“สอนวัยรุน ไมวุน อยางที่คิด” เปน หนงั สอื ทม่ี เี นอ้ื หาเบาๆ อา นสบาย ใหข อ คดิ และ แนวทางท่ีสาํ คัญเพอ่ื เขา ถึงใจวยั รุน และชว ยให กระบวนการเรยี นการสอนรวมทงั้ การสอื่ สมั พนั ธ มปี ระสทิ ธภิ าพ ชว ยกระตุนและดงึ ดดู ความสนใจ ของวัยรนุ ใหอยากเขามาเรียนรูหรือมีสวนรว ม อยา งตอ เนอ่ื ง เหมาะกับผทู ท่ี าํ งานกบั วัยรนุ หรอื เปน ”คร”ู ท่ถี า ยทอด ความรูใหกบั กลมุ วัยรนุ กรมสุขภาพจิตมีความมงุ หวังวาเนื้อหา ภายในเลม จะตรงใจผอู า น และสามารถนําไปใช ประโยชนใ นการทํางานกบั วัยรุนตอ ไป ดวยความปรารถนาดี กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข
หนา w ศิษยของเรา เขาเปนอยา งไร ? 6 w สอนวยั ใส ตองแตะใจใหไ ดเสยี กอ น 6 w เรื่องธรรมดา บางเวลากเ็ บื่อ บางเวลากท็ อ 7 w แลวจะสอนอยา งไร ใหไดใจวยั รุน 8 w สงั เกตวยั รุน เพ่ือเปน ทุนการสอน 11 w วิธคี ลคี่ ลาย สลายอารมณ 13 w สือ่ อยา งไร เขา ถงึ ใจวัยรนุ 14
เมื่อสวมหัวใจครู ก็อยากจะใหศิษยไดวิชาเต็มที่ ครทู มุ เตม็ รอ ย แตศ ษิ ยกลบั คอ ยๆ ถอยทงั้ ๆทยี่ งั รบั วชิ าไดไ ม เทา ไร เปนเหตกุ ารณท คี่ รหู ลายทา นพานพบและรูส กึ ผดิ หวงั ยิ่งศิษยเปน วัยรุน สวนใหญน ้นั แรกๆ ก็มักจะแสดง ความสนใจ และแสดงทา มงุ มน่ั เต็มท่ี ขยนั หมน่ั ซอม ขึน้ ตน ดว ย “ทา ดี” แตลงทา ยดวย “ทีเหลว” ทุกทีจนครทู อ ใจ ถา เจอปญหาเชนน้ี ครูจะมีวิธแี กไ ขอยา งไร ? วัยรนุ เปนวัยที่กําลังคนหาเอกลักษณของตัวเอง พวกเขาจึงเปล่ียนความสนใจไปในหลายๆ เร่อื งไดงา ยจนดู เหมอื นโลเล ไมเอาจรงิ เนื่องจากวยั รุน อยากจะทดลองดูวา สิ่งไหนคือสิ่งท่ีเขารักที่จะทํา แถมตรงกับศักยภาพที่มีอยู บางคนก็เลือกตามเพ่ือนเพราะรสู ึกสนุกท่ีไดเ รียนรวมกับ เพอ่ื นๆ ทวา หลายคนลงทา ยดว ยการเลกิ รา เพราะไมอ ดทน พอ ไมท นเมอื่ เกดิ ความเบอื่ ไมท นเมอ่ื ตอ งใชค วามพยายาม ไมทนเมื่อลมเหลว และไมทนยาม รสู กึ ทอ
อยาวา แตว ยั รนุ เลย แมผ ใู หญเ อง บางครง้ั กอ็ อกอาการ เบื่อๆ อยากๆ กับงานท่ีทําเหมือนกัน แตวัยรนุ สวนใหญ พอเบอื่ หรอื ทอ กจ็ ะทง้ิ ทนั ที เพราะขาดแรงจงู ใจทจ่ี ะทําใหย อม ทน และคดิ วา ยังมีทางเลอื กอื่นๆ อีกหลายทาง ดงั นัน้ ครูท่ีจะสอนวัยรนุ อาจตองใชท ง้ั เลห กล และ มนตคาถาสารพดั เพอ่ื ชวยใหว ยั รุน สรา งพลงั แหงความอดทน อยา งตอ เนอื่ ง w w w w
หวั ใจสําคญั คือ l เริ่มตนดวยการกระตุน ใหเกิดความรสู ึกสนุกใน การเรียน ใหลกู ศิษยวัยรุน ไดเ ปดใจ แตล ะคนมโี อกาสพดู ถึงตัวเอง พดู ถงึ ความสนใจ ความใฝฝน และเปาหมายใน อนาคต เพื่อใหว ัยรนุ ไดแสดงออก l สรรคสรางใหเ กิดความรสู ึกมีความสขุ ในการเรียน ดว ยการสรา งบรรยากาศทีผ่ อ นคลาย เปน กนั เอง l เราใหเกิดความเช่ือมั่นและภาคภูมิใจในตนเอง จากการทไี่ ดร ับรูวา เขามจี ดุ เดนท่ีนาสนใจ มีจุดดีทีน่ า ชน่ื ชม และสามารถพัฒนาฝม อื ตนเองใหด ขี น้ึ ได l เปดโอกาสใหศิษยไดซักถามอยางอิสระ ครูเอง กค็ วรมที าทผี อ นคลายดว ย ใหค วามเปน กนั เอง มอี ารมณขนั และถาพดู จาภาษาวัยรนุ ไดบา งก็จะเพ่มิ ความกลมกลืนเปน พวกเดียวกัน ครูที่เครงเครียดมักทําใหศิษยขยาด และ เกิดความกังวล เกร็ง เพราะกลัวผิด ซึ่งเปนปจจยั ที่ทําให ใชศ กั ยภาพไดไมเต็มที่
l ใหล ูกศษิ ยรูส กึ วา ครใู หความสนใจและยอมรับเขา ไมว า เขาจะมคี วามสามารถมากนอ ยแคไ หนก็ตาม จะเรยี นรู ไดชาหรอื เร็ว ไมใชสง่ิ สําคญั หากทุกคนมีพลงั อยใู นตวั เอง พลังทจ่ี ะอดทน มงุ มนั่ พัฒนาฝม อื ของตนเอง l ไมเนน การคาดหวงั และการแขงขัน ความคาดหวงั ของครจู ะทําใหล กู ศษิ ยเครยี ด บางคนอาจรูสกึ ฝอ แตเ รม่ิ แรก การแขงขนั กจ็ ะทําใหศิษยบางกลุม รสู กึ ดอ ยและถอยจากไป l ใหล กู ศษิ ยรสู ึกวาวชิ าทเี่ รยี นไมย ากอยา งทีค่ ดิ ให สญั ญาวาครูจะชวยพาทกุ คนไปสูจุดเปาหมาย อยางนอย กพ็ อทาํ ไดดวยตวั เอง ศษิ ยแ ตล ะคนจะไดวชิ าหรอื ไดฝกฝม อื กนั พอสมควรทีเดยี วแหละ l กําลงั ใจ เปน สง่ิ ที่ใครๆ ก็ตอ งการ หัวใจวัยรนุ นัน้ ทอ และฝองาย ครอู าจตองใหกําลงั ใจเปนระยะๆ วธิ ีใหก ําลังใจ เชน J ชมเชยในสง่ิ ทีศ่ ิษยทําไดดขี ึ้น แมจะเล็กนอ ยแต กถ็ อื วา เปนการพฒั นา ไมต องกลวั วา จะทําใหวยั รนุ เหลงิ หรอื หลงตัวเอง การชมใหชมท่ีการกระทําหรือผลงานของเขา และตอ งชมอยา งจรงิ ใจ
J ถา วัยรุนยังทําไดไมดี ใหบอกวิธีแกไข โดยไม แตะตัวตนของเขา คือ พยายามหลีกเล่ียงคําท่ีใชตีตรา (ข้ีเกยี จ แยมาก โง เข็นไมขึน้ ไมเอาไหน ฯลฯ) หรือคาํ ที่ ทําใหวัยรุนรูส ึกเจบ็ ปวด เจบ็ ใจ และอบั อาย J จูงใจใหเ ห็นเปนเรื่องทาทายและนาทํา “คุณก็มี ฝม ือ ทําไมไมล องพยายามอีกนิดละ” “ถา ทําไดนะ สาว ๆ จะทง่ึ คณุ ทีเดียวแหละ” “อดทนอกี นดิ รบั รองคุณเลนโชวใ ห สาวๆ กรี๊ดไดแ น” ฯลฯ J ปลกุ ปลอบใจยามจติ ใจหอ เหย่ี ว (ทอแท เบอ่ื หนา ย ขาดความมนั่ ใจในตวั เอง) บอกใหเ ขารบั รูว าเปน เรอื่ งธรรมดา (ไมใชส่ิงท่ผี ิด) ที่จะรสู ึกเชนนัน้ ครูเองก็เคยผานความรูสึก เชนน้นั มากอน บางครง้ั อาจรนุ แรงกวาเขาเสียอกี แตค รูกม็ ี วิธีเอาชนะความรูสกึ ดังกลาว และยินดที ี่จะชวยเพ่อื พาเขา ขามผา นความรสู ึกท่เี กดิ ข้นึ
w w w การสงั เกตเปนเครอื่ งมือสําคัญสําหรบั ครูผูส อน เพอ่ื ประเมินวาศิษยแตละคนมีความพรอมท่ีจะกระโจนเขาสู บทเรยี นหรอื ไม เขา ใจสงิ่ ทถ่ี ายทอดใหหรอื ยงั งนุ งงจับไมตดิ กําลังเบ่ือหนายกับบทเรียน หรือกําลังงว งเหงาหาวนอน หรอื สนกุ กบั การเมา ทก บั เพอ่ื นมากกวา อยากจะพดู ซกั ถามครู ดงั นน้ั ครจู ําเปน ตอ งเปน นกั สงั เกตอาการและพฤตกิ รรมของ ศิษย รวมท้งั ชวยคลี่คลายใจ สลายอารมณดว ย ยกตวั อยา ง l เมอื่ ใดกต็ ามทลี่ กู ศษิ ยออกอาการใจลอย ขาดสมาธิ หรือจองครูเสมือนต้ังใจฟง แตแววตาดู เลอ่ื นลอยดุจกําลงั คดิ อะไรอยู ไมไ ดม ีสติ อยกู ับบทเรียนเสียเลย ใหครูคํานึงถึง การพะวงถึงความวิตกกงั วลหรือปญหาท่ี ยังตดิ คางคาใจ l เม่ือใดก็ตามท่ีลูกศิษยรบกวน เพอ่ื นๆ เยาแหยและอยไู มส ขุ อาจเปน เพราะเขาอยากไดร ับความใสใจเปน พเิ ศษ
l เมอื่ ใดกต็ ามทลี่ กู ศษิ ยมอี าการหงดุ หงดิ เจา อารมณ ใครพูดอะไรก็ไมเ ขา หูไปหมด อาจเปน เพราะเขามีเรื่องที่ทํา ใหรสู กึ โกรธ อาจโกรธคนอืน่ หรอื โกรธตัวเอง l เม่ือใดก็ตามท่ลี กู ศษิ ยม พี ฤติกรรมเปลี่ยนไป เชน เคยพูดเกงแตกลับเงียบขรึม เคยทํากิจกรรมไดดีแตกลับ ทาํ ผดิ พลาดมากผดิ ปกติ ทําดว ยความรูส กึ หมดใจกบั งานตรง หนา ใหค าํ นึงถงึ ปญ หาทบี่ นั่ ทอนอารมณ l เมื่อใดก็ตามที่ลูกศิษยมีลักษณะซึมเศรา ตาตก ทาทเี ลื่อนลอย นั่นหมายถึงความรูสึกทุกขใจ จากความ สญู เสยี หรอื ความผดิ หวัง l ลกู ศษิ ยค นใดทชี่ อบนง่ั อยูต ามมมุ หอ งหรอื หลงั หอง เงียบๆ มกั เปน เด็กขอี้ าย ไมกลา แสดงออก และออ นดอ ยใน ดา นทกั ษะทางสงั คม
w w w สาํ หรับวัยรุนแลว การเคารพในสิทธิสว นบุคคลของ เขาเปน เรอ่ื งสําคญั วยั รุน ไมอ ยากใหถ ามเกย่ี วกบั ปญ หาของ เขาตอหนาเพื่อนๆ อาจใชว ธิ เี ดินเขาไปแตะบาเพื่อทักทาย หรอื ใหความสนใจในกจิ กรรมที่เขาทาํ แลวขอเวลา นอกเพอื่ คยุ กบั เขาลาํ พงั โดยระมดั ระวงั ไม จดุ ประกายความสงสัยใหกับคนอ่ืนๆ วิธี การเขา ไปสมั ผสั ใกลช ดิ กบั วยั รนุ ตอ งคาํ นงึ ถงึ ลกั ษณะของแตละคนดวย J วัยรุนที่ข้ีอาย ครตู องใชวิธีการที่ นุมนวล ชวนพูดคยุ ในเรอ่ื งทเี่ ขาสนใจ ถามในเรอ่ื ง ทเ่ี ขาเชย่ี วชาญ จะทาํ ใหเ ขามนั่ ใจในการตอบมากขนึ้
J วยั รุนทไี่ ดช ่อื วา เปนหวั โจก อารมณร อ น ครคู วรใช ความเปนกนั เอง ใชว ธิ ฟี ง มากกวาพดู เคารพในความคดิ เหน็ ของเขา เปดโอกาสใหเขาไดแ สดงออกในส่ิงท่ีดีทท่ี าํ ใหเ ขา เกดิ ความภาคภมู ใิ จ หรอื แปรเปลี่ยนพลังอารมณทางลบให เปน พลงั ทส่ี รา งสรรค เชน ใหท ุม เทพลงั ไปกบั ความรบั ผดิ ชอบ การใชจ ินตนาการหรือความคดิ ซ่งึ เทา กบั เปน การเปดชอ ง ทางใหค วามรอ นจากภเู ขามที างออกทไี่ มเ กดิ อนั ตราย ถงึ แม จะเปลี่ยนภเู ขาไฟใหเ ปน ภูเขาน้าํ แข็งไมไ ดก ไ็ มเปน ไร J วัยรุนประเภทกอ กําแพงลอมตวั เอง คือ ปด ตัว เขา ถึงยาก ไมสนิทกบั ใครงา ยๆ ครูตองสรา งใหเกิดความ ไวว างใจ สรางบรรยากาศสบายๆ และเปนธรรมชาติ แสดง ใหเหน็ ถึงความจริงใจทคี่ รมู ีตอศษิ ย และมคี วามสม่ําเสมอ J วยั รุน ทม่ี ปี ญ หาทางอารมณ เชน ซมึ เศรา ไมส บายใจ ทุกขใ จ ฯลฯ ครูควรเขาไปใกลชดิ เด็ก สรางความไววางใจ และใชการสือ่ สารพูดคยุ กนั ทุกครั้งท่ีผใู หญถามวัยรุนวา “เปน อะไร ไมสบายใจ หรือเปลา” หรือ “หนาตาดูอิดโรย เปนอะไรหรือ” มักจะไดรับ คําปฏิเสธโดยอัตโนมัติวา “ไมเปนอะไร” “ไมมี ปญ หาอะไร” การพดู คยุ กบั วยั รนุ จงึ ตอ งใชเวลา กวา จะไดเ รอ่ื งทซ่ี อ นเรน อยูใ นใจ ทกั ษะทจ่ี ําเปน คือ
l การบอกถงึ ความรสู กึ เปน หว งของครทู มี่ ตี อ เขา บอกถงึ ความเต็มใจทจี่ ะใหความชวยเหลอื และยนิ ดรี บั ฟง เขาเสมอ l การถามถงึ ความรูส ึก l การตั้งใจฟงและฟง ดวยความเขาใจ (บางคร้ังแคมี คนรบั ฟง อยา งเขา ใจกช็ ว ยคลคี่ ลายความทกุ ขใ จของวยั รนุ ไดแ ลว ) l การแสดงออกถึงความเขาใจและยอมรับอารมณ ความรสู กึ และความคดิ ของเขา w w w w w ผูเ ชย่ี วชาญทจ่ี ะมาถา ยทอดวชิ าความรหู รอื ทกั ษะตางๆ ใหแกวยั รุน ลวนเปน ครดู ว ยหวั ใจ ความรูและทกั ษะทที่ า นให จะมีคุณคาตอวัยรุนอยางอเนกอนันต ชวยพัฒนาเด็กและ เยาวชนใหม อี าวธุ ทางปญ ญาเพื่อนาํ ไปใชประโยชนใ นอนาคต และเปนการเปด ทางเลือกในการใชเวลาวางอยางมีคุณภาพ ทงั้ นสี้ นิ ทรพั ยท างปญ ญาทท่ี า นมอบใหแ กว ยั รุน นน้ั จะเฉยี บคม และเพม่ิ มูลคามากขนึ้ หากยึดหวั ใจในการถายทอด 3 ประการ คือ
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: