่ื งประดบั ใดๆ ทงั้ สนิ้ 3. ทีมของการแข่งขันประเภท Standard จะต้องเลือกใช้รูปแบบของเบสิคอย่างน้อย 16 บาร์ ในแตล่ ะรปู แบบของการแขง่ ขนั ในจงั หวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep รวมไปถงึ การลลี าศประเภทลาติน อเมริกัน 4. ทีมของการแข่งขันประเภทลาติน อเมริกัน จะต้องใช้รูปแบบของเบสิคอย่างน้อย 16 บาร์ ในแตล่ ะรปู แบบของการลลี าศในจังหวะ Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Doble และ Jive รวมไปถึงการลลี าศประเภท Standard 5. การแสดงเดยี่ ว ในประเภทสแตนดารด์ จะจำ� กดั ใหแ้ สดงได้ไม่เกนิ 24 บาร์ ในการน้ี ไม่รวมไปถึงประเภทลาติน อเมริกัน ที่ซ่ึงการแยกตัวออกจากกันในแบบแสดงเด่ียวเป็นปกติของ การแสดง การยกลอยข้นึ ไมอ่ นญุ าตใหใ้ ช้ในการแสดงของทงั้ สองประเภท 184 คมู่ อื ฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกฬี าลลี าศ

ขอ้ สงั เกตการยกลอยขนึ้ ในลกั ษณะของการเคลอื่ นไหวใดๆ ระหวา่ งนกั ลลี าศคนใดคนหนงึ่ ทเ่ี ท้าทง้ั สองยกพ้นพนื้ ซ่งึ ขณะเดียวกนั เปน็ เวลาทไี่ ด้รบั การช่วยสนบั สนนุ จากคขู่ องตนเอง 6. ในทีมของการแข่งขนั ชิงแชมปท์ ้ังหมด ก�ำหนดใหม้ ี 6 คู่ หรอื 8 คู่ ในหน่งึ ทีม ห้ามคน ใดคนหนงึ่ ร่วมแข่งขนั เกินกวา่ หน่ึงทีมในการแข่งขนั ครงั้ เดียวกนั กตกิ าข้อท่ี 15 อ�ำนาจของคณะกรรมการบริหารของสหพนั ธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ คณะกรรมการบรหิ ารของสหพนั ธฯ์ มอี ำ� นาจเตม็ ในการตดั สนิ ปญั หาทอ่ี ยนู่ อกเหนอื กตกิ า เหล่าน้ี กติกาขอ้ ที่ 16 การประยกุ ตใ์ ช้กตกิ า (กรมพลศึกษา.2544: 1-5) ตามมติที่ประชุม ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิสเซอร์แลนด ์ ได้ก�ำหนดให้มีการแก้ไขกติกาการแข่งขันกีฬาลีลาศของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติใหม่ ซึง่ ประกาศใช้เม่ือวันที่ 3 มถิ นุ ายน 2544 โดยมีรายละเอียดกติกาท่ีมสี ว่ นแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ จากกตกิ า ท่ไี ดป้ ระกาศใชเ้ มอื่ วนั ท่ี 14 พฤษภาคม 2543 ไปแลว้ ดังนี้ 1. การใชก้ ตกิ าการแข่งขนั ขอ้ ที่ 5 ขอ้ ยอ่ ยที่ 1 - 4, 7, 8 และ 10 ในการจัดการแข่งขนั ระดบั นานาชาตริ อบแรก รอบรองชนะเลิศ และรอบชิงชนะเลิศ ทงั้ น้ี การแข่งขนั ระดบั นานาชาติ ตามกติกาข้อที่ 5 ข้อยอ่ ยท่ี 1 และ 2 ในรอบรองชนะเลศิ นัน้ บังคับใหท้ �ำการแขง่ ขันจ�ำนวนสองรอบ โดยพ้ืนที่ท่ีใช้ในการแข่งขันจะต้องมีขนาดเล็กกว่า 250 ตารางเมตรในการแข่งขันแต่ละรอบ จะอนญุ าตใหม้ คี ลู่ ลี าศลงทำ� การแขง่ ขนั ไดค้ รงั้ ละไมเ่ กนิ 10 คู่ จนถงึ รอบรองชนะเลศิ ในการแขง่ ขนั นานาชาติตามกติกาข้อที่ 5 ข้อย่อยท่ี 1 และ 2 คู่ลีลาศจะต้องลีลาศในพ้ืนที่ที่มีขนาดเล็กกว่า 250 ตารางเมตร ท้ังน้ีในรอบชิงชนะเลิศอาจจะใช้ระบบการให้คะแนนแบบเปดิ เผยก็ได้ 2. ในการแขง่ ขนั เวลิ ดค์ พั สข์ องสหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาติ การแขง่ ขนั คอนทเิ นนทอลคพั ส์ ของสหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาติ และการแขง่ ขนั เพอ่ื จดั ลำ� ดบั โลกของสหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาติ ทมี่ ผี สู้ มคั รเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั มากกวา่ 20 คู่ อาจใหใ้ ชร้ ะบบการเตน้ ซำ�้ ตง้ั แตก่ ารแขง่ ขนั ในรอบแรก ดังน้ัน จะต้องจัดให้คู่เต้นทุกคู่ได้มีโอกาสเต้น 2 คร้ัง โดยประธานจัดการจัดการแข่งขันจะเป็น ผพู้ จิ ารณาจำ� นวนคเู่ ตน้ ทจ่ี ะทำ� การเตน้ ซำ้� 2 รอบ คเู่ ตน้ ทอี่ ยใู่ นลำ� ดบั 1-12 ตามระบบการจดั อนั ดบั โลกโดยคอมพิวเตอร์ของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ ท่ีต้องลงแข่งขันชิงแชมป์เปี้ยนโลกในรอบ 8 คสู่ ดุ ท้าย ไม่ต้องเตน้ ในรอบแรก 3. อย่างน้อยที่สุด ร้อยละ 50 ของคู่เต้นท่ีเข้าร่วมท�ำการแข่งขันจะถูกขานช่ือให้เต้น ในรอบต่อไป ในท่นี ีม้ ิไดห้ มายรวมถงึ การเต้นในรอบชงิ ชนะเลศิ 4. ในการแขง่ ขนั อนิ เตอรเ์ นชน่ั แนลเทนดานซ์ จะประกอบไปดว้ ยการแขง่ ขนั ในรอบแรก การเต้นซ�ำ้ รอบสองรองชนะเลศิ และรอบชิงชนะเลศิ เท่านัน้ ในที่น้ไี ม่ตอ้ งใชก้ ตกิ าขอ้ ที่ 3 คู่มือฝึกอบรมผูฝ้ กึ สอนกฬี าลลี าศ 185

5. ในการแข่งขันกีฬาลีลาศชิงแชมป์เปี้ยนโลกและการแข่งขันชิงแชมป์เปี้ยนระดับ ภาคพนื้ ทวปี ของสหพันธก์ ีฬาลีลาศนานาชาติ (เฉพาะในกลุม่ “ผใู้ หญ”่ ) ให้ใชร้ ูปแบบการแขง่ ขนั ที่ปรับปรุงใหม่นี้ นอกจากน้ีอาจเป็นไปได้ในการที่จะอนุโลมให้ใช้รูปแบบดังกล่าวกับการแข่งขัน (เฉพาะในกลุ่ม “ผู้ใหญ่”) ที่จัดข้ึนโดยสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ ถ้าหากว่าสมาคมกีฬาลีลาศ แห่งชาติที่เป็นสมาชิกของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ น�ำเอารูปแบบดังกล่าวซ่ึงมีผลบังคับต้ังแต่ วนั ที่ 1 มกราคม 2543 ไปใช้ 6. ในการตัดสินรอบชิงชนะเลิศ จะต้องมีการจัดเรียงล�ำดับของคู่เต้นด้วย โดยเลขที่ 1 หมายถงึ อันดับทีด่ ีท่สี ุด อย่างไรกต็ ามไม่ควรใหเ้ ลขอนั ดบั เดยี วกนั เกนิ มากกวา่ 1 คู่ 7. ในการแข่งขนั ระดบั นานาชาตภิ ายใตก้ ตกิ าขอ้ ท่ี 5 ข้อยอ่ ยที่ 1 - 4, 7, 8 และ 10 อนุญาตใหม้ ีคู่แขง่ ขนั ในรอบชงิ ชนะเลิศไดไ้ ม่เกิน 6 คู่ แต่ถา้ มคี เู่ ต้นที่มีคณุ สมบตั ิเหมาะสม เกินกว่า คทู่ กี่ ำ� หนด ใหป้ ระธานจดั การแขง่ ขนั เป็นผูต้ ดั สนิ เกย่ี วกบั จำ� นวนคูท่ ่จี ะใหล้ งแข่งขัน 8. ในการแข่งขันระดับนานาชาติรอบชงิ ชนะเลศิ อาจจะใช้การใหค้ ะแนนตัดสินแบบลบั แตท่ งั้ นคี้ ณะกรรมการจดั การแขง่ ขนั อาจจะอนญุ าตประธานจดั การแขง่ ขนั ในการใหค้ ะแนนตดั สนิ แบบเปดิ เผย ถา้ เปน็ เช่นนีใ้ หใ้ ชร้ ะบบการให้คะแนนแบบ Skating System แทน 9. ในการแข่งขันระดับนานาชาติภายใต้กติกาข้อที่ 5 ข้อย่อยท่ี 1 - 4, 7 และ 8 คณะกรรมการจดั การแข่งขนั จะต้องแสดงผลของการให้คะแนนในภาพรวมของการแขง่ ขนั 10. การแขง่ ขันแบบเปน็ ทีม หมายรวมถงึ การแขง่ ขันอนิ เตอร์เนชนั่ แนลทีมดว้ ย 10.1 การให้คะแนน 10.1.1 ในแต่ละรอบของการแข่งขัน ควรให้คะแนนแบบเปิดเผยและคู่ลีลาศ ทีไ่ ดร้ ับการประเมนิ อันดับ 1, 1½, 2, 2½, 2, 3 คทู่ ่ีได้คะแนนที่ดีท่สี ุดคอื คู่ท่ไี ด้หมายเลข 1 10.1.2 เพื่อการปฏิบัติท่ีเท่าเทียมกัน ให้ใช้ระบบการให้คะแนนที่เหมือนกัน และการเต้นทุกครั้ง คู่เต้นจะต้องท�ำการแข่งขันซ่ึงกันและกัน ทั้งน้ีจะไม่อนุญาตให้เปลี่ยนคู่เต้น ระหวา่ งกนั เป็นอันขาด 10.1.3 ใหน้ ำ� คะแนนท่ีได้มารวมกนั เพื่อเป็นผลในการตัดสิน 10.2 ระบบการให้คะแนนแบบ Skating System หมายถึง การให้คะแนนของ คณะกรรมการตัดสิน ตามรายละเอยี ดดงั นี้ 10.2.1 ผูต้ ดั สินแต่ละคนออกเสยี งโหวตเลือกคเู่ ตน้ ที่มคี วามสามารถเหมาะสม ในแต่ละรอบของการแข่งขัน ตามจ�ำนวนคทู่ ี่ประธานคณะกรรมการตัดสินกำ� หนด 10.2.2 ผ้ตู ดั สนิ กำ� หนดทีใ่ ห้แก่คู่เตน้ ท่ที �ำการแข่งขนั ในรอบชิงชนะเลิศ 10.2.3 ในการตัดสินรอบชิงชนะเลิศ ผู้ตัดสินจะต้องไม่ตัดสินให้คู่เต้นคู่ใดได้ ต�ำแหนง่ ในอนั ดับทีเ่ ดียวกัน ท้ังน้ไี มว่ ่าจะเป็นการแขง่ ขนั ประเภทใดกต็ าม 186 คมู่ ือฝึกอบรมผ้ฝู ึกสอนกีฬาลีลาศ

ระบบการตัดสินใหม่ของสหพันธ์กีฬาลีลาศโลก (WDSF New Judging System) (กรมพลศึกษา.2554) สหพันธ์กีฬาลีลาศโลกพยามยามผลักดันให้ลีลาศเป็นหนึ่ง ในการแข่งขนั กีฬาโอลมิ ปิกเกมส์ จึงไดส้ รา้ งหลกั เกณฑ์การควบคุมดแู ลผ้ตู ดั สินของสหพันธฯ์ ใหป้ ฏิบตั ิ ตามกฎเกณฑม์ าตรฐานและหวังใหผ้ ตู้ ัดสนิ ทกุ คนรว่ มกันรบั ผิดชอบและสหพันธฯ์ ยังไดป้ รบั ระบบ การตัดสนิ ทใ่ี ช้อยูท่ ผ่ี า่ นมาใหม่ ถึงแม้จะใชก้ ารได้ดแี ตย่ ังมีบางส่วนที่ควรต้องปรับปรงุ ดังน้ี 1. ให้มีความโปรง่ ใสมากขึ้น 2. ระดบั ของภาวะวิสยั สงู ขึน้ 3. ผู้ชม สื่อมวลชน ทีวี และ IOC สามารถเข้าใจไดง้ ่ายข้นึ 4. ผตู้ ดั สนิ สามารถช้แี จงและใหเ้ หตุผลได้ 5. มีปฏกิ ริ ิยาตอบกลบั ทด่ี จี ากนักกีฬาและผู้ฝกึ สอน ข้อเสนอของระบบการตัดสินใหม่ของสหพันธ์กีฬาลีลาศโลกตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของระบบ การตดั สนิ ใหมข่ องสหพนั ธก์ ฬี าลลี าศนานาชาตแิ หง่ ประเทศญป่ี นุ่ (JDSF) ไดใ้ ชร้ ะบบการตดั สนิ ของ ISU เป็นโครงร่างองค์ประกอบของโปรแกรมคะแนน (Program Components Score-PCS) และองค์ประกอบคะแนนของเทคนคิ (Technical Elements Score-TES) PCS อยู่บนพ้ืนฐานของการประเมินของ 5 โปรแกรม ในแต่ละส่วนประกอบได้ท�ำ เคร่ืองหมายบนมาตราส่วนของคะแนนที่สมบูรณ์ วิธีน้ีเรียกว่า ความประทับใจที่เกี่ยวกับศิลปะ ภายใตร้ ะบบ ISU เกา่ TES อยู่บนพื้นฐานของการประเมินค่าของส่วนประกอบมาตรฐานคุณสมบัติเฉพาะตัว ผู้ตัดสินต้องให้คะแนนของระดับการปฏิบัติงาน GOE วิธีนี้เรียกว่า การประเมินค่าทางเทคนิค ภายใต้ระบบ ISU เก่า หลังจากการหารือเป็นเวลานาน ได้บทสรุปท่ีอยู่บนพ้ืนฐานของระบบ การตดั สนิ ใหม่ที่เปน็ ชนดิ กีฬาที่เก่ยี วกับศิลปะและกีฬาเตน้ รำ� บนน้�ำแข็ง ระบบ ISU ไดพ้ ยายามให้ IOC ให้การรับรอง แน่นอนทีเดียวกีฬาลีลาศมีความต้องการและมีคุณสมบัติเฉพาะตัวดังกล่าวจึง จำ� เป็นที่ตอ้ งทำ� การดดั แปลงตกลงได้เสนอเป็นขอ้ คิดเห็นของระบบใหม่นี้ออกเป็น 2 ข้นั ตอนได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 คือ องค์ประกอบของโปรแกรมคะแนน PCS ที่ค่อนข้างจะด�ำเนินการ ได้อย่างรวดเร็วหลังจากได้รับการรบั รอง ขั้นตอนท่ี 2 คือ องค์ประกอบคะแนนของเทคนิค TES ช่วงเวลาน้ีติดขัดบางประการ ในประเภท Standard มีการจ�ำกัดวงของเทคนิคในฟิกเกอร์ท่ีอยู่ในหลักสูตรรวมถึง Variation และ Lines ตา่ งๆ สำ� หรบั ของ Latin American มีความแตกต่างออกไป ซง่ึ เพียงจ�ำกัดวงแต่ Basic Figures เท่าน้ัน ชื่อของฟิกเกอร์และเทคนิคมีความต้องการให้ระบุและพิจารณาอย่างรอบคอบ ในระดับของความยากง่ายเราจะต้องให้เกิดความยุ่งยากที่จะให้คู่ลาตินท่ีมีอันดับสูงและมี ความชำ�่ ชองทำ� การจำ� กดั วงของเทคนคิ ใน Variation ของลาตนิ และชว่ งเวลาน้ี TEC ไดก้ ำ� ลงั ทดลอง คมู่ อื ฝึกอบรมผูฝ้ ึกสอนกฬี าลลี าศ 187

ในประเทศญป่ี นุ่ เฉพาะใน Basic Figures เทา่ นนั้ คเู่ ตน้ รำ� ตอ้ งระบกุ ลมุ่ ฟกิ เกอรท์ จ่ี ำ� เปน็ ในโครงสรา้ ง ทา่ เต้น และโดยระบบของสหพนั ธ์กีฬาลลี าศโลก ใชส้ ำ� หรับในการแข่งขันระดบั สงู เทา่ น้นั (รายการ แข่งขนั ของโอลิมปกิ และชิงแชมปเ์ ปย้ี นโลก) ดูเหมือนไม่เหมาะสมทจี่ ะจำ� กดั ให้คแู่ ขง่ ขันใช้เฉพาะ Basic Figures เท่านั้น องค์ประกอบของโปรแกรม ISU Program component ซึ่งกีฬาลีลาศได้รับไว้เป็น บรรทัดฐานของการตัดสิน ระบบใหม่ของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ ได้เสนอส่วนประกอบ ของ 5 โปรแกรม ทใ่ี ชล้ งคะแนนออกจากกนั บนมาตราสว่ น 1 - 10 และใหเ้ ปน็ ไปไดใ้ นการใหค้ รง่ึ คะแนน และมีส่วนประกอบของ 5 โปรแกรมดังน้ี 1. ทา่ ทางดลุ ยภาพและการประสานกัน PB : Posture Balance and Coordination 2. คุณภาพของการเคลือ่ นไหว QM : Quality of Movement 3. การเคล่อื นไหวเขา้ กบั ดนตรี MM: Movement to Music 4. ความช�ำนาญระหว่างคู่ PS : Partnering Skill 5. การออกแบบท่าเต้นและการแสดงออก CP: Choreography and Presentation ตารางแสดง ลำ� ดบั ผลการแขง่ ขัน คะแนน ลำ� ดบั ผลการแขง่ ขัน เหนือชน้ั 10 Out Standing 9 Superior ยอดเย่ยี ม 8 Very Good ดีมาก 7 Good ดี 6 Above Average เกินค่าเฉล่ีย 5 Average โดยเฉลย่ี 4 Fair ต�่ำกว่าคา่ เฉล่ีย 3 Weak อ่อนหัด 2 Poor แย่ 1 Very Poor แยม่ าก แต้มของคู่แข่งขันท่ีได้รับจากคณะกรรมการตัดสินถูกใส่ลงไปในแต่ละจังหวะและ ปรบั เปล่ยี นเปน็ อนั ดบั (คะแนนทส่ี ูงสุด คอื ที่ 1) ผลการแข่งขนั ในรอบสดุ ท้ายถูกน�ำไปประมวลผล โดยระบบ Skating System 188 คู่มอื ฝกึ อบรมผ้ฝู กึ สอนกีฬาลลี าศ

ในความเป็นไปได้ท่ีจะด�ำเนินการในวิธีการใหม่น้ีจ�ำเป็นต้องเปล่ียนแปลงรูปแบบของ การแขง่ ขนั ในรอบสดุ ทา้ ยใหม่ จะตอ้ งแสดงเดยี่ ว (Solo Dance) ในทกุ จงั หวะของรอบรองชนะเลศิ (Semi-Final) จะคงไว้ของการตัดสินวิธีการเดิม และตกลงไว้ว่าจะท�ำการทดสอบในการตัดสิน ระบบใหมน่ พี้ รอ้ มกบั การแขง่ ขนั รปู แบบใหมใ่ นรอบสดุ ทา้ ยของแกรนดส์ แลม (Grand Slam Final) ในเมอื งเซย้ี งไฮ้ สาธารณรฐั ประชาชนจนี ชว่ งเดอื นธันวาคม 2009 ข้อเสนอนี้ไดเ้ สนอทเ่ี มือง Stuttgart ประเทศเยอรมัน ในช่วงการอบรมผู้ตดั สนิ ของสหพนั ธ์กีฬาลีลาศโลก ไดน้ ำ� เสนอโดยผู้ชำ� นาญการ และสมาชกิ ของสหพันธฯ์ บทสรุป กติกาและระเบียบการแข่งขัน หมายถึง แบบแผน กฎเกณฑ์หรือข้อตกลง ข้อก�ำหนด หรือข้อบังคับท่ีบัญญัติข้ึนเป็นแนวปฏิบัติในการจัดการแข่งขันกีฬา เพื่อให้คณะกรรมการตัดสิน ทุกคนยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ อันจะก่อให้เกิดความยุติธรรมต่อนักกีฬาท่ีเข้าแข่งขันให้มากท่ีสุด เท่าที่จะท�ำได้ กติกาการแข่งขันกีฬาลีลาศของสหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติได้ประกาศใช้เม่ือวันท่ี 14 พฤษภาคม 2543 ณ กรงุ มวิ นิค ประเทศเยอรมนั และได้มกี ารแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ ตามมติท่ปี ระชุม ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โดยประกาศใช้เม่ือวันท่ี 3 มิถุนายน 2544 ซึ่งกติกา มี 16 ข้อ สว่ นผตู้ ัดสนิ กีฬาลลี าศนน้ั จะต้องมีคณุ สมบตั ิ เชน่ มสี ขุ ภาพแขง็ แรง ไมม่ โี รคประจำ� ตัว หรือโรคติดต่อ บุคลิกภาพ ท่าทางการแต่งกายท่ีดี มีความยุติธรรม ไม่ล�ำเอียง มีความรู้ในกติกา และหมน่ั ศึกษาเทคนิคใหมๆ่ ตดิ ตามการแขง่ ขนั อย่ตู ลอดเวลา มีความร้ดู ้านเทคโนโลยี และการใช้ ภาษาสากล เป็นผู้ตรงต่อเวลา เป็นต้น และมีข้อปฏิบัติในการเตรียมตัวเป็นผู้ตัดสิน เช่น เรียนรู้ และทำ� ความเขา้ ใจเกณฑ์การตัดสนิ หรือขอ้ วนิ ิจฉัยใหถ้ อ่ งแท้ เข้าใจเรอ่ื งของเกณฑก์ ารตดั สนิ ผู้ตัดสิน กจ็ ะพจิ ารณาจากเวลาและพน้ื ฐานของจงั หวะ ทรงของลำ� ตวั การเคลอ่ื นไหว การแสดงทบี่ อกจงั หวะ การใช้เท้าและการใช้พ้ืนท่ีฟลอร์ ซึ่งในการแข่งขันกีฬาลีลาศที่เป็นสากลจะแบ่งออกเป็น รอบแรก รอบสอง รอบรองชนะเลศิ และรอบชิงชนะเลิศ ซง่ึ ขึน้ อยกู่ ับจำ� นวนคทู่ ่เี ข้าแขง่ ขนั ในรอบกอ่ นหน้า ถงึ รอบรองชนะเลศิ ผตู้ ดั สนิ ไดต้ กลงคดั เลอื กคทู่ ค่ี ดิ วา่ มกี ารแสดงทเ่ี หนอื กวา่ ผา่ นเขา้ แขง่ ขนั ในรอบ ต่อไป สว่ นในรอบชงิ ชนะเลศิ ผ้ตู ดั สนิ จะจัดแยกอันดับคู่แข่งในแตล่ ะจงั หวะ ผตู้ ัดสินจะจัดอนั ดับ ตง้ั แตอ่ นั ดบั ที่ 1 ถงึ อนั ดบั ท่ี 6 และนำ� ผลอนั ดบั จากผตู้ ดั สนิ ทง้ั หมดมาคดิ อนั ดบั รวมกนั และประกาศ ผลการแข่งขนั ค่มู อื ฝึกอบรมผ้ฝู กึ สอนกีฬาลลี าศ 189

บรรณานกุ รม กรมพลศึกษา.(2552). คมู่ อื ผูฝ้ กึ สอนกฬี าลีลาศ T - Licence. กรุงเทพฯ: โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กัด. กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.(2539). โภชนาการกับการกีฬา. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ . กองโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข.(2557). กินอยา่ งฉลาดในยคุ 2000. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก. การกีฬาแหง่ ประเทศไทย. (ม.ป.ป.). กติกาลลี าศ [ออนไลน]์ . แหลง่ ทีม่ า: http://www.sat.or.th [2557, ตุลาคม 1] จนิ ตนา สรายทุ ธพทิ กั ษ.์ (2556). เอกสารคำ� สอน วชิ า 2723247 การปฐมพยาบาล. คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ชาติชาย อิสรัมย์.(2525). หลักและวิธีการฝึกกีฬา. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย รามค�ำแหง. ชศู ักดิ์ เวชแพทยแ์ ละกันยา ปาละวิวธั น.์ (2536). สรีรวิทยาของการออกก�ำลงั กาย. พมิ พ์คร้งั ท่ี 4. กรงุ เทพมหานคร: ธรรกมลการพิมพ์. ถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์ และกุลธิดา เชิงฉลาด.(2544). ปทานุกรมศัพท์กีฬาพลศึกษาและ วิทยาศาสตร์การกฬี า. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนกั พมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ทวีพงษ์ กล่ินหอม.(2531). เอกสารค�ำสอนลีลาศ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะพลศกึ ษา. (เอกสารอดั สำ� เนา). เทพวาณี หอมสนิท(ผู้แปล).(2537). โภชนาการส�ำหรับนักกีฬา: คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬา. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ครุ สุ ภา. เทพวาณี หอมสนิท.(2543). การบาดเจ็บทางการกฬี า: คมู่ อื ปอ้ งกันการบาดเจ็บและการพยาบาล ฉุกเฉนิ . กรุงเทพฯ: บริษัท บพธิ การพมิ พ์ จ�ำกัด. ธงชัย เจริญทรพั ยม์ ณี.(2542). ลีลาศ. กรุงเทพฯ: สวุ ิรยิ าสาสน์ . นงนุช ตันติธรรม.(2542). คู่มือการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น. กรุงเทพฯ : สถาบันการแพทย์ ด้านอบุ ตั ิเหตแุ ละสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ . บญุ เลิศ กระบวนแสง.(2536). ลลี าศ. นติ ยสารลีลาศ. ปที ่ี1(ฉบบั ท่ี2) กันยายน: หนา้ 14-33. พวงทอง ไกรพบิ ลู ย.์ (2555). ตะคริว (Muscle cramp) [ออนไลน]์ . แหลง่ ที่มา: http://haamor. com/th/%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0 %B8%A7 [2555, สงิ หาคม 18] 190 คูม่ อื ฝึกอบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาลีลาศ

พิชิต ภูติจันทร์.(2549). กีฬาลีลาศ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. ยุทธศาสตร์การพัฒนาส่ือการเรียนรู้ เพอ่ื สงั คม มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. 2555. การปฐมพยาบาล[ออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า: http://www.swu.ac.th/journal/swuvision/v1n3/article07.htm [2555, กรกฎาคม 20] รดี เดอร์ ไดเจสท.์ (2542). รคู้ ณุ รโู้ ทษโภชนาการ. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั รดี เดอร์ ไดเจสท์ (ประเทศไทย) จำ� กดั . โรงพยาบาลมหาชนะชยั . (2555). การชว่ ยฟน้ื คนื ชพี [ออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า: http://www.mhhos. com /article_view.php?id=20 [2555, กนั ยายน 19] วรรธนะ แถวจันทกึ .(2555). การบาดเจ็บจากการเลน่ กฬี า. [ออนไลน]์ . งานกายภาพบำ� บัด สถาน พยาบาล มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งท่ีมา: http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/ ศิลปชัย สวุ รรณธาดา.(2548). การเรียนรูท้ ักษะการเคลอื่ นไหว ทฤษฎีและปฏิบัตกิ าร. กรงุ เทพฯ : สำ� นักวิชาวิทยาศาสตรก์ ารกีฬา, จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ศิลปชัย สุวรรณธาดา.(ม.ป.ป.).จติ วทิ ยาการกีฬา 1. กรงุ เทพฯ : สำ� นักวิชาวทิ ยาศาสตร์การกฬี า, จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. สถาบนั พฒั นากีฬาตะกรอ้ นานาชาติ (INTA). (ม.ป.ท.). คู่มอื การฝกึ สอนกีฬาเซปกั ตะกร้อ (เล่ม 1). สถาบนั พัฒนากีฬาตะกร้อนานาชาติ (INTA). (ม.ป.ท.). คมู่ ือผู้ฝึกสอนเซปักตะกร้อ B-License. สนธยา สลี ะมาด.(2555). หลกั การฝึกกีฬาส�ำหรบั ผู้ฝกึ สอนกฬี า. กรงุ เทพมหานคร : ส�ำนกั พมิ พ์ แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. สมชาย ประเสรฐิ ศิรพิ นั ธ์.(2557) เพศและการเจรญิ เติบโต, (ม.ป.ท.). สมาคมกีฬาลีลาศแห่งประเทศไทย.(2557). ระเบียบการแข่งขัน [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.tdsa.or.th/uploads/files/th/ALKLXS3862GSW4TCRSP6LU48 S61N6ZGNT9A052014032458PM.pdf สิทธา พงษพ์ บิ ูลย.์ (2557) การประเมนิ องคป์ ระกอบของรา่ งกาย, (ม.ป.ท.). สิทธิชัย ปรียาดารา.(2546). การอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศข้ันสูง. กรุงเทพฯ: สมาคมกีฬาลีลาศ แหง่ ประเทศไทย. สิทธิชัย ปรียาดารา และกวี วิโรจน์สายลี. (2557). ประวัติกีฬาลีลาศ 10 จังหวะ [ออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า: http://www.leelart.com/09acc/history/10%20dance%20history.html Allerheiligen, W.B. and Rogers, R. (1995). Plyometrics program Design. National Strength and Conditioning Association Journal. Allerheiligen, W.B. and Rogers, R. (1995). Plyometrics program design. Part 2. National Strength and Conditioning Association Journal. American College of Sports Medicine. (2000). ACSM’s Guidelines for Exercise Testing and Prescription. 6th ed. Baltimore : Williams & Wilkins, inc. Arik W., Carl.D. and Tim A. (2010). Level one Certification. Keiser Training Institute. Bernardot, Dan (editor). (1993). Sport Nutrition: A Guide for the Professional Working with Active People. (2nd ed.). USA: The American Dietic Association. ค่มู อื ฝึกอบรมผ้ฝู ึกสอนกีฬาลลี าศ 191

Bompa, T.O. (1993). Periodization of strength; the new wave in strength training. Veritas publishing inc. Burke, Louis. (1995). The Complete Guide to Food for Sports Performance: A Guide to Peak Nutrition for Your Sport. (2nd ed.). St. Leonard NSW Australia: Allen & Unwin. Chu, D.A. (1992). Jumping into plyometrics. Champaign, IL: Human Kinetic. McArdle, D.,Katch, I., and Katch, L. (1996) Exercise physicology. 4 th ed. Baltimore: Williams & Wilkins. Gascoigne, Hester (editor). (1996). Smart Sport: The Ultimate Reference Manual for Sports People. Chapman Aet Australia: RWA Publishing Pty Ltd. Goldberger, E. 1990. Treatment of cardiac emergency. (5 th ed.) St. louis: The C.V. mosby Company. Hawley, J.,and Burke, L. (1998). Peak Performance : Training and Nutritional Strategies for Sport. NSW: Allen & Unwin. Martens, R. (2012). Successful Coaching 3rd edition. Champaign Illinois, Human Kinetics. Maughan, Ronald J (editor). (2000). Nutrition in Sport. London: Blackwell Science Ltd. McAdrdle WD, Katch FL, Katch VL. (2001). Exercise Physiology: Energy, Nutrition, and Human Performance. 5th ed. Williams & Wilkins, inc. Mirkin, Gabe and Hoffman. (1978). The Sport Medicine Book. O’Shea, P. (1999). Toward an understanding of power. National Strength and Conditioning Association Journal. Pressman, Alan H. (1997). The Complete Idiot’s Guide to Vitamins and Mineral. New York: Alpha Books. Pyke, F. S., & Australian Sports Commission. (2001). Better coaching: Advanced coach’s manual 2nd edition. Australia: Australian Sports Commission. Speryn, Peter N. (1983). Sport and Medicine. Borough Green, England: Butterworths. Tao T. Le and Kendall Krause. (2012). First aid for the basic sciences. General principles. editor, Vinita Takiar 2nd ed. New York: McGraw-Hill Medical. William, Melvin H. (2010). Nutrition for Health, Fitness and Sport. Ninth Edition. McGrew-Hill International Edition. NewYork: McGrew-Hill Companies, Inc. Wilmore, Jack H. and Costill, David L. (1999). Physiology of Sport and Exercise. (2nd ed.). Champaign: Human Kinetics. 192 คูม่ อื ฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลลี าศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook