Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นักวิทย์คิดถึงในหลวง

นักวิทย์คิดถึงในหลวง

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-03-04 00:14:03

Description: หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

ในนคักหิดวถลทิ งึ ยว์ ง ซึ่งเป็นโรงเรียนให้บุตรผู้ป่วยโรคเร้ือนท่ีแยกเลี้ยงจากบิดามารดาต้ังแต่ แรกเกดิ ตลอดจนโรงเรยี นในพระบรมราชปู ถัมภ์อืน่ ๆ อีก เชน่ โรงเรยี น วชริ าวธุ วทิ ยาลยั โรงเรยี นในเครอื โรงเรยี นราชวนิ ติ โรงเรยี นปยิ ชาตพิ ฒั นา โรงเรยี นสตรวี ดั มหาพฤฒาราม โรงเรยี นพระตำ� หนกั สวนกหุ ลาบ โรงเรยี น สายน้ำ� ผงึ้ โรงเรียนสริ นิ ธรราชวทิ ยาลัย โรงเรยี นวนิ ิตศึกษา และโรงเรยี น มัธยมทับทิมสยาม ๐๔ [๖] นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงจัดต้ังมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อจัดการเรียนการสอนผ่านระบบโทรคมนาคม โดยออกอากาศผ่าน ดาวเทียมไทยคม พระราชกรณียกจิ ดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรยี น ทรงตระหนัก ถึงความส�ำคัญของการศึกษาภายหลังจากท่ีส�ำเร็จการศึกษาในระบบ โรงเรยี น เพอื่ เสรมิ สรา้ งให้ “เกดิ ความรู้ ความเฉลยี วฉลาด สามารถปรบั ตน ให้เข้ากับส่ิงแวดล้อม และสามารถด�ำรงตนให้อยู่ในสังคมอย่างม่ันคง เป็นสุข” [๗] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการจัดต้ัง “โรงเรียน พระดาบส” ซงึ่ เป็นโรงเรียนส�ำหรับฝกึ อาชีพแก่บคุ คลทว่ั ไป ศูนยศ์ ึกษา การพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ ซึ่งเป็น “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ ที่มีชีวิต” ที่รวมตัวอย่างความส�ำเร็จในการพัฒนาแก้ปัญหาตามสภาพ ภูมิศาสตร์ท่ีแตกต่างกัน [๘] และ “ศาลารวมใจ” ซึ่งเป็นสถานที่ท่ีรวม ความสามัคคขี องชาวบ้านในชนบท โดยเป็นหอ้ งสมดุ และมกี ารรับรักษา พยาบาลเบื้องต้น [๖] เป็นต้น พระราชทาน “ทฤษฎีใหม่” เพื่อเป็น แนวทางให้เกษตรกรในการบริหารการจัดการท่ีดินและน�้ำในที่ดินขนาด เล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด [๙] โดยทดลองใช้ครั้งแรกท่ีบริเวณใกล้วัด มงคลชัยพัฒนา จังหวัดสระบรุ ี [๑๐] ทรงจัดตั้งโครงการสารานุกรมไทย - 101 -

สำ� หรบั เยาวชนเพอื่ ใหป้ ระชาชนไดค้ น้ ควา้ หาความรดู้ ว้ ยตนเอง นอกจากนี้ ยงั มโี ครงการในพระราชดำ� ริอีกมากมาย พระองค์ยังพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อก่อต้ัง เป็นกองทนุ การศึกษาข้ึนหลายทุน หลายระดบั การศกึ ษา เพอ่ื ช่วยเหลอื ผู้ทข่ี าดแคลนทุนทรพั ย์ และช่วยส่งเสริมผทู้ ม่ี คี วามสามารถทางวิชาการ ดีเยี่ยม ให้ได้รับการศึกษาถึงข้ันสูงสุด [๑๑] เช่น “ทุนมูลนิธิภูมิพล” เป็นทุนระดับอุดมศึกษาที่ช่วยเหลือการศึกษาและช่วยเหลือการท�ำ วิทยานิพนธ์หรือวิจัย รวมท้ังให้ไปศึกษาต่อในต่างประเทศ “ทุนมูลนิธิ อานันทมหิดล” ซึ่งเป็นทุนระดับบัณฑิตศึกษาเพ่ือส่งเสริมบัณฑิตที่มี ความสามารถอย่างยอดเยี่ยมให้มีโอกาสไปศึกษาต่อวิชาชั้นสูงในต่าง ประเทศ และ “ทุนเล่าเรียนหลวง” (King’s Scholarship) ซ่ึงเป็น ทุนพระราชทานให้นักเรียนที่ส�ำเร็จมัธยมศึกษาตอนปลายให้ไปศึกษา ระดับอุดมศึกษาในต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมีทุนพระราชทานอ่ืนๆ เช่น ทุนการศึกษาสงเคราะห์ในมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ทุนมูลนิธิ ราชประชาสมาสัยในพระบรมราชูปถัมภ์และมูลนิธิโรงเรียนราชประชา สมาสัย ทนุ นวฤกษท์ พี่ ระราชทานใหน้ ักเรียนในพระบรมราชปู ถัมภ์ และ ทุนการศกึ ษาพระราชทานแก่นักเรียนเฉพาะกรณี เช่น นักเรยี นชาวเขา นักเรียนในโรงเรียนที่ทรงจัดต้ังข้ึน และรางวัลส�ำหรับนักเรียนและ โรงเรยี นดีเด่นอกี ดว้ ย “การศึกษาเป็นเครื่องมืออันส�ำคัญในการพัฒนาความรู้ ความคิด ความประพฤติ ทัศนคติ ค่านิยม และคุณธรรมของบุคคล เพื่อให้เป็น พลเมืองดีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศก็ย่อมท�ำได้ สะดวกราบรื่น ได้ผลที่แน่นอนและรวดเร็ว” [๑๒] เป็นหน่ึงในแนว - 102 -

ในนคกัหิดวถลิทงึ ยว์ ง พระราชด�ำริเกี่ยวกับความหมายของการศึกษา ผู้เขียนได้รับพระมหา กรุณาธิคุณด้านการศึกษา และจะใช้ความรู้ความสามารถท่ีได้เรียนมา ในการพัฒนาคนและพัฒนาประเทศสนองตามแนวพระราชด�ำริด้าน การศึกษาท่ีไดพ้ ระราชทานไว้ ข้าพระพุทธเจ้านายอุดมชัย เตชะวิภู น้อมส�ำนึกในพระมหา กรุณาธิคณุ อยา่ งหาทสี่ ดุ มไิ ด้ ด้วยเกลา้ ดว้ ยกระหมอ่ ม ขอเดชะ เกย่ี วกบั ผูเ้ ขียน ดร.อุดมชัย เตชะวิภู เป็นนักวิจัยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ หรอื เนคเทค ทำ� วจิ ยั เกยี่ วกบั การสรา้ ง ภาพทางการแพทย์ เช่น ภาพอัลตราซาวด์และภาพเอ็มอาร์ไอ เป็นกรรมการและพ่ีเลี้ยงให้กับนักเรียนมัธยมที่เข้าประกวด โครงงานวทิ ยาศาสตรใ์ นเวทตี า่ ง ๆ เชน่ การประกวดโครงงานของ นกั วทิ ยาศาสตรร์ นุ่ เยาว์ และโครงการประกวดนวัตกรรมสเี ขียว นอกจากน้ี ผเู้ ขยี นยงั เปน็ อาจารยพ์ เิ ศษและอาจารยท์ ป่ี รกึ ษารว่ ม ใหก้ บั นักศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั - 103 -

เอกสารอา้ งอิง [๑]ประวตั โิ รงเรยี นราชวนิ ติ มธั ยม[อนิ เทอรเ์ นต็ ].[เขา้ ถงึ เมอ่ื ๑ก.พ.๒๕๖๐]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://rnm.ac.th/httpdocs/app/about_rnm_his.htm. [๒] ๙ ทุนพระราชทานของในหลวงรัชกาลท่ี ๙ ใช้การศึกษาพัฒนา ชาติมั่นคง. ผู้จัดการออนไลน์. ๒๕๕๙ ตุลาคม ๓๑; Special Scoop. [เขา้ ถงึ เมอื่ ๑ ก.พ. ๒๕๖๐]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://astv.mobi/AU9P7wx. [๓] ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรัสพระราชทานแก่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ [อนิ เทอรเ์ นต็ ]. [เข้าถงึ เมอื่ ๑ ก.พ. ๒๕๖๐]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.sa.ku.ac.th/king-spku/. [๔] มลู นธิ อิ านนั ทมหดิ ล [อนิ เทอรเ์ นต็ ]. [เขา้ ถงึ เมอื่ ๑ ก.พ. ๒๕๖๐]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://kanchanapisek.or.th/kp11/index.th.html. [๕] พระราชกรณียกิจด้านการศึกษาในระบบโรงเรียน [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเม่ือ ๑ ก.พ. ๒๕๖๐]. เข้าถึงได้จาก: https://web.ku.ac.th/ king72/2542-08/main1.htm. [๖] สกุณา บุญนรากร, นิตยา ภัสสรศิร,ิ ชชู าติ พ่วงสมจิตร์, และนพดล เจนอักษร. ๖๕ ปคี รองราชย:์ พระมหากรณุ าธิคณุ ต่อการจัดต้ังโรงเรียน ของไทย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี ๒๕๕๖; ๒๔: ๑๑๙-๑๓๙. [เขา้ ถงึ เม่อื ๓ ก.พ. ๒๕๖๐]. เขา้ ถึงได้ จาก: http://edujournal.psu.ac.th/edujn/index.php/edu_jn2015/ article/viewFile/104/8pdf. - 104 -

ในนคักหิดวถลิทงึ ยว์ ง [๗] พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการ ศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันท่ี ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๒๒ [อินเทอร์เนต็ ]. [เขา้ ถึงเมือ่ ๓ ก.พ. ๒๕๖๐]. เขา้ ถงึ ได้จาก: http://www. sa.ku.ac.th/king-spku/. [๘] ดร.สเุ มธ ตนั ติเวชกลุ . พระมหากรุณาธิคณุ ด้านการศึกษา. ใน: การ ทรงงานพฒั นาประเทศของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั . พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๑. กรงุ เทพฯ: ศูนย์การพิมพ์เพชรรุ่ง; ๒๕๔๔. หน้า ๙๓-๑๐๐. [เข้าถึงเมื่อ ๑ ก.พ. ๒๕๖๐]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.obec.go.th/documents /17895. [๙] มลู นธิ ชิ ยั พฒั นา. ทฤษฎใี หม.่ [อนิ เทอรเ์ นต็ ]. [เขา้ ถงึ เมอื่ ๓ ก.พ. ๒๕๖๐]. เข้าถึงได้จาก: http://www.chaipat.or.th/concept-and-theory- development/2010-06-02-08-30-08.html. [๑๐] ปราโมทย์ ไมก้ ลดั . ทฤษฎใี หม่ ตามแนวพระราชดำ� ร.ิ [อนิ เทอรเ์ นต็ ] [เขา้ ถงึ เมอื่ ๓ ก.พ. ๒๕๖๐]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://web.ku.ac.th/nk40/ pramote.htm. [๑๑] สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. ทนุ พระราชทาน. ใน: ในหลวงกบั การศกึ ษาไทย: หา้ ทศวรรษสริ ริ าชสมบตั .ิ กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทร์ พร้นิ ต้งิ แอนดพ์ บั ลิชชิง่ ; ๒๕๔๐. หน้า ๑๑๗-๑๒๙. [๑๒] เกรียงศักด์ิ เจริญวงศศ์ ักด์ิ. จอมปราชญน์ กั การศึกษา : สังเคราะห์ วเิ คราะห์ และประยุกต์ แนวพระราชดำ� รัสดา้ นการศกึ ษาและการพฒั นา คน. กรุงเทพฯ: ด่านสทุ ธาการพิมพ;์ ๒๕๔๓. - 105 -

องคผ์ ู้เปน็ มหาปราชญ์ของแผน่ ดนิ ​ ดร.จารุวรี สนิทวงศ์ ณ อยธุ ยา ถา้ ใครอา่ นพระราชประวตั ขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท ี่ ๙ คงจะจ�ำได้ว่า ในช่วงท่ีพระองค์ยังทรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้า น้องยาเธอฯ ของรัชกาลท่ี ๘ น้ัน พระองค์ได้ตั้งพระทัยศึกษาด้าน วิศวกรรมศาสตร์ เน่ืองจากทรงสนพระทัยเร่ืองการก่อสร้างมาต้ังแต่ยัง ทรงพระเยาว์ แต่เมื่อเหตกุ ารณ์บา้ นเมอื งเปลีย่ นแปลง และท�ำใหค้ นไทย เราไดม้ บี ญุ ทจี่ ะไดม้ พี ระมหากษตั รยิ ร์ ชั กาลท่ี ๙ แหง่ พระบรมราชจกั รวี งศ์ - 106 -

ในนคกัหดิ วถลทิ งึ ยว์ ง และพระองค์จึงทรงต้องเปลี่ยนทิศทางในการศึกษาเพื่อเข้ารับการศึกษา ทางด้านรัฐศาสตร์แทน เพ่ือให้เหมาะสมกับพระราชภาระในฐานะ พระมหากษตั ริย์ของประเทศไทย การศึกษาของไทยน้ันจะให้เราเลือกเรียนสายวิทย์หรือสายศิลป์ ตง้ั แตอ่ ยสู่ มยั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย และผทู้ เ่ี รยี นสายวทิ ยาศาสตรม์ กั จะ ไมไ่ ดร้ บั การสนบั สนนุ ใหศ้ กึ ษา หรอื คน้ หาความรทู้ างดา้ นสงั คม การเกษตร ดนตรี ปรชั ญา ภาษา ดงั นน้ั สว่ นใหญใ่ ครทเี่ รยี นสายวทิ ยาศาสตรม์ า กม็ กั จะ ยังคงทำ� งานทยี่ ังเก่ยี วข้องใกลเ้ คียงกับสิง่ ทต่ี นไดเ้ รียนมาแล้ว หรือจะฉีก ทางออกไปกค็ งไมห่ ลากหลายนกั หากพจิ ารณาถงึ พระปรชี าสามารถดา้ น ตา่ งๆ ในมุมมองของนักวทิ ยาศาสตร์ กลา่ วไดว้ า่ พระองคท์ รงเปน็ แบบ อยา่ งจากสิง่ ที่ทรงปฏบิ ตั มิ าตลอด ๗๐ ปี ไดแ้ ก่ ๑. การเมือง การรัฐศาสตร์ (รัฐศาสตร์) จากการที่พระองค์ทรงเป็น พระประมุขของประเทศยาวนานถงึ ๗๐ ปี ๒. ปรัชญา (ศิลปศาสตร์) เห็นได้จากพระราชด�ำรัสแทบจะทุกประโยค มคี วามหมายลึกซ้ึง สามารถที่จะนำ� มาใชส้ อนคนไดอ้ ย่างไมจ่ �ำกดั เวลา ๓. การทูต (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ - รัฐศาสตรเ์ ช่นกนั ) ๔. พระองค์ทรงใช้ภาษาได้อย่างน้อย ๔ ภาษา (ไทย อังกฤษ ฝร่ังเศส เยอรมนั ) และทรงแปลหนงั สอื (ตโิ ต นายอนิ ทรผ์ ปู้ ดิ ทองหลงั พระ) รวมถงึ พระราชนพิ นธห์ นงั สอื เองดว้ ย (พระมหาชนก คณุ ทองแดง) (อกั ษรศาสตร)์   ๕. ประวัตศิ าสตร์ (เหน็ ไดจ้ ากทรงท�ำวจิ ยั เกีย่ วกับพันธ์ขุ องสนุ ัขทรงเล้ยี ง คือคุณทองแดง ทที่ รงเทา้ ความไปจนถึงพนั ธขุ์ องสุนัขในประเทศอยี ปิ ต์)  ๖. การเกษตร (การปลูกพชื เลี้ยงสัตว์ การจัดการนำ้� - เกษตรศาสตร)์   - 107 -

๗. วศิ วกรรมศาสตรห์ ลายดา้ น (การสรา้ งเข่ือน ท�ำฝนหลวง สรา้ งเรือใบ) ๘. ด้านมนุษยธรรม - การลงส�ำรวจความยากจนและความเป็นอยู่ของ ประชาชน และทรงใหก้ ารสนบั สนนุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทงั้ แบบรายบคุ คลและ ในชมุ ชน (สังคมศาสตร)์ ๙. การสร้างระบบสาธารณสุขให้กับประเทศ และให้ความช่วยเหลือ โดยตรงกบั คนป่วยทวั่ ประเทศ (สาธารณสขุ และแพทยศาสตร์) ๑๐. การศกึ ษา ไดท้ รงทำ� นบุ ำ� รงุ โรงเรยี นและการศกึ ษาของประเทศอยา่ ง ตอ่ เนอื่ ง และมพี ระราชดำ� รใิ หม้ กี ารจดั การศกึ ษาทางไกลใหก้ บั คนทอี่ ยใู่ น ท้องถิ่นทรุ กันดาร (ครศุ าสตรแ์ ละศกึ ษาศาสตร์)  ๑๑. การดนตรี พระองคส์ ามารถทรงเครอ่ื งดนตรไี ดห้ ลายชนดิ และทรงมี พระปรชี าสามารถในการพระราชนพิ นธเ์ พลงทมี่ คี วามแปลกใหม่ ไพเราะ และกินใจ  ๑๒. การอนรุ ักษป์ ่าและนำ้� (วนศาสตร์และเกษตรศาสตร)์   ตวั อยา่ งเหลา่ นเี้ ปน็ เพยี งเสยี้ วหนง่ึ ของพระราชกรณยี กจิ ทพ่ี ระองค์ ทรงได้ทุ่มเทพระวรกาย ตลอดพระชนม์ชีพ ตัวผู้เขียนยังนึกไม่ออกว่า พระองค์สามารถสรรหาความรเู้ หล่านีม้ าไดเ้ พียงไร และรสู้ กึ ว่าพระบาท สมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว รัชกาลที่ ๙ นั้นทรงเป็นพระพหสู ูตโดยแท้  ในฐานะนักวิทยาศาสตร์ซ่ึงถือว่าเป็นระดับมันสมองของประเทศ เราควรย้อนกลับมาดูว่า ในความฉลาดและเชี่ยวชาญท่ีมีนั้น เราจะเพ่ิม ขีดความสามารถของตนเองขน้ึ ไปในเรอ่ื งใดไดอ้ กี เพ่ือใช้ความรู้ทางด้าน วิทยาศาสตร์ บวกกับมุมมองในด้านอ่ืนในการพัฒนาประเทศให้ครบ ทกุ ๆ ดา้ น เพอ่ื สบื สานสง่ิ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๙ ทรง - 108 -

ในนคกัหดิ วถลิทงึ ยว์ ง กระท�ำตลอดมา ต้ังใจปฏิบัติบูชาจากการท�ำงานและการใช้ชีวิตประจ�ำ วนั ถวายเปน็ พระราชกุศล เพอ่ื ให้พระองคส์ ามารถเสด็จส่สู รวงสวรรค์ได้ อย่างสบายพระราชหฤทยั เก่ียวกบั ผู้เขียน ดร.จารวุ รี สนทิ วงศ์ ณ อยธุ ยา เปน็ ศษิ ยเ์ กา่ โรงเรยี นจติ รลดา สำ� เรจ็ ปรญิ ญาตรดี า้ นเทคโนโลยชี วี ภาพ คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และปริญญาเอกด้านอณูชีววิทยาและเทคโนโลยี ชวี ภาพ จากมหาวทิ ยาลยั เชฟฟลี ด์ สหราชอาณาจกั ร มคี วามตง้ั ใจ ทำ� งานใดๆ กต็ าม ทจ่ี ะเป็นประโยชนก์ ับประเทศชาติ และชว่ ย เหลือผอู้ ืน่ ตามกำ� ลงั ความสามารถของตน ตามรอยของพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เคยท�ำงานด้าน สาธารณสุข โดยเฉพาะในเรือ่ งการปอ้ งกันและควบคมุ เอดสแ์ ละ วณั โรคและชว่ ยระดมทนุ ใหก้ บั ประเทศเพอื่ ยตุ ปิ ญั หาเอดส์วณั โรค และก�ำจัดมาลาเรีย ปัจจุบันก�ำลังเรียนรู้เร่ืองการเกษตร เพ่ือ สร้างสวนป่าในที่ดินของตนเอง ให้เกิดน�้ำใต้ดิน เพิ่มพ้ืนท่ีป่าใน เมอื ง และเดนิ ตามรอยเทา้ พอ่ โดยใชว้ ธิ เี ศรษฐกจิ พอเพยี ง นอกจาก น้ันยังท�ำงานด้านสังคมหลายอย่าง อาทิ เป็นล่ามไทย-อังกฤษ ในงานประชมุ ตา่ งๆ ชว่ ยอนรุ กั ษป์ า่ ในจงั หวดั ศรสี ะเกษ เพอ่ื เปลย่ี น ให้เป็นป่าชุมชน ร้องเพลงให้กับผู้ต้องขังในเรือนจ�ำคลองเปรม เพอ่ื สรา้ งความสบายใจและลดการใชย้ าของผู้ตอ้ งขงั ฯลฯ - 109 -



ส.ค.ส. พระราชทาน ธนภทั ร ศรโี มรา ๏ส.ค.ส. กส.๙ มากเรอ่ื งราว เพือ่ ชาวไทย ทงั้ มวล ลว้ นหวงั ให้ พสกสุข สวัสดี ๏แสดง แฝงความหมาย ใหไ้ ทยรัก สามัคคี เป่ยี มสขุ ทกุ ข์หลีกหนี เพราะมั่งมี ดว้ ยดงี าม ๏ฝึกฝน ตนเสมอ ไมพ่ ลง้ั เผลอ หรือผลีผลาม รุดหน้า พยายาม ไมห่ วน่ั ครา้ ม หรอื ยา่ มใจ ๏พูดง่าย ไมพ่ ดู ผดิ คดิ แลว้ ทำ� น�ำไปใช้ ยมิ้ สู้ รู้ทกุ ขภ์ ัย ผา่ นพ้นได้ ด้วยจิตตรอง ๏โภคะ จะสมหวงั ใชค่ ิดดงั แลว้ มากอง อยากได้ ใช่แต่จอ้ ง คิดแลว้ ต้อง ทดลองท�ำ ๏กตัญญู รู้เมตตา คอื ธรรมพา ชวี าลำ้� ทวีค่า น่าจดจำ� จนฉำ�่ ช่นื ระรน่ื ใจ ๏สุขพอ ท่ีพ่อสอน นิรนั ดร นอ้ มน�ำใช้ เปลย่ี นทุกข์ เป็นสขุ ใจ ผา่ นพน้ ภัย ในทกุ วนั ถอดเปน็ คำ� ประพนั ธจ์ าก ส.ค.ส. พระราชทาน ปี พ.ศ. ๒๕๓๐–๒๕๕๙ - 111 -

แมว้ า่ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ นจี้ ะเปน็ ปแี รกทพ่ี วกเราคนไทยไมไ่ ดร้ บั ส.ค.ส. พระราชทานจากในหลวงรัชกาลท่ี ๙ แต่ท่ีผ่านมาพระองคพ์ ระราชทาน ส.ค.ส. แก่ปวงชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า ล้วนเป็นพรท่ีทรงคุณค่า แฝงไว้ ด้วยแง่คิดและแนวทางในการด�ำเนินชีวิต พระองค์พระราชทาน ส.ค.ส. ฉบับแรกแกพ่ สกนกิ รของพระองคเ์ มอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ และพระราชทาน ตลอดมาจนถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๙ มีเพียงปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ปเี ดยี วเทา่ นั้นทไี่ มม่ ี ส.ค.ส. พระราชทาน เพราะเกดิ เหตกุ ารณส์ นึ ามเิ ขา้ ชายฝง่ั ทะเลอนั ดามนั หากเราลองสังเกตใน ส.ค.ส. พระราชทานจะพบค�ำว่า “กส.๙” ลงท้ายอยู่ดว้ ยเสมอ ที่มาของรหสั กส.๙ นคี้ ือสญั ญาณเรยี กขานทางวิทยุ ประจำ� พระองคใ์ นเครอื ข่ายวิทยุสือ่ สารตำ� รวจนั่นเอง - 112 -

ในนคักหดิ วถลทิ ึงยว์ ง “ท�ำด”ี ๏วันหนงึ่ ซ่งึ ผนั ผ่าน เก็บเก่ียวกาล นานแคไ่ หน สวสั ด์ิ พิพฒั น์ชัย ปลอดภัยร้าย ดว้ ยทำ� ดี ๏แม้เวยี น เปล่ียนกห่ี น กส็ ุขล้น ท้นอย่างนี้ เปลี่ยนเดอื น เล่ือนเป็นป ี สขุ ที่มี ก็มากมาย ถอดเปน็ ค�ำประพันธจ์ าก ส.ค.ส. พระราชทาน ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ จาก ส.ค.ส. พระราชทานตลอดเกอื บ ๓ ทศวรรษทผ่ี า่ นมา ทำ� ใหเ้ รา ไดเ้ หน็ ถงึ พระเมตตาของพระองคท์ ม่ี มี ากมายตอ่ ปวงชนชาวไทย ทงั้ หลาย ทง้ั ปวงแลว้ พระองคท์ รงอยากเหน็ พสกนกิ รดำ� เนนิ ชวี ติ อยอู่ ยา่ งมคี วามสขุ บนพน้ื ฐานของความพอเพยี ง เกีย่ วกบั ผูเ้ ขียน ธนภัทร ศรีโมรา เป็นวิศวกรท่ีชอบการขีดเขียนโคลงกลอน ปัจจบุ นั เป็นนักทดสอบวสั ดุประจำ� ห้องปฏบิ ัตกิ ารทดสอบสมบตั ิ ทางฟิสิกส์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ หรือเอ็มเทค ท�ำหน้าที่ให้ค�ำปรึกษาและบริการทดสอบสมบัติทางกลของวัสดุ และผลติ ภณั ฑใ์ หก้ บั กลมุ่ ลกู คา้ ภาคอตุ สาหกรรม รวมถงึ งานวจิ ยั ภายในเอม็ เทค และงานวจิ ัยของภาครฐั - 113 -

หนังสือเลม่ นพี้ ิมพ์บนกระดาษถนอมสายตากรนี ร้ดี และไดร้ ับการสนบั สนนุ จากบรษิ ทั เอสซจี ี แพคเกจจิ้ง จำ� กดั (มหาชน)




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook