ปญั หาท่พี บบอ่ ย และแนวทางชว่ ยเหลือ ขโมย สาเหตอุ าจมาจากการทขี่ าดแคลน ขาดการยบั ย้งั ใจตนเอง แก้แค้น ตอ้ งการตนื่ เต้น ตามเพอ่ื น พสิ ูจนต์ นเอง วิธกี ารชว่ ยเหลอื 1. ไม่เปิดโอกาสให้มีการขโมย ให้เก็บของมีค่าให้เป็นส่วนตัว ไม่ควรน�ำเงินหรือของมีค่ามา โรงเรียน 2. เม่ือเกิดเหตุการณ์ขโมยในห้องเรียนหรือที่บ้าน ให้ทุกคนช่วยกันคิดว่าเกิดข้ึนได้อย่างไร จะป้องกันมใิ หเ้ กดิ ขน้ึ อีกได้ดว้ ยวิธใี ด 3. ไม่เปิดโอกาสให้เด็กท่ีขโมยโกหก จึงควรใช้ค�ำถามว่า“ เธอต้องการเอาเงินไปท�ำอะไร” แทนค�ำถามวา่ “เธอเอาเงินเพอ่ื นไปหรอื เปล่า” 4. ไม่ควรสรา้ งเงื่อนไขต่อรอง เช่น ถ้าบอกความจรงิ จะยกโทษให้ หรือขูว่ า่ ถ้าไมบ่ อกความจริง แลว้ ครูจบั ไดเ้ อง จะลงโทษหนัก 5. ชมทเี่ ด็กยอมรบั สารภาพ สอบถามถึงเหตุจงู ใจ การคิด การวางแผน 6. ให้เอาของหรือเงินท่ีขโมยไปมาคืน และขอโทษเด็กคนที่ถูกขโมยด้วย 7. ชวนใหค้ ดิ วา่ ถา้ ตอ้ งการอะไร จะมวี ธิ บี อกอยา่ งไรดี กระตนุ้ ใหม้ กี ารปรกึ ษาหารอื วางแผน กอ่ น จะทำ� จริงๆ 6. ชวนให้หาวธิ ีหาเงนิ ทถ่ี ูกต้อง เช่น การท�ำงาน หรือการเกบ็ เงินจากค่าขนม เพือ่ เอามาใชใ้ นสิ่ง ทีพ่ อ่ แมไ่ มไ่ ด้ใหจ้ รงิ ๆ 7. มกี ารลงโทษด้วยการบำ� เพญ็ ประโยชน์ชดใชค้ วามผิด ชดใชค้ ่าเสยี หาย ตามสมควร 8. ใหน้ กั เรยี นในหอ้ งเปน็ นกั สบื คอยสอดสอ่ งและรายงานครเู มอ่ื เหน็ สงิ่ ผดิ ปกติ เชน่ มพี ฤตกิ รรม พิรุธของนกั เรยี นบางคน มใี ครทมี่ เี งินใชม้ ากๆผดิ สงั เกต เปน็ ต้น 51
ปัญหาท่พี บบ่อย และแนวทางชว่ ยเหลอื ตดิ เกม การติดเกม เป็นสิ่งทีข่ ึ้นเกิดขน้ึ ไดง้ า่ ยในเด็ก การใหเ้ ด็กรูจ้ กั และเล่นเกมเท่ากบั เอาสง่ิ อันตรายมา ใกลต้ วั เดก็ พอ่ แมท่ ใ่ี จออ่ น ตามใจ ไมม่ เี วลา มกั พบวา่ เปน็ ตน้ เหตขุ องการตดิ เกม เดก็ ทต่ี ดิ เกมมกั มปี ญั หา ต่อไปน้ี น�ำมาก่อน เชน่ มีปัญหาการเรียน เขา้ กบั เพ่ือนไม่ได้ เหงา เครียด เอาแต่ใจ รอคอยไมไ่ ด้ ยง้ั ตวั เองไดย้ าก ไมเ่ ห็นคุณคา่ ในตัวเอง เม่ือตดิ เกม เดก็ คดิ ถงึ และเล่นเกมจนละเลยหน้าที่ หมกมุน่ ขาดความรบั ผดิ ชอบ ถา้ ไมไ่ ด้เลน่ จะ หงดุ หงิด อารมณเ์ สยี ไม่สนใจการเรียน ผลการเรยี นตกลง ไมส่ นใจทำ� กิจกรรมร่วมกับคนอืน่ หรอื ใช้เงิน มากขน้ึ โกหกเพื่อไปเลน่ อยู่ในโลกของตัวเอง เมือ่ ความอยากเลน่ เพิม่ มากขนึ้ บางรายไม่ยอมไปโรงเรยี น เพอ่ื เล่นเกมทบ่ี า้ น ถา้ หา้ มจะแอบหนไี ปเล่นเกมทีร่ า้ นเกมนอกบา้ น สาเหตุ 1. ขาดการควบคุมตนเอง 2. พอ่ แมไ่ ม่มีเวลากำ� กบั ให้เดก็ ท�ำตามกติกา หรือตามใจมากไมม่ กี ารตกลงกตกิ า 3. พ่อแม่ไม่ทำ� หรือสง่ เสริมให้เด็กท�ำกจิ กรรมท่ดี ี เหมาะสมตามวยั ท�ำใหเ้ ดก็ รสู้ กึ เบื่อ 4. เด็กเข้าสงั คมไม่ได้ หรอื มปี ญั หาทางอารมณ์ 5. อยใู่ นส่ิงแวดล้อมไม่ดี เช่น มีเพื่อนตดิ เกม ครอบครวั ท�ำงานรา้ นเกม แนวทางช่วยเหลือ 1. จงู ใจให้อยากเลกิ ดว้ ยตนเอง โดยฝึกใหม้ องผลลพั ธ์ระยะยาว 2. ตกลงกตกิ ากนั ใหช้ ัดเจน จัดเวลากนั ใหม่ ลดเวลาเล่นลงทลี ะน้อย กำ� หนดทางปฏบิ ตั เิ มอื่ เกิด ปญั หา เช่น ถา้ ไม่ท�ำตามจะให้ช่วยอยา่ งไร และจะท�ำอะไร 4. การเอาจริงกบั ขอ้ ตกลง ท่าทชี ัดเจน โดยตดิ ตามประเมนิ ผล พดู คุยเรอ่ื งน้เี ปน็ ระยะ คอยให้ กำ� ลงั ใจแตม่ ั่นคงในกตกิ า 5. เพิ่มกิจกรรมเพื่อเสริมการควบคุมตนเอง เพิ่มกิจกรรมอื่นที่น่าสนใจทดแทนเวลาท่ีเคยเล่น เกม อย่าปล่อยใหเ้ ด็กว่าง 6. ปรบั สภาพแวดลอ้ มใหส้ งบ ไม่มีสิ่งกระต้นุ เรอ่ื งเกม ลดการบ่นว่า หงดุ หงิดใส่กัน หรือพ่อแม่ ขัดแยง้ กันเองในเรอื่ งน้ี 52
ปัญหาท่พี บบอ่ ย และแนวทางช่วยเหลอื การปอ้ งกันปญั หา 1. การสร้างทกั ษะดา้ นต่างๆที่ทำ� ให้สนกุ ผ่อนคลายไดห้ ลายอย่าง เช่น กฬี า ดนตรี ท่องเท่ยี ว ศิลปะ ท�ำขนม เป็นต้น ก่อนท่ีจะเปิดโอกาสให้รู้จักเกม จะมีโอกาสติดเกมลดลง และเมื่อติดเกมแล้ว โอกาสจะไปฝกึ ทกั ษะดา้ นอืน่ จะทำ� ไดย้ าก 2. ฝึกความรับผิดชอบ และรักษาเวลาให้ได้ก่อนให้รู้จักเล่นเกม ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่ง ประเทศไทยแนะนำ� วา่ ไม่ควรใหเ้ ด็กเล่นเกม กอ่ นอายุ 6 ปี และใชเ้ วลาเลน่ วนั ละไม่เกิน 1 ช่ัวโมง 3. กำ� หนดกฎ เกณฑ์ กตกิ าชดั เจนและกำ� กบั ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎทว่ี างไว้ อยา่ ปลอ่ ยใหเ้ ลน่ โดยไมค่ วบคมุ ปญั หาดา้ นอารมณ์และปรับตวั ยาก ไม่มีเพอื่ น ปัญหาด้านอารมณ์พบได้บ่อยในเด็กวัยเรียน ส่วนใหญ่เก่ียวกับปัญหา ปรับตัวยาก ไม่มีเพื่อน ไม่ม่ันใจ วติ กกังวลงา่ ย หรอื ซึมเศรา้ แยกตัว เปน็ ตน้ สาเหตุมักมาจากขาดการฝึกฝน ท�ำให้ขาดความสามารถท่ีควรมี ขาดประสบการณ์ ไม่มั่นใจ ขี้กงั วล โรคซมึ เศรา้ โรคออติสตกิ พื้นอารมณห์ รอื นิสยั เดิมท่ชี อบแยกตวั พอ่ แมข่ ้กี ังวล การเลยี้ งดทู ี่เข้ม งวด รุนแรง ถูกดุ ถกู ท�ำโทษรนุ แรง วิธกี ารชว่ ยเหลือ 1. สรา้ งความคนุ้ เคย เปน็ กนั เอง และจดั กลมุ่ เพอื่ นใหท้ ำ� งานรว่ มกนั เปน็ กลมุ่ หาคหู่ ู จดั กจิ กรรม ทที่ ำ� งานเปน็ คู่ แนะนำ� เพอื่ นทเ่ี ปน็ คหู่ ู ใหช้ วนเพอื่ นพดู คยุ เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ แสดงออก ทลี ะนอ้ ย ใหก้ ำ� ลงั ใจ ฝึกทักษะการสื่อสาร 53
ปญั หาทพี่ บบ่อย และแนวทางชว่ ยเหลือ 2. ชวนเดก็ คุย ให้เด็กเล่าเรื่องท่วี ิตกกังวล 3. ชวนให้เด็กคดิ หลายๆดา้ น มองทางดา้ นดี กระตุ้นใหเ้ ด็กคดิ หาทางออกดว้ ยตัวเอง 4. ฝึกให้เด็กเผชญิ ความกลวั ทลี ะน้อย 5. ลดการล้อเลียน การขู่ การดุ ท่ีไม่ได้ผล 6. ฝึกการผ่อนคลายตนเอง การผอ่ นคลายกลา้ มเนอื้ 7. ฝึกสต/ิ สมาธิ วติ กกงั วล โดยท่ัวไปเม่ือเด็กเจอตัวกระตุ้น เช่น ใกล้สอบ หรือต้องน�ำเสนองานหน้าชั้นเรียน จะมีอาการ ต่ืนเตน้ ใจส่ัน เหงอื่ ออก ซึ่งเปน็ ภาวะปกติท่ีพบไดใ้ นคนทัว่ ไป อาการวิตกกงั วลเหล่านี้มกั จะหายไปเม่อื ท�ำงานส�ำเร็จลุล่วงไปแล้ว แต่หากความคิดซ้�ำๆเหล่าน้ีไม่ได้หายไปเม่ือท�ำงานส�ำเร็จ หรือมีอาการวิตก กังวลมากกว่าปกติ ไม่สามารถเรยี นไดอ้ ย่างเคย สมาธใิ นการทำ� งานเสียไป ความสัมพนั ธ์กบั เพอื่ นแยล่ ง จนสง่ ผลตอ่ การเรียน หรือการใชช้ วี ติ ประจำ� วนั อาจเปน็ ความผดิ ปกตใิ นกลมุ่ โรควิตกกังวลได้ อาการของโรควิตกกังวล อาการทางกาย: เหง่อื แตก ใจส่นั หายใจเรว็ ปวดท้อง แนน่ หนา้ อก ปวดหัว นอนไมห่ ลบั เปน็ ต้น อาการทางใจ: ตกใจงา่ ย กังวลใจในการทำ� กิจกรรมตา่ งๆ การพดู หนา้ ชั้นเรียน การแยกจากจาก พอ่ แม่ หรอื เร่อื งความปลอดภยั การนอนฝันรา้ ยบอ่ ยๆ การดูแลตนเองเบ้อื งต้น 1. ออกก�ำลงั กายอยา่ งสมำ�่ เสมอ 2. พักผ่อนให้เพียงพอ 3. ฝกึ การผ่อนคลาย เช่น การฝกึ หายใจเขา้ ออกชา้ ๆ นบั 1-10 การฝกึ สมาธิ เดินจงกรม การฝึก โยคะ เป็นตน้ ควรฝกึ อย่างสมำ�่ เสมอ วนั ละ 10-15 นาที 4. หลีกเลี่ยงอาหารท่ีมีคาเฟอนี เชน่ ชา ชาเขียว กาแฟ เครอื่ งดม่ื ชูก�ำลงั ต่าง หากอาการไม่ดขี ้ึน อาจพบแพทยเ์ พอื่ ไดร้ บั การประเมนิ วินิจฉัย และรกั ษาตอ่ ไป ไมย่ อมไปโรงเรยี น เกิดข้นึ ได้ในเด็กทกุ วัย มักเกดิ ข้ึนในชว่ งหลังวันหยุด เชน่ เสาร-์ อาทติ ย์ ปิดเทอม หรอื หลงั จากได้ หยุดลาป่วยจรงิ ๆ สาเหตุส่วนใหญม่ าจากความ วิตก กงั วล กลัวการพลัดพราก 54
ปญั หาทีพ่ บบอ่ ย และแนวทางชว่ ยเหลือ อาการ ต่ืนเชา้ ไม่ยอมไปโรงเรยี น กลางคืนบน่ ไม่อยากไป โยเย ไมย่ อมจากพอ่ แมท่ ไ่ี ปส่ง รอ้ งไห้ โวยวาย ทำ� รา้ ยตวั เองหรอื พอ่ แม่ เมอื่ พอ่ แมไ่ ปแลว้ อยกู่ บั ครไู ด้ บางรายจะแสดงอาการปว่ ยทางกาย เชน่ ปวดทอ้ ง หรือศีรษะ ท่หี าสาเหตุโรคไม่ได้ หรืออา้ งเหตุการณท์ โ่ี รงเรียนทอี่ าจไม่ใชส่ าเหตุแทจ้ รงิ เช่น กลัวเพือ่ น แกล้ง หรือครูอาจารยร์ งั เกยี จ วิธชี ว่ ยเหลือทีโ่ รงเรียน 1. ครชู ่วยรับเด็กจากพอ่ แม่ตอนเชา้ มกี ารนัดหมายตกลงกันลว่ งหน้า 2. ใหพ้ ่อแมก่ ลบั อยา่ งรวบรดั ไมใ่ ห้เสยี เวลา ไมใ่ ห้พูดมาก 3. พาเด็กเข้ากลมุ่ เพ่อื น เบนความสนใจเด็ก สร้างความสงบและค้นุ เคย 4. ครูและเพอื่ นชวนเดก็ เขา้ ร่วมกจิ กรรมกบั เด็กอ่ืน 5. ถา้ เดก็ ไมร่ ว่ มมอื ใหอ้ ยกู่ บั ครคู นใดคนหนง่ึ ในหอ้ งสมดุ หอ้ งพยาบาล หรอื หอ้ งครผู ชู้ ว่ ย ใหท้ ำ� กจิ กรรม 6. ชกั ชวนเดก็ คยุ เปน็ กนั เอง 7. ฝกึ ทักษะการผ่อนคลายตนเอง ดนตรี ศิลปะ ฝึกลมหายใจ โยคะ สติ สมาธิ วธิ กี ารชว่ ยเหลอื ทบ่ี ้าน 1. พาไปโรงเรียนตามปกติทกุ วนั 2. ไมต่ อ่ รอง ไมใ่ หส้ ัญญา 3. พ่อแม่ทา่ ทสี งบ จดั การใหท้ �ำกจิ วตั รเทา่ ทีส่ ามารถท�ำได้ 4. หลีกเลี่ยงการดวุ า่ ตำ� หนิ สอน หงดุ หงดิ โกรธ 5. หาสาเหตุทางจติ ใจ อารมณ์ หรือทางรา่ งกาย 6. ประสานงาน นดั หมายทางโรงเรยี น ในการรับส่งเด็กตอนเช้า 7. รับเดก็ กลับตรงเวลาทุกวนั ตามทีต่ กลงกันไว้ 8. ฟังเดก็ แต่อยา่ ปฏิกิรยิ ามากเกินไปตอ่ สง่ิ ที่เด็กเล่า 55
ปัญหาท่ีพบบ่อย และแนวทางช่วยเหลอื ปัสสาวะรดทน่ี อน ภาวะปสั สาวะรดทนี่ อน จะดขี น้ึ ตามวยั เมอื่ เดก็ โตขน้ึ โดยเมอื่ อายุ 5 ปี เดก็ รอ้ ยละ 99 จะสามารถ ควบคมุ การขับถ่ายปสั สาวะในเวลากลางวันได้ รอ้ ยละ 80 จะควบคุมการถา่ ยปสั สาวะในเวลากลางคืน ได้ และ เมือ่ อายุ 6 ปี เดก็ รอ้ ยละ 90 จะสามารถควบคมุ ปสั สาวะในเวลากลางคืนได้ หลงั จากอายุ 6 ปี ไป ทกุ ๆปี ประมาณร้อยละ 15 ของเดก็ ท่ยี งั มีอาการปัสสาวะรดทีน่ อนกจ็ ะอาการดขี ้นึ เอง อยา่ งไรกต็ าม เมอื่ ถงึ วยั ทเ่ี ดก็ ๆสว่ นใหญ่ หายจากการปสั สาวะรดทน่ี อนแลว้ ยงั มปี สั สาวะรดทนี่ อน โดยปจั จบุ ันถือเอาที่อายเุ กิน 6 ปี แนะนำ� ใหป้ รกึ ษาแพทย์ เพ่อื ตรวจหาโรคทางรา่ งกายทอ่ี าจเป็นสาเหตุ ได้ เช่น การติดเช้ือในทางเดินปสั สาวะ ท้องผูกเรอื้ รัง หรือ ภาวะนอนกรนหยุดหายใจขณะหลับ เป็นต้น ในเดก็ ทไี่ มพ่ บความผิดปกตใิ ดๆ ทางร่างกาย การรกั ษาเบ้อื งตน้ คอื การสรา้ งแรงจูงใจควบคไู่ ป กับทำ� พฤตกิ รรมบ�ำบดั • การใหแ้ รงเสริมทางบวก: การสะสมดาว หรือคะแนน ในวันท่ีไม่มปี ัสสาวะรดท่ีนอน • ให้เดก็ มสี ่วนชว่ ยท�ำความสะอาด ชดุ นอน ผ้าปูทน่ี อน เมอื่ มีปสั สาวะรดที่นอน • หลกี เลย่ี งการลงโทษทร่ี ุนแรง หรือดุวา่ ให้เดก็ อาย • ให้เดก็ ปัสสาวะกอ่ นเขา้ นอน ไม่ควรปลุกเด็กกลางดกึ ให้ตนื่ ขนึ้ มาปัสสาวะ นอกจากนนั้ ยงั มกี ารใช้ เครอื่ งมอื สญั ญาณเตอื นชว่ ยใหเ้ ดก็ รสู้ กึ ตวั ตน่ื เมอื่ มปี สั สาวะราดกลางคนื เปน็ การรกั ษาทใ่ี ชม้ ากในตา่ งประเทศ ในไทยยงั มขี อ้ จำ� กดั เรอื่ งคา่ ใชจ้ า่ ย โดยทวั่ ไปรอ้ ยละ 80 จะมอี าการ ดขี ้ึนเม่ืออายเุ ดก็ มากขนึ้ รวมกบั การทำ� พฤติกรรมบำ� บดั ดังกล่าว หากการรักษาเบอื้ งต้นไมไ่ ด้ผล แพทย์ ก็อาจจะพิจารณาใชย้ าต่อไป 56
เอกสารอ้างอิง 1. วันดี นงิ สานนท์ วนิ ัดดา ปยิ ะศิลป์ สมุ ิตร สุตรา. สขุ ภาวะของเด็กและวัยรุ่นไทย พ.ศ.2552. ราชวทิ ยาลยั กมุ ารแพทย์แหง่ ประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั บยี อนด์ เอน็ เทอร์ไพรซ์ จำ� กดั , 2553: 115-160. 2. วณั เพ็ญ บุญประกอบ. พฒั นาบุคลิกภาพของเด็กและวยั รนุ่ . ใน: วนิ ดั ดา ปยิ ะศลิ ป,์ พนม เกตุมาน. บรรณาธกิ าร. ต�ำราจติ เวช เดก็ และวัยรุน่ . กรงุ เทพฯ: บียอนด์ เอนเทอร์ ไพรซ,์ 2545: 1-31. 3. วินดั ดา ปยิ ะศลิ ป.์ ค่มู อื การเลีย้ งลูก ตอน วยั 6-12 ป.ี สถาบันสขุ ภาพเด็กแห่งชาตมิ หาราชนิ ี ราชวทิ ยาลัยกุมารแพทย์แหง่ ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ครุ ุสภา จำ� กัด, 2546. 4. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข คู่มือดแู ลสขุ ภาพจติ เดก็ วยั เรยี น. กรุงเทพฯ: บรษิ ัทศรีอนันต์การพมิ พ์ 2544. 5. พนม เกตุมาน. ค่มู ือพ่อแม่และครูส�ำหรบั การฝกึ เดก็ : สขุ ใจกับเด็กสมาธสิ นั้ . กรุงเทพฯ: บรษิ ทั เรือนปญั ญา 2552. 6. องคก์ ารชว่ ยเหลือเดก็ แห่งสวเี ดน. สนง.ภาคพื้นเอเซยี แปซิฟิก. การสรา้ งวินยั เชิงบวก: ความเข้าใจที่ถูกตอ้ งและการน�ำไปใช้. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พศ์ าลาแดง 2552. 7. รายงานการสำ� รวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย ครัง้ ที่ 4 พ.ศ. 2551-52 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 8. ชาญวทิ ย์ พรนภดล พิชญา ตนั ธนวกิ รัย. การคดั กรองเดก็ ตดิ สือ่ และอินเทอรเ์ นต็ . ใน พงษศ์ ักด์ิ น้อยพยัคฆ์ วนิ ดั ดา ปิยศลิ ป์ วนั ดี นงิ สาสนนท์ ประสบศรี อึง้ ถาวร. บรรณาธกิ าร. ราชวทิ ยาลัยกมุ ารแพทย์แห่งประเทสไทย สมาคมกุมารแพทย์แห่งประ เทสไทย.Guideline in Child Health Supervision. กรงุ เทพฯ: สรรพสาร จ�ำกดั , 2557: 194-204. 9. วนิ ัดดา ปิยะศิลป์ วันดี นิงสานนท์ (บรรณาธิการ) . Best practice in Communication .ราชวทิ ยาลัยกมุ ารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย สมาคมกุมารแพทยแ์ ห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั สรรพสาร จ�ำกัด, 2557 10. พงษศ์ ักด์ิ น้อยพยคั ฆ์ วนิ ัดดา ปยิ ะศลิ ป์ วันดี นงิ สานนท์ ประสบศรี อึง้ ถาวร (บรรณาธิการ) . Guideline in Child Health Supervision. .ราชวิทยาลยั กมุ ารแพทย์แหง่ ประเทศไทย สมาคมกุมารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท สรรพสาร จำ� กัด, 2557 57
Search