ช่องทรูปลูกปัญญา โทรทศั นค์ วามรดู้ สู นกุ ทางทรวู ชิ น่ั ส์ 6 ทกุ รายการสาระความรู้ สาระบนั เทงิ และการปลูกฝังคณุ ธรรมจริยธรรมตลอด 24 ชวั่ โมง พบกับเร่ืองราวสร้างแรงบันดาลใจ • รายการสอนศาสตร์ รายการสอนเสรมิ แนวใหมค่ รบ 8 วชิ า ม.3 ม.6 ติวสดทกุ วันโดยติวเตอรช์ ื่อดัง • รายการ I AM แนะนำ� อาชีพนา่ สนใจโดยร่นุ พใี่ นวงการ • รายการสารสงั เคราะห์ น�ำข่าวสารมาสงั เคราะห์อัพเดทกนั ทรูปลกู ปญั ญา แบบไมต่ กเทรนด์ หน่วยงานเพื่อการศึกษา ภายใต้กลุ่มบริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกดั (มหาชน) ท่ีบูรณาการเทคโนโลยแี ละความ เชี่ยวชาญด้านคอนเทนต์ พัฒนาเป็นสื่อไลฟ์สไตล์เพ่ือส่งเสริม นติ ยสารปลูก plook การศึกษาและคุณธรรม สามารถเชื่อมโยงทุกมิติการเรียนรู้ได้ อยา่ งครบวงจร นิตยสารส่งเสริมความรู้คู่คุณธรรมส�ำหรับเยาวชนฉบับแรก ในประเทศไทย วางแผงทกุ สปั ดาหแ์ รกของเดอื น หยบิ ฟรไี ดท้ ี่ True Coffee TrueMove Shop สถานศึกษา แหลง่ การเรียนรู้ ห้องสมดุ และโรงพยาบาล ทวั่ ประเทศ หรอื อา่ นออนไลน์ใน www.trueplookpanya.com www.trueplookpanya.com ทรูปลูกปัญญาดอทคอม คลังความรู้คู่คุณธรรมท่ีใหญ่ ทส่ี ดุ ในประเทศไทย อดั แนน่ ดว้ ยสาระความรใู้ นรปู แบบมลั ตมิ เี ดยี สนุกกับการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ท้ังยังเปิดโอกาสให้ทุกคนสร้าง แอพพลิเคชั่น Trueplookpanya.com เนอื้ หา แบง่ ปันความรู้ร่วมกัน โดยไมม่ คี า่ ใช้จา่ ย ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์การเรียนรู้ของคนรุ่นใหม่ ด้วยฟรี แอพพลิเคชั่น “Trueplookpanya.com” ให้คุณพร้อมส�ำหรับ การเรยี นรใู้ นทกุ ทที่ กุ เวลา รองรบั การใชง้ านบน iOS (iPhone, iPod, พบกบั ความเปน็ ทีส่ ุดทงั้ 4 ด้านแห่งการเรียนรู้ iPad) และ Android • คลงั ความรู้ รวบรวมเนอ้ื หาการเรยี นทกุ ระดบั ช้ันครบ 8 กลุม่ สาระการเรียน • คลังขอ้ สอบ ข้อสอบออนไลน์พรอ้ มเฉลยท่ีใหญ่ท่สี ุดใน ประเทศไทย พรอ้ มการประเมนิ ผลสอบทางสถิติ : www.trueplookpanya.com • แนะแนว ข้อมูลการศกึ ษาต่อ พร้อมเจาะลึกประสบการณ์ : TruePlookpanya การเรยี นและการทำ� งาน • ศูนยข์ า่ วสอบตรง/Admissions ข่าวการสอบทกุ สนาม ทุกสถาบัน พร้อมระบบแจง้ เตือนเรยี ลไทม์
หนงั สือชดุ “ติวเข้ม O-NET Get 100” สรา้ งสรรค์โดย ทรูปลกู ปัญญา มเี ดยี โครงการเพ่ือสังคมของบรษิ ัท ทรู คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 46/8 อาคารรุ่งโรจน์ธนกลุ ตึก B ชน้ั 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหว้ ยขวาง เขตห้วยขวาง กรงุ เทพฯ 10310 โทร : 02-647-4511, 02-647- 4555 โทรสาร : 02-647-4501 อเี มล : [email protected] : www.trueplookpanya.com : TruePlookpanya หนงั สือชดุ “ตวิ เข้ม O-NET Get 100” ใช้สัญลักษณ์อนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนส์ แบบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ่ พ่ือการค้า-อนญุ าตแบบเดียวกนั 3.0 ประเทศไทย
คำนำ การสอบ O-NET หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า การจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test) โดย สทศ. ถือเป็นอกี สนามสอบที่สำ� คัญสำ� หรับน้องๆ ในระดับ ป.6, ม.3, ม.6 เพื่อเป็นการประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องนอ้ งๆ ในระดับชาติเลยทีเดียว และยงั เป็นตัวช้วี ดั คณุ ภาพการเรยี นการ สอนของแต่ละโรงเรียนอกี ดว้ ย คะแนน O-NET ก็ยังเปน็ ส่วนส�ำคญั ในการคิดคะแนนในระบบ Admissions เพือ่ สมัครเข้าคณะท่ีใจปรารถนา ไดค้ ะแนนดกี ็มีชัยไปกวา่ คร่ึง และเพอื่ เปน็ อกี ตวั ชว่ ยหนง่ึ ในการเตรยี มความพรอ้ มใหน้ อ้ งๆ กอ่ นการลงสนามสอบ O-NET ทางทรปู ลกู ปัญญาจงึ ไดจ้ ัดท�ำหนงั สอื ชดุ “ตวิ เข้ม O-NET Get 100” สดุ ยอดคู่มือเตรยี มตัวสอบ O-NET สำ� หรบั นอ้ งๆ ในระดับ ม.3 และ ม.6 ทเ่ี จาะลกึ เนอ้ื หาทมี่ กั ออกสอบบอ่ ยๆ โดยเหลา่ รนุ่ พเี่ ซยี นสนามในวงการตวิ รวบรวมแนวขอ้ สอบตง้ั แต่ อดตี จนถงึ ปจั จุบัน พร้อมเฉลยอยา่ งละเอียด และค�ำอธบิ ายทเี่ ขา้ ใจงา่ ย จำ� ไดแ้ ม่นยำ� นำ� น้องๆ Get 100 ทำ� คะแนน สเู่ ป้าหมายในอนาคต หนังสือชุด “ติวเข้ม O-NET Get 100” โดยทรูปลูกปัญญา ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศกึ ษา ที่รวบรวมเนือ้ หาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย และวชิ าฟสิ ิกส์ เคมี ชีววิทยาของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รวมทั้งหมด 11 เล่ม โดยสามารถศึกษาเน้ือหาหรือท�ำข้อสอบ ออนไลน์เพิ่มเติมได้จาก www.trueplookpanya.com ท่ีมี link ให้ในท้ายบท สามารถดาวนโ์ หลดหนงั สือไดฟ้ รี ผ่านเวบ็ ไซต์ทรปู ลกู ปญั ญา ที่ www.trueplookpanya.com/onet ทมี งานทรูปลูกปญั ญา
สารบัญ เร่อื ง หนา้ สาระ : ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม 6 • ศาสนาสากล 7 • พระพุทธศาสนา 8 • แนวขอ้ สอบ 20 สาระ : หนา้ ท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรมและการดำ� เนนิ ชีวิต 24 • วัฒนธรรมไทย 24 • รฐั ศาสตร ์ 29 • กฎหมาย 32 • แนวขอ้ สอบ 38 สาระ : เศรษฐศาสตร ์ 43 • แนวข้อสอบ 62 สาระ : ประวตั ศิ าสตร ์ 67 • ประวตั ศิ าสตร์สากล 70 • ประวัตศิ าสตรไ์ ทย 75 • แนวข้อสอบ 92 สาระ : ภมู ิศาสตร ์ 98 • แนวข้อสอบ 114
คุยกอนอาน หนังสอื เลม่ นี้ จัดท�ำข้นึ สำ� หรบั นอ้ งๆ ทกี่ ำ� ลงั ศกึ ษาอย่ใู นระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น (ม.1-ม.3) ทีต่ ้องการจะ เตรียมความพรอ้ มในการสอบ O-NET วชิ าสังคมศึกษาระดบั ม.3 ซึง่ ในหนงั สอื เลม่ นจ้ี ะสรุปเน้อื หาหลักๆ ทมี่ ักจะออก สอบ O-NET พร้อมท้งั แบบฝกึ หัด รวมไปถึงเทคนิคตา่ งๆ ทจี่ ะช่วยใหน้ อ้ งๆ สามารถทำ� ข้อสอบได้โดยใชเ้ วลาที่น้อย ลง และมปี ระสิทธิภาพมากข้นึ พี่ขอฝากเทคนคิ เล็กๆ น้อยๆ วา่ ในการทำ� ขอ้ สอบ ถนัดบทไหนก็ให้ท�ำข้อสอบในบทนั้นกอ่ นเพ่อื ความมัน่ ใจ ลอง ส�ำรวจตัวเองว่าเราถนัดแนวไหน ถ้าถนัดท่องจ�ำก็น่าจะท�ำส่วนศาสนา หน้าที่พลเมืองหรือประวัติศาสตร์ได้ดี แต่ถ้า ถนัดคิดวิเคราะห์ก็น่าจะทำ� เศรษฐศาสตรไ์ ดด้ ี แต่ถ้าข้อไหนท�ำไม่ได้กเ็ ดาไปเลย ดกี วา่ เวน้ ว่างไวเ้ ปน็ ศูนย์คะแนนนะจ๊ะ พ่ีๆ หวงั เปน็ อย่างย่ิงว่าหนังสอื เล่มน้ี จะช่วยให้นอ้ งๆ มีความเขา้ ใจ และสามารถทำ� ขอ้ สอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ไดด้ ว้ ยความมนั่ ใจเกนิ รอ้ ย สงิ่ ทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ คอื นอ้ งๆ จะตอ้ งพกั ผอ่ นใหเ้ พยี งพอกอ่ นวนั สอบดว้ ยนะจะ๊ สๆู้ เปน็ กำ� ลงั ใจให้นะ ทีมงานทรูปลกู ปัญญา
บทที่1 สาระ: ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม ศาสนา ศาสนามจี ดุ เรม่ิ ตน้ มาจากปรากฏการณท์ างธรรมชาติ เชน่ ฟา้ ผา่ ฝนตก นำ�้ ทว่ ม ภเู ขาไฟระเบดิ ฯลฯ เมอ่ื มนษุ ยใ์ นสมยั โบราณ เกดิ ความกลวั ในปรากฏการณน์ ั้นๆ แลว้ ไมร่ ู้ไม่เข้าใจถงึ เหตกุ ารณ์ จึงเกดิ เปน็ ความเชื่อที่วา่ ปรากฏการณเ์ หลา่ น้ีเป็นการดลบันดาลโดย สงิ่ ทเี่ หนอื ธรรมชาติ ทำ� ใหม้ กี ารนบั ถอื บชู าเกดิ ขนึ้ สมยั ตอ่ มามศี าสดาทางศาสนาเกดิ ขน้ึ มากมาย และตา่ งกไ็ ดเ้ ผยแผค่ ำ� สอนตา่ งๆ อนั จะน�ำพาไปสคู่ วามร้แู จง้ ของแต่ละศาสนา ทำ� ใหม้ นุษย์ยดึ เอาศาสนาเป็นท่พี ง่ึ ทางใจ เพ่ือปฏบิ ตั ิตามหลกั ค�ำสอนให้พ้นจากความทกุ ข์ ดงั น้ัน ศาสนา คอื ลัทธคิ วามเชอ่ื อันนำ� ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ เพ่อื ให้พน้ ทกุ ข์ และพบสุขนริ ันดร์ องค์ประกอบของศาสนา ศาสดา คอื ผทู้ ีน่ ำ� หลกั คำ� สอนมาเผยแพร่ เช่น พระเยซู นบมี ูฮมั หมัด พระพทุ ธเจา้ หลักธรรม คือ คำ� สอนทศ่ี าสดารวบรวมไว้ในคมั ภรี ์ทางศาสนา ซง่ึ เปน็ ส่งิ ท่สี ำ� คญั ที่สดุ และทุกศาสนาตอ้ งมี เพ่ือให้สมาชิก ในสงั คมพบความสงบสุข และความสุขนิรนั ดร์ หรือกค็ อื จุดมงุ่ หมายสงู สุดของแต่ละศาสนา เชน่ นิพพาน โมกษะ เปน็ ต้น ศาสนิกชน คือ ประชาชนที่ถอื ศาสนานนั้ ๆ เชน่ พทุ ธศาสนกิ ชน ครสิ ตศ์ าสนกิ ชน มสุ ลิม เป็นต้น ศาสนพิธี คือ ระเบยี บพธิ ปี ฏบิ ตั ิในการประกอบกิจการทางศาสนา เช่น พธิ ีมิสซา พิธีล้างบาป พธิ ีทอดกฐนิ เป็นต้น ศาสนสถาน คือ สถานที่ทใี่ ชใ้ นการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เช่น วัด โบสถ์ มัสยดิ นกั บวช คือ ผู้สืบทอดค�ำสอน ท�ำหน้าท่ีเผยแผ่หลักค�ำสอน และเป็นผู้น�ำในการประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น พระสงฆ์ บาทหลวง เป็นต้น ประเภทของศาสนา ศาสนาสามารถแบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภท ตามความเช่ือในเรื่องของพระเจา้ คือ ศาสนาเทวนิยม คอื ศาสนาทเี่ ชอื่ วา่ พระเจา้ เปน็ ผสู้ รา้ งสรรพสง่ิ และกำ� หนดชะตาชวี ติ ของมนษุ ยไ์ วต้ ง้ั แตเ่ กดิ จนตาย เชน่ ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู ศาสนายูดาย ศาสนาครสิ ต์ ศาสนาอสิ ลาม เป็นตน้ ศ าสนาอเทวนยิ ม คอื ศาสนาทย่ี อมรบั ในการมอี ยจู่ รงิ ของพระเจา้ แตไ่ มเ่ ชอื่ วา่ พระเจา้ เปน็ ผกู้ ำ� หนดชะตาชวี ติ ของมนษุ ย์ แตเ่ ช่ือในเร่ืองของกรรม หรือการกระท�ำทม่ี นษุ ย์ไดก้ ระท�ำไว้ เชน่ พุทธศาสนา เปน็ ต้น 6 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
ศาสนาสากล ศาสนาสากล คอื ศาสนาทีม่ ผี ูน้ บั ถอื เปน็ จำ� นวนมากและกระจายอยู่ทัว่ ทุกภมู ิภาคของโลก ศาสนาสากลมี 3 ศาสนา ไดแ้ ก่ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอสิ ลาม และศาสนาพทุ ธ แต่ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู กม็ ีความสำ� คญั ถงึ แม้จะมีผ้นู บั ถอื เฉพาะในอินเดยี เปน็ ส่วน ใหญ่ แตเ่ ปน็ ศาสนาทม่ี ีผนู้ บั ถือมากเป็นอันดบั 3 ของโลก จึงจัดรวมให้อยู่ในศาสนาสากล ตารางเปรยี บเทยี บศาสนาสากล คริสต์ พราหมณ์-ฮินดู พุทธ ผู้ได้รบั การเจมิ อิสลาม กฎทเ่ี ปน็ นิรันดร์ อิสราเอล สนั ติ การนอบน้อม อินเดยี ความหมายของช่ือ ผรู้ ู้ ผ้ตู นื่ ผ้เู บกิ บาน ซาอดุ อิ าระเบีย ไมป่ รากฏ ถน่ิ ก�ำเนิด อนิ เดยี ศาสดา พระพทุ ธเจา้ พระเยซู นบมี ฮู ัมหมัด ความเชอ่ื อเทวนิยม เอกเทวนยิ ม เอกเทวนิยม พหุเทวนยิ ม พระเจา้ ไม่ม ี พระยะโฮวา พระอลั เลาะห์ พระตรีมรู ติ โมกษะ จดุ มุง่ หมายสูงสุด นิพพาน เขา้ สอู่ าณาจกั รพระเจา้ เขา้ ถึงพระอลั เลาะห์ พระเวท คัมภรี ์ พระไตรปิฎก ไบเบล้ิ อัลกรุ อาน เป้าหมายสูงสุดของทุกศาสนา คือ ความสุขนิรันดร์ บางศาสนาก็ไม่ปรากฏนามศาสดา เช่น ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู บางศาสนากไ็ มม่ นี ักบวช เชน่ ศาสนาอิสลาม และศาสนาอิสลามยงั เป็นศาสนาทไี่ ม่มรี ปู เคารพอีกดว้ ย ศาสนาแตล่ ะศาสนามคี วามแตกตา่ งกนั ตามถน่ิ กำ� เนดิ ทม่ี วี ฒั นธรรมตา่ งกนั แตศ่ าสนาตา่ งกเ็ ปน็ บรรทดั ฐานของสงั คม เปน็ กลไกทชี่ ว่ ยในการควบคุมพฤตกิ รรมของมนษุ ยใ์ นสงั คม ไมใ่ หท้ �ำความชว่ั ท้งั ในทลี่ บั และทแ่ี จง้ และศาสนายังเป็นทยี่ ึดเหน่ียวจติ ใจของ มนษุ ย์ในสงั คม ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 7
พระพุทธศาสนา ท่ีมา : ภาพยนตร์การ์ตนู “พุทธศาสดา” 1. พทุ ธประวตั แิ ละชาดก 1.1 ประสูติ ตรสั รู้ และปรนิ พิ พาน พระพุทธเจา้ มพี ระนามเดมิ วา่ เจา้ ชายสทิ ธัตถะ ประสูติเมือ่ วันขึ้น 15 ค่ำ� เดือน 6 ณ สวนลุมพินวี นั ปัจจบุ นั อยู่ใน ประเทศเนปาล เปน็ พระโอรสของพระเจา้ สทุ โธทนะและพระนางสริ มิ หามายาแหง่ กรงุ กบลิ พสั ด์ุ แควน้ ศากยะ หลงั จากประสตู ไิ ด้ เพยี ง 7 วัน พระมารดากส็ นิ้ พระชนม์ และพระนางปชาบดโี คตรมผี เู้ ป็นน้าเล้ยี งดแู ทน เม่ือพระองค์ประสูติน้ันมีโหรท�ำนายไปสองทางว่า ถ้าเป็นกษัตริย์จะเป็นกษัตริย์ท่ีย่ิงใหญ่ หากทรงผนวชก็จะเป็น ศาสดาท่ยี ่งิ ใหญข่ องโลกเช่นกัน ซ่ึงพระบดิ า คือ พระเจ้าสทุ โธทนะทรงไมโ่ ปรดให้ทรงผนวช เพ่ือเจา้ ชายจะไดส้ ืบทอดราช บลั ลงั กต์ อ่ หากแต่เมื่อเจา้ ชายทรงทอดพระเนตรเห็น “สมณะ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย” ซง่ึ เป็นสง่ิ ทีไ่ ม่เคยพบมากอ่ น จงึ เริ่ม คิดต้ังค�ำถามกับสิ่งทพี่ บเหน็ และพยายามหาวถิ ที างในการพ้นทุกขด์ ังกลา่ ว ในคนื ทพี่ ระนางพิมพา พระชายาของเจา้ ชายทรงมพี ระสตู ิกาล คือ พระราหุล ทรงตัดสนิ พระทัยออกผนวชเพ่อื หา ทางพน้ ทกุ ข์ ขณะนนั้ ทรงมชี นมายุ 29 พรรษา ในการเสดจ็ ออกผนวชครงั้ นน้ั ทรงเขา้ เปน็ ศษิ ยก์ บั เจา้ สำ� นกั แหง่ หนงึ่ ทมี่ ชี อื่ เสยี ง ในแควน้ และทรงทดลองวิธตี ่างๆ เพือ่ หาค�ำตอบแหง่ การพ้นทุกข์ เชน่ บ�ำเพ็ญตบะ บำ� เพ็ญทุกรกริ ยิ า ทั้งกดั ฟัน กลน้ั ลม หายใจ อดอาหาร เปน็ ตน้ แต่ก็ยงั ไม่พบค�ำตอบแหง่ การพ้นทกุ ข์ กระทง่ั เจา้ ชายสทิ ธตั ถะทรงมพี ระชนมายุ 35 พรรษา ทรงตง้ั ปณธิ านแนว่ แนท่ จ่ี ะบรรลเุ ปา้ หมาย จนในทส่ี ดุ ทรงตรสั รู้ ด้วยพระองคเ์ อง (เรยี กว่า สมั มาสมั พทุ ธเจ้า) ในวนั ขนึ้ 15 คำ�่ เดือน 6 โดยธรรมทท่ี รงตรัสรู้คือ “อริยสจั 4” ว่าดว้ ยเรื่องเหตุ และผลของทุกข์ (ทุกข์ สมทุ ัย นิโรธ มรรค) หลังการตรัสรู้แล้วพระองค์ทรงลังเลวา่ จะส่งั สอนธรรมหรือไม่ แต่ท้ายทีส่ ุดกท็ รงตัดสินใจออกสั่งสอนโดยพจิ ารณา วา่ สติปญั ญาของบุคคลแตกต่างกนั เหมือนระดับดอกบวั ในน�้ำ โดยทพี่ ระองคไ์ ดต้ ั้งใจแสดงปฐมเทศนาให้แก่ ปัญจวคั คียท์ ั้ง 8 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
5 ณ ป่าอิสปิ ตนมฤคทายวัน เรียกธรรมนนั้ ว่า “ธมั มจกั กัปปวัตนสตู ร” มีสาระสำ� คัญ คือ มรรคมีองค์ 8 ท่นี �ำไปสู่ทางอนั พ้นทุกข์ และกลา่ วถงึ การเดนิ ทางสายกลางท่ี เรยี กว่า มชั ฌมิ าปฏปิ ทา ในวันขึ้น 15 คำ�่ เดอื น 8 การแสดงธรรมคร้ังน้ที ำ� ให้ พระโกณฑญั ญะมดี วงตาเหน็ ธรรม และขอบวชจากพระพทุ ธเจา้ เปน็ คนแรก ถอื วา่ เปน็ วนั ทมี่ พี ระรตั นตรยั ครบสามองค์ ตอ่ มา ถอื เป็นวันอาสาฬหบูชา พระพทุ ธเจา้ ทรงออกเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาไปในดนิ แดนชมพทู วปี ตา่ งๆ เปน็ เวลากวา่ 45 ปี และมผี เู้ ลอ่ื มใสขอบวช จำ� นวนมาก และมเี หตกุ ารณท์ ส่ี ำ� คญั ตา่ งๆ เกดิ ขน้ึ มากมาย เชน่ พระเจา้ พมิ พสิ ารแหง่ แควน้ มคธสรา้ งวดั ชอื่ วา่ “เวฬวุ นาราม” ถวาย สว่ นอนาถบณิ ฑิกเศรษฐีสรา้ ง “วัดเชตุวันมหาวหิ าร” ถวาย ทรงมีอคั รสาวกเบือ้ งขวา คอื พระสารบี ุตร และอัครสาวก เบื้องซา้ ย คือ พระโมคคัลลานะ เป็นตน้ พระองค์ทรงส่ังสอนพระธร รมจนพระชนมายุ 80 พรรษา และทรงดับขันธ์ปรินิพพาน ในวันขึ้น 15 ค่�ำ เดือน 6 ในคราวนั้นทรงแสดงปัจฉมิ โอวาทเรอื่ ง “อปั ปมาทธรรม” หรือความไมป่ ระมาท และมอบใหพ้ ระธรรมวนิ ยั เป็นศาสดาแทน พระองค์ตอ่ ไป 1.2 พุทธประวัติ ตอน ผจญมาร การผจญมารของเจา้ ชายสิทธัตถะก่อนตรัสรเู้ ป็นพระพุทธเจา้ โดยมพี ญามารชื่อว่า วสวัตตี พร้อมกบั เหลา่ มารใชว้ ธิ ี การตา่ งๆ เพอ่ื ขดั ขวางไมใ่ หเ้ จา้ ชายสามารถตรสั รไู้ ดส้ ำ� เรจ็ หากแตพ่ ระองคม์ จี ติ ใจทเี่ ขม้ แขง็ กระทงั่ พระแมธ่ รณไี ดผ้ ดุ ขนึ้ มา บีบมวยผมใหเ้ กดิ น้�ำท่วมกองทพั มารและสามารถเอาชนะมารไดใ้ นทส่ี ุด เมือ่ พจิ ารณาแล้ว แทจ้ รงิ “มาร” คือ กิเลส ซ่ึงคอยรบกวนจติ ใจไม่ให้พระองค์สามารถบรรลธุ รรมได้ การผจญมาร ในความหมายน้จี งึ หมายถึง การต่อสู้กบั กิเลสของพระพุทธเจา้ เพือ่ หลุดพน้ จากกเิ ลสทง้ั ปวงนน่ั เอง 1.3 ชาดก ชาดก คอื เรอื่ งราวอดตี ชาตกิ อ่ นเปน็ พระพทุ ธเจา้ ซง่ึ ถอื วา่ พระพทุ ธเจา้ เปน็ ภพชาตสิ ดุ ทา้ ยและจะไมเ่ กดิ อกี (นพิ พาน) หรือบางต�ำราอาจอธิบายว่าชาดกคือเรื่องของ “พระโพธิสัตว์” ท่ีบ�ำเพ็ญบารมีด้วย ชาดกนั้นมีหลายเรื่องด้วยกัน โดยจะ ยกตวั อยา่ งบางเรอื่ ง เชน่ 1.3.1 อัมพชาดก พระพุทธเจ้าทรงเล่าเรื่องนี้ให้แก่สาวกฟังเน่ืองจาก พระเทวทัตได้ประกาศแยกตนออกจาก พระพทุ ธเจา้ และตอ้ งการตง้ั ตวั เองเปน็ ศาสดา เพอื่ ใหเ้ หน็ วา่ ในอดตี ชาตพิ ระเทวทตั กม็ พี ฤตกิ รรมเชน่ เดยี วกบั ในชาตนิ ี้ เรอื่ ง มอี ยูว่ ่า ชาตทิ แี่ ล้วพระพุทธเจา้ เกิดเปน็ จณั ฑาล (วรรณะต่ำ� สดุ ของศาสนาพราหมณ์ และไมเ่ ป็นที่ยอมรบั ของผูค้ นในสังคม) แตม่ มี นตส์ ามารถเสกมะมว่ งได้ ตอ่ มามพี ราหมณซ์ ง่ึ คอื เทวทตั ในอดตี มาพบและขอสมคั รเปน็ ศษิ ย์ โดยจณั ฑาลคนนน้ั ตกลง แ ต่มีเงื่อนไขว่าถ้ามีใครมาถามว่าอาจารย์เป็นใครก็ต้องบอกตามความจริง หากแต่สุดท้ายพราหมณ์คนนี้ก็พูดปดเน่ืองจาก อบั อายที่อาจารย์ตนเองเป็นจณั ฑาล ดงั น้ัน มนตท์ ง้ั หมดจึงเส่อื ม ไมส่ ามารถเสกมะมว่ งได้อีกแลว้ ชาดกเรื่องน้ีต้องการจะ สอนเรื่องความกตัญญูต่อผ้มู ีพระคณุ ผู้ไมร่ ูค้ ณุ ของครบู าอาจารย์กจ็ ะเสื่อมไปในที่สดุ นัน่ เอง 1.3.2 ตติ ตริ ชาดก พระพุทธเจ้าเล่าชาดกเร่อื งน้ีใหพ้ ระสาวก 6 รปู เพือ่ เตอื นสติเกีย่ วกบั การเคารพผู้อาวุโส เรือ่ ง มอี ยวู่ า่ ในอดตี ชาตพิ ระพทุ ธเจา้ เกดิ เปน็ นกกระทาในปา่ หมิ พานต์ มเี พอื่ นเปน็ ชา้ งและลงิ ซง่ึ ทงั้ สามตา่ งถกเถยี งกนั วา่ ใครเปน็ พีใ่ หญ่สุด ซง่ึ ทกุ วันต่างอา้ งเหตผุ ลของตน แต่สุดท้ายทั้งหมดก็ยอมรบั ใหน้ กกระทาเป็นพใี่ หญ่สดุ และสัตว์อ่ืนๆ กย็ อมรับนก กระทาเปน็ ผ้นู �ำของตน เรื่องนจ้ี งึ สอนเร่อื งการเคารพนบน้อมกับผใู้ หญ่ 1.3.3 มติ ตวนิ ทกุ ชาดก กลา่ วถงึ ชายทม่ี กี งจกั รหมนุ อยบู่ นศรี ษะ ชอื่ มติ ตวนิ ทกุ ทมี่ องเหน็ กงจกั รซงึ่ บดขยศี้ รี ษะสตั ว์ นรกเป็นดอกบัว จึงไดร้ ับสง่ิ นั้นมาในครอบครอง ท�ำให้มกี งจักรนนั้ หมุดบดบนศรี ษะของตน ข้อคิดทไ่ี ดจ้ ากชาดกเรอ่ื งน้ี คือ ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 9
ไมค่ วรเห็นกงจกั รเป็นดอกบัว 1.3.4 ราโชวาทชาดก พระพุทธเจ้าทรงเล่าชาดกเร่ืองนี้แก่ท่ีประชุมสงฆ์เกี่ยวกับการตัดสินอย่างเท่ียงธรรมของ พระเจา้ โกศล และแสดงถงึ คณุ สมบตั ขิ องผปู้ กครองทดี่ ี ชาดกเรอ่ื งนใ้ี หค้ ำ� สอนเกยี่ วกบั ผปู้ กครองทด่ี คี วรเปน็ แบบอยา่ ง รวม ทง้ั คณุ ธรรมในการปกครอง 1.3.5 นนั ทวิ ิสาลชาดก เร่อื งเกี่ยวกับพระพทุ ธเจา้ ทอี่ ดตี ชาตเิ กิดเปน็ “โค” ชื่อว่า โคนนั ทวิ ิสาล มีพราหมณย์ ากจน ผู้หนึ่งเป็นเจ้าของ ท่ีน�ำเอาโคตัวน้ีไปท้าพนันลากเกวียนบรรทุกของหนักกับเศรษฐีผู้หนึ่ง ซ่ึงในครั้งแรกพราหมณ์ใช้วาจา หยาบคาย โคไมย่ อมขยบั เขยอื้ น จนครงั้ ทสี่ องพราหมณใ์ ชว้ าจาสภุ าพออ่ นหวาน โคจงึ ยอมเคลอื่ นเกวยี นและชนะในทส่ี ดุ เรอ่ื ง นี้สอนเร่ือง การใช้คำ� สภุ าพอ่อนโยนกบั ผู้อนื่ 1.3.6 สวุ ณั ณหงั สชาดก อดตี ชาติพระพุทธเจ้าเกิดเป็น “พราหมณ”์ มีภรรยาและธดิ า 3 คน ต่อมาพราหมณเ์ สียชีวิต เกดิ หงส์ มขี นเปน็ ทองคำ� และระลกึ ชาตไิ ดจ้ งึ พยายามาสลดั ขนใหก้ บั ครอบครวั ของตนทลี่ ำ� บาก หากแตภ่ รรยาเกดิ ความโลภ อยากได้ทองค�ำมากกวา่ เดิม จงึ จบั หงส์มาถอนขนจนหมดตวั แตไ่ มม่ ีทองคำ� ออกมาเลย และหงส์ก็ไมก่ ลบั มายงั ครอบครวั นี้ อีก เรอื่ งนสี้ อนใหร้ เู้ รื่องการไม่โลภและร้จู กั พอ 2. ประวตั ิและความสำ� คญั ของพระพทุ ธศาสนา 2.1 การสังคายนาพระพุทธศาสนา การสงั คายนา คอื การรวบรวมและจดั หมวดหมคู่ ำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ ใหเ้ ปน็ ระบบ เนอ่ื งจากคำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ นน้ั เปน็ คำ� พดู ไมไ่ ดบ้ นั ทกึ หรอื นำ� มาจดั กลมุ่ ใหง้ า่ ยตอ่ คนภายหลงั ตอ่ มาเรยี กคำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ วา่ “พระธรรมวนิ ยั ” ซง่ึ การสงั คายนาเกดิ ขึ้นครงั้ แรกหลงั พระพุทธเจ้าปรินิพพานได้ 3 เดอื น ในครงั้ นนั้ ยงั ใช้วิธที ่องจ�ำเป็นหมู่คณะ ยงั ไม่ไดบ้ ันทกึ เปน็ ตวั หนงั สือ กระทัง่ การสงั คายนาครัง้ ท่ี 3 จึงมกี ารบันทกึ เปน็ ลายลักษณ์ เรยี กว่า “พระไตรปฎิ ก” นัน่ เอง ซง่ึ จดุ ประสงค์ ของการสงั คายนากเ็ พอื่ ความม่ันคงของพระพทุ ธศาสนาและตรวจทานความถกู ต้อง สำ� หรบั ประเทศไทยการสงั คายนาไดเ้ คยเกดิ ขน้ึ ทเี่ ชยี งใหม่ กอ่ นรชั สมยั พระเจา้ ตโิ ลกราช แหง่ อาณาจกั รลา้ นนา กอ่ น จะเกดิ ขน้ึ อีกครัง้ สมยั รัชกาลท่ี 1 รชั กาลที่ 5 และในรชั กาลที่ 9 รวม 4 คร้งั ทเ่ี กดิ ในประเทศไทย 2.2 การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสูป่ ระเทศไทย การเผยแผ่ศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศไทย อาจแบง่ ไดเ้ ป็น 4 ช่วงเวลาด้วยกัน คือ 2.2.1 สมัยแรกสดุ สมยั พระเจา้ อโศกมหาราช พ.ศ. 234 ไดท้ รงสง่ สมณทูตมาเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในดนิ แดนตา่ งๆ สำ� หรบั ใ น ดินแดนสุวรรณภูมิ ได้ส่งพระโสณเถระและพระอุตตรเถระเข้ามาเผยแผ่ซึ่งตรงกับสมัยอาณาจักรทวารวดีซึ่งเป็นนิกาย เถรวาท 2.2.2 สมยั ตอ่ มานกิ ายมหายานไดเ้ ขา้ มาผา่ นอาณาจกั รศรวี ชิ ยั ทางตอนใตข้ องไทยและอาณาจกั รละโวท้ างตอนกลาง 2.2.3 สมยั ต่อมาเข้ามาผ่านพม่าสมัยพระเจา้ อนรุ ุทธะ แหง่ พุกามถอื เป็นพทุ ธเถรวาทแบบพุกาม 2.2.4 สมยั สดุ ทา้ ย คอื พทุ ธเถรวาทแบบลงั กาวงศ์ เผยแผเ่ ขา้ มาทางเมอื งนครศรธี รรมราชกอ่ นจะมาสสู่ โุ ขทยั และตง้ั มน่ั ตอ่ มา 10 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
2.3 ความสำ� คญั ของพระพุทธศาสนา ความส�ำคัญของพระพุทธศาสนามีความส�ำคญั ต่อสงั คมโลกอย่างมากมาย โดยเฉพาะประเทศไทย ท่ถี อื เอาศาสนา พทุ ธเป็นศาสนาประจ�ำชาติ ซึ่งความสำ� คัญหลกั ๆ คือ 2.3.1 พระพุทธศาสนาช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพ่ือนบ้าน ผู้น�ำประเทศอาจน�ำหลักของพระพุทธ ศาสนามาสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศได้ ตวั อยา่ งทช่ี ดั เจน คอื พระเจา้ อโศกมหาราชทพี่ ระองคท์ รงเลอื่ มใสพระพทุ ธ ศาสนาอยา่ งมาก และนำ� หลกั คำ� สอนมาประยกุ ตใ์ ชเ้ รยี กวา่ “ธรรมวชิ ยั ” หรือ ชนะด้วยธรรม หลักส�ำคัญคือ การใหเ้ สรภี าพ ในการนับถอื ศาสนา สรา้ งความปรองดอง ละเวน้ การท�ำสงครามแก่กนั นอกจากตัวอยา่ งทีเ่ ปน็ บุคคลแล้ว ตัวอย่างคำ� สอน ท่โี ดดเดน่ เร่ืองความสัมพันธ์อันดี คือ “สาราณยี ธรรม” หรอื ธรรมทใ่ี หร้ ะลึกถงึ กนั 6 ประการ ได้แก่ การเมตตาทางกาย วาจา และใจ การชว่ ยเหลือเกือ้ กลู กนั ประพฤติดีต่อกนั และมีความเห็นตรงกนั 2 .3.2 พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานของวัฒนธรรมไทย ซึ่งจะเห็นได้จากการท่ีพระพุทธศาสนามีความเกี่ยวข้อง และสมั พนั ธก์ ับความเปน็ อย่ขู องคนไทยในหลายดา้ น ตงั้ แต่เกิดจนตาย ก็จะมีความเช่ือในศาสนาเขา้ มาเกยี่ วขอ้ ง ประเพณี วัฒนธรรม ภาษา วรรณคดีไทย และศลิ ปะตา่ งๆ ที่มีการน�ำแนวคิด หลักค�ำสอน และหลักการปฏิบัตขิ องศาสนาพทุ ธมาใช้ 2.3.3 พระพุทธศาสนาเป็นเอกลักษณ์และมรดกของสังคมไทย เช่น มารยาทการไหว้ คติความเช่ือเรื่องบุญกรรม นรก-สวรรค์ นสิ ัยเมตตากรณุ า เป็นต้น รวมทั้งยงั เปน็ มรดกท่บี รรพบรุ ุษสง่ั สมและสืบทอดมาจนถงึ ปัจจุบนั 2.3.4 พระพทุ ธศาสนาชว่ ยพัฒนาชมุ ชนและจัดระเบยี บสงั คม เพราะศาสนาและวัดเปน็ เสมือนศนู ยก์ ลางของชมุ ชน ที่สามารถชว่ ยระดมก�ำลังผ้คู นในการพัฒนาชมุ ชนได้ รวมทั้งค�ำสอนยังมสี ว่ นในการจัดระเบยี บสังคมดว้ ย 3. พทุ ธสาวก พุทธสาวิกา และชาวพทุ ธตวั อย่าง ที่มา : ภาพยนตร์การต์ นู “พทุ ธศาสดา” 3.1 พทุ ธสาวกและพุทธสาวกิ า = ผู้ที่มีชวี ติ อยรู่ ่วมสมัยกบั พระพุทธเจา้ 1. พระมหากสั สปะ เกิดในครอบครัวพราหมณม์ ีฐานะร�ำ่ รวย เดิมชอื่ วา่ ปิปผลิ ซ่ึงเป็นผู้ทใี่ ฝใ่ นทางธรรมตั้งแตเ่ ด็ก จนกระทัง่ ตัดสินใจออกบวชพรอ้ มภรรยาหลงั จากได้ฟงั ธรรมจากพระพทุ ธเจา้ จนเกิดความเล่ือมใส และหลงั จากบวชไม่นาน ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 11
ก็บรรลอุ รหนั ต์ เรียกขนานนามวา่ มหากสั สปเถระ คณุ ธรรมเดน่ ของทา่ น คอื เปน็ บตุ รทด่ี ี เป็นผรู้ กั ษาสัจจะ มชี ีวิตเรียบง่าย เครง่ ครัดในข้อวินยั และท�ำหน้าท่ีปกป้องพระพทุ ธศาสนาใหม้ ัน่ คงในฐานะประธานการสังคายนาครงั้ แรก 2. พระอบุ าลี เดมิ เปน็ ชา่ งตดั ผมในราชสำ� นกั กรงุ กบลิ พสั ด์ุ กอ่ นจะขอบวชซง่ึ พระอบุ าลฝี กึ ปฏบิ ตั กิ รรมฐานจนบรรลุ อรหนั ต์ และไดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ปน็ เอตทคั คะ (เลศิ กวา่ ผอู้ นื่ ) ในการจดจำ� พระวนิ ยั หรอื ขอ้ บงั คบั ในหมสู่ งฆ์ เหตกุ ารณส์ ำ� คญั คอื พระอบุ าลีตัดสนิ คดีทพี่ ระภกิ ษุณรี ูปหน่งึ ตง้ั ครรภก์ อ่ นจะบวชว่าไม่ผดิ 3. อนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี เดมิ ชอ่ื วา่ สทุ ตั ตะ เปน็ เศรษฐใี นเมอื งสาวตั ถี มจี ติ ใจชอบทำ� บญุ ตงั้ โรงทานแจกจา่ ยอาหาร แกค่ นจน จนถูกขนานนามวา่ อนาถบณิ ฑิกะ แปลว่า ผู้มีก้อนขา้ วเพอื่ คนอนาถา ซึ่งท่านมีโอกาสฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าจึง เกดิ ความเลอ่ื มใส ผลงานส�ำคัญคอื การบริจาคทรัพย์สรา้ งวดั เชตะวนั วหิ ารใหแ้ ก่พระพทุ ธเจา้ 4. นางวิสาขา เปน็ ผู้หญงิ ทมี่ ีความงามอยา่ งเบญจกลั ยาณี ฟังธรรมจนบรรลุโสดาบันตงั้ แตอ่ ายุ 7 ปี ซ่งึ ภายหลงั นางได้แตง่ งานกับชายตา่ งลัทธิ นางกไ็ ดเ้ ปลี่ยนใหเ้ ขามานบั ถือพุทธศาสนา อกี ท้งั ผลงานสำ� คญั ของนาง คือ การรเิ รมิ่ การ ถวายผ้าอาบน้�ำฝนในชว่ งเขา้ พรรษา และสรา้ งวัดบพุ พารามถวายพระพทุ ธเจ้า 5. พระสารีบตุ ร เดิมช่อื อปุ ติสสะ เกิดในครอบครวั พราหมณ์ ไดฟ้ ังธรรมจากพระอสั สชิจนบรรลุธรรม ขอบวชและ บรรลอุ รหนั ตใ์ นเวลาตอ่ มา ทา่ นถอื วา่ เปน็ ผมู้ ปี ญั ญาหลกั แหลม เขา้ ใจธรรมอยา่ งลกึ ซง้ึ ซง่ึ พระพทุ ธเจา้ ไดต้ งั้ ใหเ้ ปน็ อคั รสาวก เบื้องขวา และเปน็ เอตทคั คะดา้ นปัญญา รวมทั้งเป็นผู้คดิ ใหม้ กี ารเกดิ สงั คายนาขึน้ ด้วย 6. พระโมคคลั ลานะ เดิมช่ือ โกลติ ะ เกดิ ในครอบครวั พราหมณ์ เป็นเพ่ือนรวมสำ� นกั กับอุปตสิ สะ โดยบวชพร้อม กับสหายและบรรลอุ รหนั ต์ในเวลาต่อมา พระโมคคลั ลานะมีอิทธฤิ ทธิ์ปาฏิหารยิ ์ มคี วามสามารถในการเจรญิ ภาวนา และมี กุศโลบายในการสอนคน พระพทุ ธเจา้ ไดย้ กให้ทา่ นเปน็ อัครสาวกเบ้อื งซา้ ย 7. พระเจา้ พิมพสิ าร เป็นกษตั ริยก์ รงุ ราชคฤห์ แควน้ มคธ เปน็ สหายของเจา้ ชายสิทธตั ถะ และเปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ใน การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา และถอื เปน็ กษตั รยิ พ์ ระองคแ์ รกทป่ี ระกาศตนเปน็ พทุ ธมามกะ ทำ� ใหแ้ ควน้ มคธกลายเปน็ ศนู ยก์ ลาง ของการเผยแผศ่ าสนา 8 . นางขชุ ชตุ ตรา เปน็ หญงิ หลงั ค่อมเดมิ ชอ่ื อุตตรา เปน็ สาวใช้ของพระมเหสีของกษตั ริย์เมืองโกสมั พี ซึ่งนางได้ มโี อกาสฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า และน�ำมาเลา่ ให้เจา้ นาย คอื พระนางสามาวดีฟงั จนบรรลุโสดาบัน ซง่ึ คณุ ธรรมท่ีโดดเดน่ คอื แมว้ ่านางจะพิการแต่กม็ คี วามเพียรและปัญญาหลักแหลม ซ่ึงพระพทุ ธเจ้าไดย้ กยอ่ งให้นางเป็นเลิศกว่าอบุ าสิกาท้ังปวง ในเร่อื งการแสดงธรรม หรอื ธรรมกถึก 9. พระโกณทัญญะ เป็นพระสงฆร์ ปู แรกในพระพทุ ธศาสนา ท่ีเดมิ เคยท�ำนายตอนพระพุทธเจ้าเกดิ ว่า เจ้าชายจะ เป็นศาสดาเอกของโลก จนภายหลังได้มาเปน็ ปญั จวัคคยี ์รบั ใช้พระพุทธเจ้า ตอ่ มาไดฟ้ งั ธรรม “ปฐมเทศนา” จนเกิดดวงตา เหน็ ธรรม ซงึ่ พระพทุ ธเจา้ บวชใหด้ ว้ ยพระองคเ์ อง เรยี กวา่ เอหภิ กิ ขอุ ปุ สมั ปทา และเปน็ พระสงฆร์ นุ่ แรกทสี่ ง่ ไปเผยแผศ่ าสนา 1 0. พระมหาปชาบดโี คตมีเถรี เปน็ นอ้ งสาวของพระมารดาของเจา้ ชายสิทธตั ถะ และเลีย้ งดูเจ้าชายภายหลงั พระมารดาสนิ้ พระชนม์ ตอ่ มาในภายหลังทพ่ี ระพทุ ธเจา้ กลบั มาโปรดพระประยรู ญาติ พระนางปชาบดีโคตมที ลู ขอบวช แต่ พระองค์ปฏิเสธเนื่องจากเปน็ สตรี หากแตพ่ ระอานนทท์ ูลขอ ในทส่ี ดุ พระนางก็ได้บวชเปน็ ภิกษุณีรูปแรกในศาสนา พระนาง ถือว่าเปน็ ภิกษณุ ีท่ีมี “รตั ตญั ญภู าพ” คอื เลศิ กว่าภกิ ษุณีในดา้ นมีประสบการณแ์ ละรอบรู้มาก 11. พระเขมาเถรี เดมิ ชอื่ พระนางเขมา เปน็ พระมเหสขี องพระเจา้ พมิ พสิ าร ซงึ่ พระนางเปน็ หญงิ สาวทส่ี วยงามาก พระองค์หนึ่ง และลุ่มหลงในความงามของตน จนเม่อื มโี อกาสไดฟ้ ังธรรมจากพระพทุ ธเจา้ และซาบซึ้งจนสำ� เรจ็ เป็นอรหันต์ ก่อนขอบวชเปน็ พระภิกษุณี และได้รับการยกยอ่ งวา่ เป็นภกิ ษุณที ีเ่ ป็นเอตทัคคะด้านมปี ัญญามาก 12. พระเจ้าปเสนทโิ กศล กษัตริย์แหง่ เมืองสาวตั ถี ทรงบริจาคทรัพย์จ�ำนวนมากเพือ่ บ�ำรุงศาสนา สร้างวดั หลาย แห่ง และคุ้มครองอุปถมั ภ์ภกิ ษุและภิกษุณีมใิ ห้คนมาท�ำร้ายได้ 12 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
3.2 ชาวพทุ ธตวั อยา่ ง = ผ้ทู มี่ ีชวี ติ อย่หู ลังจากพระพทุ ธเจา้ ปรนิ ิพพาน 1. พระเจา้ อโศกมหาราช ครองราชยช์ ่วงพทุ ธศตวรรษ 3 ทรงเป็นกษตั รยิ แ์ ห่งราชวงศเ์ มาริยะ แคว้นมคธ เมื่อ พระองค์ครองราชยไ์ ดส้ ง่ั ให้ประหารพี่นอ้ งต่างมารดาจ�ำนวนมากเพอื่ ความมนั่ คง รวมทั้งไปปราบแคว้นต่างๆ จนอาณาจกั ร มีความมั่นคง และกวา้ งขวาง ในชว่ งแรกของการครองราชยม์ ีผู้คนลม้ ตายเปน็ จ�ำนวนมาก กระท่ังได้ฟงั ธรรมจากสามเณร ชอ่ื วา่ นโิ ครธ ทรงเลอื่ มใสและปฏบิ ตั ติ นเปน็ อบุ าสกทด่ี ี พระองคไ์ ดส้ รา้ งวหิ ารและเจดยี จ์ ำ� นวนมากเพอ่ื เปน็ พทุ ธบชู า พระองค์ ได้จัดการท�ำสังคายนาครัง้ ท่ี 3 รวมทง้ั จัดส่งสมณทตู 9 คณะ และแบ่งออกเป็น 9 สาย ไปเผยแผ่พทุ ธศาสนาตามดนิ แดน ต่างๆ ถอื เป็นแบบอย่างของอบุ าสกท่ีดีในการบำ� รงุ ศาสนาและเป็นแบบอยา่ งของธรรมราชาที่ใช้ธรรมปกครองบา้ นเมอื ง 2. พระโสณะและพระอุตตระ เป็นสมณทูตที่พระเจ้าอโศกมหาราชทรงส่งไปเผยแผ่ศาสนายังดินแดน สุ วรรณภูมิ หรอื เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตใ้ นปจั จบุ นั ซง่ึ ในเวลานน้ั อาณาจกั รทวารวดกี ำ� ลงั เรอื งอำ� นาจ และพบหลกั ฐานสำ� คญั คือ พระพทุ ธรปู ศลิ า ธรรมจกั รและกวางหมอบ พระเถระทั้งสองรูปถอื เป็นผูถ้ ่ายทอดที่ดที ีท่ �ำให้พระพทุ ธศาสนาสามารถเขา้ มาในดนิ แดนแหง่ น้ไี ดอ้ ยา่ งมั่นคงจนถงึ ปัจจบุ ัน 4. หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนาทถ่ี อื วา่ เปน็ หวั ใจสำ� คญั คอื อรยิ สจั 4 ประกอบดว้ ย ทกุ ข์ = ความไมส่ บายกายไมส่ บายใจ สมทุ ัย = สาเหตุของทกุ ข์ นโิ รธ = ความดบั ทกุ ข์ และมรรค = หนทางในการดับทุกข์ โดยทงั้ นี้สามารถแยกหลกั ธรรมย่อยๆ เขา้ หมวดหมู่ ได้ดงั น้ี 4.1 ทกุ ข์ : ธรรมที่ควรรู้ = รสู้ าเหตแุ หง่ ทุกข์ 1 . ขันธ์ 5 คือ องค์ประกอบท่ที �ำใหเ้ กดิ เป็นชวี ิต ชีวติ หนึ่ง ประกอบดว้ ย 5 ส่วน คอื รูป (ร่างกาย) วญิ ญาณ (การรบั รู้ตา่ งๆ) เวทนา (ความร้สู กึ ) สญั ญา (ความจ�ำได้) สงั ขาร (ความคดิ หรือจติ ท่ีปรงุ แตง่ ขนึ้ ) 2. ไตรลักษณ์ คอื สามญั ญลกั ษณะหรือลักษณะ ทั่วไปของชวี ติ มนษุ ย์ 3 ประการ ได้แก่ อนิจจงั = ความไม่เที่ยง ไม่ แน่นอน ทกุ ขัง = ความทกุ ข์ และอนัตตา = ความไม่มตี ัวตนหรือไม่ใช่ตัวตนทแี่ ทจ้ รงิ 4.2 สมทุ ัย : ธรรมท่คี วรละ = ละสาเหตไุ ม่ใหเ้ กิดทกุ ข์ 1. กรรม คอื การกระทำ� ทม่ี เี จตนา / ตงั้ ใจทำ� มีทงั้ ทีเ่ ป็นกศุ ลกรรม (กรรมด)ี เกิดจากความไม่โลภ ไม่โกรธ ไมห่ ลงทั้ง ทางกาย วาจาและใจ และอกศุ ลกรรม (กรรมชั่ว) เป็นกรรมทท่ี ำ� ให้เกิดทกุ ข์ทงั้ กาย วาจาและใจเช่นเดยี วกนั 2. อบายมุข 6 คอื หนทางแห่งความเสอื่ ม 6 ประการ ได้แก่ ดูการละเลน่ นกั เลงสุรา ชอบเทยี่ วกลางคืน นักเลง การพนนั เกยี จคร้านการงาน และคบคนชว่ั 3. วบิ ัติ 4 คือ องคป์ ระกอบท่ีท�ำให้ชีวติ วิบตั หิ รือหายนะ ไดแ้ ก่ คตวิ บิ ตั ิ = เลอื กหนทางดำ� เนนิ ชีวิตไม่ดี อุปธวิ บิ ัติ = บคุ ลิกภาพไม่ดี กาลวบิ ัติ = เลือกทำ� ไมถ่ ูกเวลา และ ปโยควบิ ัติ = ทำ� การต่างๆ ไมเ่ ตม็ ที่ 4. อกุศลกรรมบถ 10 คอื หนทางในการทำ� ความชัว่ 10 ประการ แบ่งเปน็ การทำ� ทุจรติ ทางกาย 3 ประการ ได้แก่ การฆา่ สตั ว์ ลกั ทรัพย์ มกั มากในกาม ทุจรติ ทางวาจา 4 ไดแ้ ก่ โกหก หยาบคาย ส่อเสยี ด และเพ้อเจ้อ และทจุ ริตทางใจ 3 ได้แก่ คดิ อยากได้ของผ้อู ่นื คดิ พยาบาท คดิ ผิดท�ำนองคลองธรรม 5. วฏั ฏะ 3 คอื วงจรชีวติ ท่ีเวยี นวา่ ยตายเกดิ เนอ่ื งจากสาเหตสุ ามประการไดแ้ ก่ กเิ ลส = ส่งิ ท่ที ำ� ให้จติ ใจเศรา้ หมอง กรรม = การกระท�ำที่มีเจตนา และวบิ าก = ผลของกรรม ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 13
6. ปปัญจธรรม 3 คือ กเิ ลสทเ่ี ปน็ ตัวถว่ งความเจริญ 3 ประการ ไดแ้ ก่ ตัณหา = ความอยากได้ อยากมี อยากเปน็ รวมท้งั ความไมอ่ ยากดว้ ย ทฐิ ิ = ความเชือ่ ความเหน็ ความยึดมน่ั ถือมั่น และมานะ = ความถือตวั ในตวั ตน 4 .3 นโิ รธ : ธรรมท่ีควรบรรลุ 1. สุข 2 คือ ความสบาย เปน็ อารมณฝ์ า่ ยดี แบง่ เปน็ กายกิ สขุ = สขุ ทางกายจากหู ตา จมกู ลน้ิ และกาย และ เจตสกิ สขุ = สขุ ทางใจ 2. คหิ สิ ขุ คอื ความสขุ ของคฤหสั ถ์ (ชาวบา้ น) ท่คี นทว่ั ไปพงึ มี 4 ประการ คือ สุขจากการมที รัพย์ สขุ จากการใช้จ่าย ทรัพย์ สุขจากการไมม่ ีหน้ี และสุขจากการทำ� งานสุจริต 3. อัตถะ 3 คือ ประโยชน์หรอื ผลสำ� เร็จตามเป้าหมาย แบง่ เปน็ 3 ระดบั • ประโยชน์ในชวี ติ ปัจจุบนั (ทิฏฐธิ ัมมกิ ตั ถะ) ไดแ้ ก่ ขยัน อดออม คบคนดี ด�ำเนินชวี ิตใหเ้ หมาะสม • ประโยชนใ์ นชาตหิ นา้ (สัมปรายกิ ัตถะ) ได้แก่ มศี รทั ธา รกั ษาศลี บรจิ าค และมปี ัญญา • ประโยชน์สงู สดุ คือ การมุง่ สนู่ ิพพาน = หลดุ พน้ จากกิเลสโดยสน้ิ เชงิ 4.4 มรรค : ธรรมท่คี วรเจริญ 1. ไตรสกิ ขา คอื การศกึ ษาและฝกึ อบรมทางพระพุทธศาสนาแบง่ ได้ 3 ประการ คอื สีลสกิ ขา = ฝกึ อบรมด้านศีล ควบคมุ ความประพฤตติ ามศีล จติ ตสกิ ขา = ฝึกจติ ใหเ้ กดิ สมาธิ และปญั ญาสกิ ขา = ฝึกปญั ญาใหร้ แู้ จง้ 2. กรรมฐาน 2 คือ วิธีฝกึ อบรมจติ ใหส้ งบและเกดิ ปัญญา แบ่งออกได้เปน็ 2 วธิ ี คอื สมถกรรมฐาน = ฝึกอบรมจิต ให้เกดิ ความสงบ (ฝึกสมาธิ) และวปิ สั สนากรรมฐาน = ฝกึ อบรมปัญญา (เจริญปญั ญา) 3 . ปธาน 4 คอื ความเพยี รในการกระท�ำความชอบ หรือความดี 4 ประการ ได้แก่ เพียรระวังไม่ทำ� ชัว่ เพียรละความ ชั่วทที่ ำ� ไปแล้ว เพยี รทำ� ความดีทยี่ งั ไม่เคยทำ� และเพียรรกั ษาความดใี หอ้ ยูต่ ลอดไป 4. โกศล 3 คอื ความฉลาดรอบรู้ 3 ประการ คือ อายโกศล = รอบรูห้ นทางทนี่ �ำไปสู่ความเจริญ อปายโกศล = รอบรู้ ในสาเหตุของความเสือ่ ม และอปุ ายโกศล = รอบรู้หนทางท่ที ำ� ใหช้ วี ิตประสบความสำ� เรจ็ 5 . ดรุณธรรม 6 คอื ข้อควรปฏบิ ัติสำ� หรบั เยาวชน ไดแ้ ก่ มีความต้งั ใจในการศกึ ษา มวี นิ ัย มคี นดเี ป็นแบบอย่าง ขยัน หมั่นเพียร ประพฤตติ วั ดี และรักษารา่ งกายจิตใจให้ดี 6. กุลจริ ฏั ฐิติธรรม 4 คอื หลกั ปฏบิ ัติในการดำ� รงวงศ์ตระกูลให้ย่ังยืน ไดแ้ ก่ ของที่หายไปใหห้ ามาทดแทน ของท่ี ช�ำรดุ ใหซ้ อ่ มแซม รู้จกั ประมาณตนในการใชจ้ า่ ย และเลือกคนดีมาเป็นพ่อบา้ นแม่เรอื น 7. มรรค 8 หรอื มรรคมีองค์ 8 คือ หนทางในการพ้นทกุ ข์ ประกอบดว้ ย 8 หนทาง ไดแ้ ก่ 1. สัมมาทิฏฐิ - ความเห็นชอบ 2. สมั มาสังกัปปะ - ความดำ� ริชอบ 3. สัมมาวาจา - เจรจาชอบ 4. สัมมากัมมันตะ - ท�ำการงานชอบ 5. สมั มาอาชีวะ - เลยี้ งชพี ชอบ 6. สัมมาวายามะ - พยายามชอบ 7. สมั มาสติ - ระลกึ ชอบ 8. สัมมาสมาธิ - ตง้ั ใจชอบ ซงึ่ รวมเรยี กอีกช่ือหนง่ึ ไดว้ ่า “มัชฌิมาปฏปิ ทา” หรือ ทางสายกลาง มรรค 8 หรอื มรรคมอี งค์ 8 สามารถรวมกลุ่มเปน็ “ไตรสกิ ขา” หรอื ข้อปฏิบตั ใิ นการศกึ ษาได้ 3 ประการ ดังน้ี 1. สลี สิกขา (ศลี ) ได้แก่ สมั มาวาจา สัมมากัมมนั ตะ และสัมมาอาชีวะ 2. จติ ตสิกขา (สมาธ)ิ ได้แก่ สัมมาวายามะ สมั มาสติ และสมั มาสมาธิ 3. ปญั ญาสิกขา (ปญั ญา) ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสงั กัปปะ 14 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
8. ปัญญา 3 คอื ความรเู้ ทา่ ทนั สภาพความเปน็ จรงิ หรือความรอบรใู้ นธรรมชาติของโลก 3 ประการ คือ ปัญญาจาก การฟัง ปญั ญาจากการคดิ และปญั ญาจากการฝึกอบรมจติ 9. สปั ปรุ สิ ธรรม 7 คอื ธรรมส�ำหรบั สัตบุรุษ หรือคนดี 7 ประการ ไดแ้ ก่ รู้จักเหตุ รจู้ ักผล รจู้ กั ตน รู้จักประมาณ รจู้ ัก กาลเวลา รู้จักชมุ ชน และรู้จักคน 10. อุบาสกธรรม 7 คือ ธรรมของอุบาสก หรือชาวพทุ ธทดี่ ี ท่ีควรปฏิบัติ 7 ประการ คอื ไปวัด หมน่ั ฟังธรรม รกั ษา ศีล ศรทั ธาในพระสงฆเ์ สมอกัน ฟงั ธรรมอยา่ งตัง้ ใจ ท�ำบุญตามหลักศาสนา และบ�ำรงุ ศาสนา 11. บญุ กริ ิยาวตั ถุ 10 คอื วธิ กี ารทำ� ความดใี นพระพทุ ธศาสนา 10 ประการ ไดแ้ ก่ การใหท้ าน รกั ษาศลี เจรญิ ภาวนา อ่อนนอ้ มถ่อมตน ช่วยเหลอื ผ้อู ่นื แบง่ ปันความดีใหผ้ ้อู น่ื ยินดกี ับความส�ำเรจ็ ของผูอ้ น่ื ฟังธรรม ใหค้ วามรกู้ บั ผู้อ่ืน และคิด ตามครรลองครองธรรม สรุปหลกั ธรรมทส่ี �ำคัญ อริยสัจ 4 = ความจริงอันประเสรฐิ 4 ประการ สมทุ ยั = ธรรมท่คี วรละ นิโรธ = ธรรมท่ีควรบรรล ุ ทกุ ข์ = ธรรมที่ควรรู ้ มรรค = ธรรมท่คี วรเจริญ ขันธ์ 5 = องค์ประกอบชวี ติ กรรม = การกระทำ� ที่มี สุข 2 = ความสบายกายและ ไตรสกิ ขา = การศกึ ษา 3 รปู เวทนา วิญญาณ สญั ญา เจตนา ใจ ประการ สังขาร อบายมขุ 6 = หนทางแห่ง คหิ สิ ขุ = สขุ ของผ้คู รองเรือน กรรมฐาน 2 = การฝึกจติ และ ไตรลกั ษณ์ = ลกั ษณะสามญั ความเสื่อม อตั ถะ 3 = ประโยชนห์ รือผล ปัญญา ของโลก ทกุ ขัง อนิจจัง วิบัติ 4 = องค์ประกอบให้ ส�ำเร็จ ปธาน 4 = ความเพยี ร อนัตตา ชวี ิตวิบตั ิ อกศุ ลกรรม 10 = หนทางใน โกศล 3 = ความชอบ การท�ำชั่ว ดรณุ ธรรม 6 = ขอ้ ปฏิบัติของ วฏั ฏะ 3 = วงจรให้เวียนว่าย เยาวชน ตายเกดิ กลุ จิรฏั ฐติ ิธรรม 4 = หลกั ท�ำ ปปัญจธรรม 3 = กิเลสท่ีถว่ ง ให้วงศ์ตระกูลยง่ั ยืน ความเจริญ มรรค 8 = หนทางในการพ้น ทุกข์ ปัญญา 3 = การรูเ้ ท่าทัน สปั ปรุ ิสธรรม 7 = ธรรมของ คนดี อบุ าสกธรรม 7 = ธรรมของ ชาวพทุ ธ บญุ กิริยาวตั ถุ 10 = วธิ ีท�ำบญุ ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 15
5. หนา้ ทแ่ี ละมารยาทชาวพุทธ ท่มี า : อัครายชญ์ เพช็ รอ์ ำ� ไพ, สำ� นักงานสง่ เสรมิ สงั คมแหง่ การเรยี นรูแ้ ละคณุ ภาพเยาวชน (สสค.) ชาวพุทธ หมายถงึ บุคคลท่นี บั ถือพระพุทธศาสนา ประกอบดว้ ย 4 กล่มุ หรือทเ่ี รยี กว่า “พุทธบริษัท 4” ไดแ้ ก่ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และอุบาสิกา (ปจั จุบนั ไมม่ ีภิกษุณแี ลว้ ) 5.1 หนา้ ที่ชาวพุทธ หน้าท่ขี องชาวพทุ ธมีหลายประการด้วยกนั ตวั อย่างเช่น 1. ศึกษาหาความรู้ในพระธรรมค�ำสอนของพระพทุ ธศาสนาตามสมควรแกว่ ยั 2. ปฏิบัติตามค�ำสอนและพิธกี รรมทางพระพุทธศาสนา 3 . เผยแพรค่ �ำสอนให้บคุ คลต่างๆ ไดเ้ ข้าใจชดั เจนย่งิ ข้ึน 4 . ปกปอ้ งพระพทุ ธศาสนาไมใ่ ห้เสือ่ มเสีย 5. เรยี นรบู้ ทบาทของพระภิกษสุ งฆ์ 6 . บ�ำรุงรกั ษาวัดและศาสนสถานต่างๆ 5.2 บทบาทและหนา้ ท่ขี องพระสงฆ์ พ ระสงฆ์มีหน้าที่สืบทอดพระพุทธศาสนา โดยบทบาทหน้าท่ีของพระภิกษุสงฆ์จะเก่ียวพันกับการศึกษา การปฏิบัติ และการเผยแผศ่ าสนา กล่าวคือ พระสงฆจ์ ะมีหน้าที่ในการศกึ ษาพระธรรมวนิ ัย เรยี กวา่ คันถธรุ ะ รวมทง้ั ต้องฝกึ อบรมจติ ใจ ใหเ้ กดิ สมาธิ เรยี กว่า วิปสั สนาธรุ ะ และน�ำสงิ่ ตา่ งๆ ไปสกู่ ารเผยแผศ่ าสนาต่อไปอาจจะการแสดงธรรม การแสดงปาฐกถา หรอื การทำ� ตวั เปน็ แบบอยา่ ง ซงึ่ พระสงฆจ์ ะมหี นา้ ทท่ี ต่ี อ้ งปฏบิ ตั เิ ปน็ กจิ วตั รตามพทุ ธบญั ญตั ิ เชน่ การบณิ ฑบาต ทำ� วตั รสวดมนต์ รักษาความสะอาด ฯลฯ 5 .3 มารยาทชาวพุทธ 1. การแสดงความเคารพพระรตั นตรยั (พระรัตนตรยั คอื พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ)์ ซึ่งการเคารพพระรัตนตรยั ท่ีถูกวิธีจะต้องใช้วิธกี ารแสดงความเคารพทเี่ รยี กว่า “กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์” หมายถึง การกราบโดยใหอ้ วยั วะทง้ั 5 16 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
ส่ วนของร่างกายสัมผัสกับพื้น ได้แก่ มือสองข้าง เข่าทั้งสองและหน้าผากจรดพ้ืน แบ่งเป็น 3 จังหวะ เริ่มจาก อญั ชลี = การประนมมอื วนั ทา = การไหว้ โ ดยใหป้ ลายนวิ้ หวั แมม่ อื ทง้ั สองอยรู่ ะหวา่ งควิ้ ปลายนวิ้ ชจ้ี รดหนา้ ผาก และอภวิ าท = การกราบ 2. การแสดงความเคารพกับพระสงฆ์ มีหลายกรณดี ว้ ยกนั เชน่ ถ้ายนื ใหย้ นื ด้วยอาการส�ำรวม หากพระสงฆเ์ ดินผ่าน ใหย้ กมอื ไหว้ หากเดนิ ไมค่ วรเดนิ มาคกู่ นั แตใ่ หพ้ ระทา่ นเดนิ นำ� หนา้ หากสวนทาง ควรหยดุ และใหท้ า่ นไปกอ่ น สว่ นหากมกี าร พูดคุยกบั พระสงฆ์ ควรใชค้ ำ� พูดที่สภุ าพและประนมมอื อย่างสำ� รวม เป็นต้น 3. การสวดประเภทตา่ งๆ ของพระสงฆ์ พระสงฆ์เจรญิ พระพทุ ธมนต์ = พระสงฆจ์ ะเจรญิ พระพุทธมนต์ในพิธที ำ� บุญงานมงคล เช่น ทำ� บญุ วนั เกิด ท�ำบญุ ขึ้นบ้านใหม่ ฯลฯ การเจริญพระพุทธมนต์จะสวดพระสูตรหรือพระปริตรซ่ึงเป็นหลักธรรมของพระพุทธเจ้าเพื่อระลึกถึง พระพุทธเจา้ และปดั เป่าภัยตา่ งๆ พระสงฆส์ วดพระพุทธมนต์ = พระสงฆ์จะสวดมนต์ในพธิ ที �ำบุญในงานอวมงคล เช่น ท�ำบญุ อัฐิ หรือท�ำบญุ หนา้ ศพครบ 100 วัน ฯลฯ พระสงฆส์ วดพระอภิธรรม = สวดศพ หรือเรียกว่าการสวดพระอภธิ รรม 7 คมั ภรี ห์ นา้ ศพ ในงานศพ พ ระสงฆ์แสดงพระธรรมเทศนา = พระสงฆ์แสดงธรรมในวันธรรมสวนะ (หรือวันพระ) หรือในวันส�ำคัญทาง พระพทุ ธศาสนาแก่พุทธศาสนิกชนท่เี ข้ารว่ ม 6. วันสำ� คัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี 6.1 วันมาฆบชู า (วันพระธรรม) ตรงกับวนั ขึน้ 15 ค่�ำ เดือน 3 เ ป็นวันที่มีการประชุมสงฆ์คร้ังใหญ่ครั้งแรก มีเหตุการณ์ส�ำคัญ 4 ประการ เรียกว่า “จาตุรงคสันนิบาต” ได้แก่ พระสงฆ์ 1,250 รูป มาประชุมพร้อมกนั โดยมิไดน้ ดั หมาย พระสงฆ์ที่มาประชมุ ล้วนเป็นเอหภิ ิกขุ(พระพุทธเจา้ บวชให้) ท้งั สน้ิ พระสงฆท์ ่ีมาประชมุ ลว้ นเป็นอรหนั ต์ และวนั นน้ั ก็ตรงกบั วันเพ็ญเดือนสาม หรือเดือนมาฆะ ในวันนี้พระพุทธเจา้ ทรงแสดง ธรรมชื่อว่า “โอวาทปาติโมกข์” ทถี่ ือเปน็ หวั ใจของหลักคำ� สอนซึ่งสรปุ รวบยอดไว้ 3 ประการ คือ ทำ� ความดี ละเว้นความชัว่ และทำ� จิตใจให้บรสิ ทุ ธ์ิ ส�ำหรบั การปฏิบัตติ นในวนั นี้ ชาวพุทธควรทำ� บญุ ตักบาตร ไปวัด ฟังเทศน์ ฟังธรรม รักษาศีล รวมทั้ง เวยี นเทียนรอบพระอโุ บสถในตอนกลางคืน 6.2 วันวสิ าขบูชา (วนั พระพุทธ) ตรงกับวนั ขึ้น 15 ค่ำ� เดือน 6 เ ป็นวันคล้ายวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้าที่เกิดข้ึนในวันเดียวกัน แต่ต่างปีกันไป ซ่ึงในวันนี้ พระพุทธเจา้ ทรงตรัสรอู้ รยิ สจั 4 และในวนั ปรนิ ิพพานทรงแสดงปัจฉิมโอวาท หรอื โอวาทครัง้ สดุ ทา้ ย เรอ่ื ง อปั ปมาทธรรม คอื ความไม่ประมาท ซง่ึ การปฏิบัติตวั ของชาวพทุ ธทด่ี ี มลี กั ษณะเชน่ เดียวกบั วนั มาฆบชู า นอกจากนว้ี ันวิสาขบชู ายังถอื เปน็ วันส�ำคญั สากลของโลก ประกาศโดยองคก์ ารสหประชาชาตอิ ีกดว้ ย 6.3 วันอาสาฬหบูชา (วันพระสงฆ์) ตรงกบั วันขึน้ 15 ค่ำ� เดือน 8 เป็นวนั ทม่ี ีพระรตั นตรัยครบสามประการ เนื่องจากเปน็ วันทพ่ี ระพุทธเจา้ ทรงแสดงปฐมเทศนาให้แก่ปญั จวคั คยี ์ ซง่ึ ทำ� ให้เกิดพระสงฆ์รปู แรกในพระพุทธศาสนาดว้ ย ส�ำหรับการปฏิบัตติ วั ของชาวพทุ ธทีด่ ี มลี ักษณะคล้ายกบั วันมาฆบูชาและ วันวิสาขบชู า 6.4 วนั เข้าพรรษา ตรงกับวนั แรม 1 คำ่� เดือน 8 (ถดั จากวันอาสาฬหบูชา 1 วนั ) เปน็ วนั ทพ่ี ระสงฆจ์ ะเรมิ่ ตน้ จำ� พรรษาทว่ี ดั ไมไ่ ปคา้ งแรมทอี่ นื่ เปน็ เวลา 3 เดอื น เนอ่ื งจากในสมยั พทุ ธกาล พระพทุ ธเจา้ บัญ ญัติเร่ืองนี้ไว้เพ่ือมิให้พระสงฆ์ออกไปเหยียบย�่ำข้าวกล้าของชาวบ้านให้ได้รับความเสียหาย แต่ปัจจุบันมีการเพ่ิม วตั ถปุ ระสงคไ์ ปเพอ่ื ใหพ้ ระสงฆม์ เี วลาศกึ ษาพระธรรมวนิ ยั มากขน้ึ ประชาชนนำ� บตุ รหลานมาอปุ สมบทและอยจู่ ำ� พรรษา สำ� หรบั ในวนั เขา้ พรรษาน้ี ประเพณที ช่ี าวพทุ ธทำ� สบื ตอ่ กนั มา คอื การถวายผา้ อาบนำ�้ ฝน หลอ่ เทยี นพรรษา และถวายเทยี นพรรษา ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 17
6.5 วันออกพรรษา ตรงกับวันขึน้ 15 ค�่ำ เดือน 11 เ ป็นวันที่พระสงฆ์สิ้นสุดการอยู่พรรษาครบ 3 เดือน โดยในวันน้ีพระสงฆ์จะท�ำพิธีปวารณา โดยพระสงฆ์ว่ากล่าว ตั กเตอื นซึง่ กันและกนั ในเรื่องของความประพฤตเิ พ่ือนำ� ไปแกไ้ ขปรบั ปรงุ ตนเอง โดยจะไม่มีการถอื โทษโกรธกัน เรียกวันนี้ อีกอยา่ งว่า “วันมหาปวารณา” นอกจากนี้ถัดจากวนั ออกพรรษา 1 วนั ชาวพทุ ธจะ “ตกั บาตรเทโว” หรือเรียกวา่ เทโวโรหณะ เน่ืองจากถือว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จกลับจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์หลังจากไปโปรดพุทธมารดาบนสวรรค์ การตักบาตร เทโวจึงเป็นการตอ้ นรับกลบั 6.6 วนั อัฏฐมีบชู า ตรงกับวันแรม 8 ค่ำ� เดือน 6 (หลังจากวิสาขบูชา 7 วนั ) เปน็ วนั คลา้ ยวันถวายพระเพลงิ พระพทุ ธสรรี ะท่เี มืองกสุ นิ ารา ซึง่ ในประเทศไทยมีวดั เพียงไม่กีว่ ดั ทีจ่ ดั งานในวันน้ี 6.7 วนั ธรรมสวนะ (วันพระ) เป็นวันทชี่ าวพทุ ธมาประชุมพรอ้ มกนั ทว่ี ดั เพือ่ ฟังธรรม ทำ� บุญ รักษาศลี (ศีลอโุ บสถ) ในแต่ละเดือนจะมวี นั พระ 4 วนั คือ วันข้ึนและวนั แรม 8 ค่�ำ วันขึน้ และวันแรม 15 ค่�ำ 6.8 ศาสนพธิ ี = พธิ ีในศาสนา การท�ำบุญตักบาตร คือ การถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ ท่ีพระภิกษุออกบิณฑบาตในตอนเช้า ถือเป็นการท�ำบุญ อยา่ งหนึ่งท่ีชว่ ยใหพ้ ระพุทธศาสนาดำ� รงอยู่ต่อไป ข้อควรปฏบิ ัติ คอื ควรถอดรองเทา้ กอ่ นใสบ่ าตร อย่าชวนพระคยุ อยา่ ใช้ ทพั พเี คาะบาตร อย่าถวายเงินใส่บาตร และควรกรวดนำ้� หลงั ใส่บาตร การถวายภตั ตาหาร คือ การนำ� อาหารมาถวายพระสงฆ์เพ่ือใหพ้ ระฉันม้อื ใดมื้อหนง่ึ โดยสามารถถวายไดท้ ง้ั ท่บี า้ น หรอื ทว่ี ดั กไ็ ด้ เพอ่ื ทำ� นบุ ำ� รงุ ศาสนา ขอ้ หา้ มทคี่ วรรสู้ ำ� หรบั อาหารทจ่ี ะถวายพระ คอื หา้ มถวายของดบิ ๆ หา้ มถวายของทมี่ สี รุ า ผสม และหา้ มถวายอาหารทท่ี ำ� จากเนื้อสตั ว์ทีผ่ ิดธรรมดา เชน่ เน้อื มนษุ ย์ สุนขั เสือ งู ม้า เป็นต้น การถวายสงั ฆทาน คอื การท�ำทาน แด่พระสงฆ์โดยมิไดเ้ จาะจงหรือระบวุ ่าเปน็ พระรปู ใด มที ้ังภตั ตาหารและของใช้ โดยเครอ่ื งสังฆทานหรือเครือ่ งไทยธรรมน้ันประกอบได้หลายชนิด เชน่ น้�ำดม่ื ผา้ อาบนำ�้ ฝน ธูปเทียนบชู า ดอกไม้ เปน็ ตน้ การถวายผา้ อาบนำ้� ฝน คอื ผา้ ส�ำหรับพระสงฆใ์ ช้นุ่งหม่ เวลาอาบน�้ำ ปัจจุบันมักจะถวายในวนั กอ่ นวนั เขา้ พรรษา การถวายเครื่องไทยธรรม คือ สิ่งของเครื่องใช้ เครื่องอปุ โภค ทีป่ ระกอบด้วยปจั จัย 4 ไดแ้ ก่ ภตั ตาหาร เครือ่ งนุง่ ห่ม ขา้ วของเคร่ืองใช้ในการอยอู่ าศยั และยารักษาโรค สว่ นการถวายปจั จยั (เงนิ ) นนั้ ผู้ถวายต้องเขียนใสซ่ องแนบไปใหก้ ับ ศษิ ย์ผู้มากบั พระ การกรวดน�้ำ คือ การแผ่สว่ นกศุ ลแก่ผ้ลู ว่ งลบั ไปแล้ว โดยการรินน�้ำใส่ภาชนะทีร่ องรับและกลา่ วค�ำอธิษฐาน มักจะ กระทำ� หลงั สนิ้ สดุ การทำ� บญุ ถวายทาน เชน่ ทำ� บญุ ตกั บาตร หรอื ถวายสงั ฆทาน ฯลฯ ซงึ่ การกรวดนำ้� นแ้ี สดงถงึ ความกตญั ญู ต่อผ้มู ีพระคุณท่ลี ่วงลบั ไปแล้ว ขอ้ ควรปฏิบัตสิ ำ� หรับการกรวดน�้ำ คือ น�้ำท่ีใชต้ ้องเป็นนำ�้ สะอาด และเมอ่ื เสรจ็ พิธแี ล้วใหน้ �ำ นำ้� ไปเทราดลงบนพื้นหรือใตโ้ คนต้นไม้ การทอดกฐนิ คอื การน�ำผ้ากฐินไปวางต่อหน้าพระสงฆ์อยา่ งนอ้ ย 5 รปู ผ้ากฐินประกอบดว้ ยผา้ ไตรจวี ร ไดแ้ ก่ จีวร ส บง สังฆาฏิ โดยการทอดกฐนิ จะทำ� ภายหลังออกพรรษาเป็นเวลา 1 เดอื น วัดๆ หนึ่งจะรับผา้ กฐนิ ได้เพยี งปลี ะครง้ั เดยี ว พระภกิ ษผุ ไู้ ดร้ บั การถวายผา้ กฐนิ เรยี กวา่ พระผคู้ รองกฐนิ นอกจากผา้ กฐนิ แลว้ ยงั มเี ครอ่ื งบรวิ ารกฐนิ ทเี่ ปน็ เครอ่ื งไทยธรรม และเครอื่ งใชส้ ำ� หรบั พระสงฆ์ เชน่ จาน ชาม ปน่ิ โต หลอดไฟฟา้ ฯลฯ ซงึ่ ทงั้ ผา้ และเครอ่ื งประกอบกฐนิ เรยี กรวมกนั วา่ “เครอ่ื ง กฐนิ ” การทอดผ้าป่า (ผ้าบังสุกุล) หมายถึง ผ้าห่อศพที่ไม่มีเจ้าของ มีคนน�ำมาท้ิงไว้ตามชายป่า ในสมัยพุทธกาลมี พระภกิ ษเุ กบ็ มาซกั ลา้ ง ยอ้ มสแี ละตดั เยบ็ เปน็ ผา้ ไตรจวี ร ในปจั จบุ นั ผา้ ไตรจวี รเปน็ ผา้ ตดั เยบ็ และยอ้ มสพี รอ้ มใชท้ นั ที การทอด ผา้ ปา่ ไมม่ กี ารกำ� จดั ชว่ งเวลา ทำ� ไดต้ ลอดทง้ั ปี ทอดกค่ี รงั้ กไ็ ด้ สว่ นมากจะทำ� ในชว่ งเทศกาล ซง่ึ จะทำ� เปน็ สว่ นตวั หรอื หมคู่ ณะ ทเ่ี รียกวา่ ผ้าปา่ สามัคคี ก็ได้ 18 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
การจดั โตะ๊ หมู่บชู า คอื การจัดทบี่ ชู าพระ เพื่อแสดงความเคารพตอ่ พระพุทธเจ้า มี 2 ลักษณะ คือ การจดั โต๊ะหมู่บูชา ในศาสนพธิ ี และการจดั บชู าพระทบ่ี ้าน สำ� หรับการจัดโต๊ะหมูใ่ นศาสนพธิ ี นิยมจดั โตะ๊ หมู่บูชาโดยมีพระพทุ ธรปู 1 องค์ แจกนั ดอกไม้ 1 คู่ เชิงเทียนอยา่ งนอ้ ย 1 คู่ และกระถางธูป 1 กระถาง เมื่อจดั งานต้องใหพ้ ระสงฆน์ ั่งทางซา้ ยของพระพุทธรปู เสมอและหนั หนา้ ไปทิศเดียวกนั โดยถอื ว่าพระพุทธรปู เป็นประธานในพธิ ี สว่ ยการจดั โตะ๊ หมู่บชู าพระทบี่ ้านก็ตามแตส่ ะดวก การจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย มักจะเป็นช่วงเร่ิมต้นการประกอบพิธีต่างๆ โดยประกอบด้วยสัญลักษณ์แทน พระรัตนตรยั คือ เทียน 2 เล่ม ท่ีใชแ้ ทนพระธรรมและพระวนิ ยั ธูป 3 ดอก แทนพระพทุ ธคุณ 3 ประการ และดอกไม้ แทน พระสงฆ์ โดยการประกอบพธิ ตี อ้ งจดุ เทยี นกอ่ น แล้วจึงจดุ ธปู กอ่ นจะกราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ์ 3 คร้งั ตอ่ จากนั้นจึงเร่ิม ประกอบพธิ ีทางศาสนา การอาราธนาศลี หมายถงึ การเชญิ หรอื นมิ นตพ์ ระสงฆใ์ หศ้ ลี กอ่ นทพี่ ระสงฆจ์ ะสวดมนต์ เทศนห์ รอื ทำ� พธิ กี รรมทาง พุทธศาสนาใดๆ จะต้องเริ่มต้นท่ีอาราธนาศีลกอ่ นเสมอ ขึ้นต้นว่า “มะยงั ภนั เต วิสงุ วิสงุ รักขะนัตถายะ ....” การอาราธนาพระปรติ ร คอื การเชญิ หรอื นมิ นตใ์ หพ้ ระสงฆส์ วดมนตใ์ นบททว่ี า่ ดว้ ยพทุ ธานภุ าพของพระพทุ ธเจา้ เพอื่ สริ มิ งคลแกผ่ รู้ ว่ มพธิ ี การอาราธนาดงั กลา่ วจะใชใ้ นพธิ ที ำ� บญุ เลยี้ งพระทงั้ งานมงคลและงานอวมงคล จะทำ� ตอ่ จากอาราธนา ศีลและสมาทานศลี ข้นึ ต้นวา่ “วปิ ัตติ ปะติพาหายะ....” การอาราธนาธรรม หมายถงึ การเชญิ หรอื นมิ นตใ์ หพ้ ระสงฆแ์ สดงธรรมใหฟ้ งั หรอื ชแี้ นะแนวทางการทำ� ความดตี าม หลกั ธรรมศาสนา ขึ้นตน้ ว่า “พรหมา จะ โลกาธปิ ะตี สะหัมปะต.ิ ..” ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 19
แนวขอ้ สอบ 1. การปฏิบัตติ นของหมอชีวกโกมารภัจจ์สอดคลอ้ งกบั คำ� สอนในขอ้ ใด ก. เอาชนะคนพาลดว้ ยความเพยี ร ข. ใฝเ่ รยี นรศู้ ลิ ปวิทยาอยตู่ ลอดเวลา ค. คบบัณฑติ บัณฑติ พาไปหาผล ง. รู้เขารเู้ รารบร้อยครั้งชนะร้อยครง้ั 2. ขอ้ ใดแสดงความสมั พันธข์ องวันสำ� คญั ทางพระพุทธศาสนากับหลกั ธรรมได้อยา่ งถูกต้อง ก. วันมาฆบชู า-อริยสจั 4 ข. วนั อฏั ฐมีบชู า-ไตรลักษณ์ ค. วนั วสิ าขบูชา-พรหมวหิ าร 4 ง. วันอาสาฬหบูชา-อริยมรรคมีองค์แปด 3. หลกั ค�ำสอนเรือ่ งตรีเอกานภุ าพของครสิ ตศ์ าสนา หมายความวา่ อยา่ งไร ก. พระเปน็ เจา้ ทรงมี 3 องค์ ไดแ้ ก่ พระบดิ า พระบตุ ร และพระจติ ข. พระเปน็ เจา้ ทรงทำ� 3 หน้าที่ ไดแ้ ก่ ผ้สู ร้าง ผู้รักษา และผูท้ �ำลาย ค. พระเปน็ เจ้าทรงมี 3 องค์ ไดแ้ ก่ พระยะโฮวาห์ พระเยซคู รสิ ต์ และพระแมม่ ารี ง. พระเป็นเจ้าทรงมอี งค์เดียว แตม่ ี 3 พระบุคคล ไดแ้ ก่ พระบิดา พระบตุ ร และพระจติ 4. ขอ้ ใดต่อไปนีก้ ล่าวไมถ่ กู ต้อง ก. ชาวมุสลมิ ทกุ คนต้องทำ� ละหมาดวนั ละ 5 ครั้ง ข. ชาวมสุ ลิมจะตอ้ งบรจิ าคซะกาตในอตั ราร้อยละ 2.5 ค. ชาวมุสลิมจะต้องศรัทธาตอ่ อลั ลอฮอ์ งคเ์ ดียวเทา่ น้ัน ง. ชาวมุสลมิ ทกุ คนตอ้ งไปประกอบพธิ ฮี จั ญ์ปีละ 1 ครงั้ 5. บุคคลใดตอ่ ไปนี้ปฏิบัตติ ามหลักธรรมพรหมวิหาร 4 ก. ผกามาศอดทนไมโ่ ต้ตอบเพ่ือนทีช่ อบกล่ันแกลง้ ตน ข. บุปผาเหน็ สุนัขจรจดั ถูกรถเฉ่ยี วบาดเจบ็ จึงอ้มุ ไปหาสัตวแพทย์ ค. บุษบาขยันหมน่ั เพียรในการเรยี น เพือ่ ให้สอบเขา้ มหาวทิ ยาลยั ได้ ง. บุษบงเห็นกระเปา๋ สตางคต์ กอยู่ แม้จะไมม่ ีใครอย่แู ถวนน้ั แต่กน็ ำ� ไปส่งต�ำรวจ 6. ไอยเรศมอี ายลุ ่วงเข้าสู่วัยชรา มีความปรารถนาจะบรรลโุ มกษะ จงึ สละการครองเรือน แล้วออกบวชถอื เพศพรหมจรรย์ ตลอดชีวติ ไอยเรศก�ำลงั ปฏิบัตติ ามข้นั ตอนใดของหลกั ธรรมอาศรม 4 ในศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู ก. พรหมจารีย ์ ข. คฤหสั ถ์ ค. วานปรัสถ ์ ง. สันยาสี 20 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
7. พิธีศีลศกั ด์สิ ิทธ์ขิ อ้ ใดของคริสต์ศาสนาท่กี ระท�ำเพอื่ ระลกึ ถงึ ชวี ิตและคำ� สอนของพระเยซคู รสิ ต์ ก. พธิ ศี ลี ก�ำลัง ข. พธิ ีศีลแก้บาป ค . พธิ ศี ีลอนกุ รม ง. พิธีศีลมหาสนิท 8. ขันธ์ 5 มีความสำ� คัญต่อมนุษย์เราอยา่ งไร ข. ชว่ ยปกป้องมใิ ห้สงั ขารเส่ือม ก. ชว่ ยให้ร่างกายด�ำรงอย่ไู ด ้ ง. เป็นองค์ประกอบของชีวิต ค. สรา้ งการรับรู้ทางประสาท 9. วนั ปวารณาในทางพุทธศาสนาหมายถึงวันอะไร ก. วนั ที่ห้ามมิใหพ้ ระสงฆ์ไปค้างแรมในทอ่ี นื่ ข. วนั ที่เปดิ โอกาสใหพ้ ระสงฆ์ตกั เตอื นกันได้ ค. วนั ทเ่ี ปิดโอกาสให้พระสงฆ์ใช้ผา้ อาบน�้ำผนื ใหม่ได้ ง. วนั ทเี่ ปิดโอกาสให้พทุ ธศาสนกิ ชนมีการท�ำบญุ พเิ ศษ 10. การวิเคราะห์ขอ้ มลู จัดอย่ใู นการพัฒนาปัญญาที่เรยี กว่าอะไร ก. สตุ มยปญั ญา ข. จินตามยปัญญา ค . ภาวนามยปญั ญา ง. วจิ ารณญาณมยปญั ญา 11. ค�ำกลา่ วเกีย่ วกบั หลกั ธรรมในขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ กู ตอ้ ง ก. อิทธิบาท 4 คือ คุณธรรมที่ท�ำให้พน้ ทกุ ข์ ข . เบญจธรรม คอื ธรรมอันดงี าม 5 ประการ ค. เบญจศลี คอื การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ง. พละ 5 คือ หลักธรรมทีช่ ว่ ยใหท้ �ำงานส�ำเร็จ 12. จุดมุ่งหมายสูงสดุ ของศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดคู อื อะไร ก. นิพพาน ข. อาณาจักรพระเจา้ ค. เขา้ ถงึ พระอลั ลอฮ ์ ง. โมกษะ 13. คมั ภรี ์ของศาสนาพุทธมชี อ่ื ว่าอะไร ข .อลั กลุ อาน ก. พระเวท ง. ไบเบิล ค. พระไตรปิฎก 14. ศาสนาใดมีความเกา่ แก่น้อยสุด ก. พราหมณ์ ข. อิสลาม ค. พทุ ธ ง. ครสิ ต์ ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 21
15. หลักปฏบิ ตั ิ 5 ขอ้ ใดทีย่ กเว้นให้ไม่ต้องทำ� ก็ได้ ข. ละหมาด ก. ปฏญิ าณตน ง. ถอื ศีลอด ค. พธิ ีฮจั ญ์ เฉลยแนวขอ้ สอบ 2. ค. 3. ง. 4. ง. 5. ข. 7. ง. 8. ข. 9 . ข. 10. ก. 1. ก. 12. ง. 13. ค. 14. ข. 15. ค. 6. ง. 11. ค. นอ้ งๆ สามารถศึกษาเพม่ิ เตมิ ได้ที่ Tag : สอนศาสตร์, สังคมศึกษา, ศาสนา, ศาสนาพทุ ธ, ศาสนาครสิ ต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนาพราหมณ์-ฮินด,ู ความหลาก หลายทางศาสนา • 16 : หยอดหวั ใจใส่ทุกศาสนา http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch1-1 • 22 : น่ังทบทวน...กวนข้อสอบศาสนา http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch1-2 • สงั คมศกึ ษา ม.ต้น เร่อื ง ศาสนา ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch1-3 • สังคมศกึ ษา ม.ต้น เร่ือง ศาสนา ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch1-4 • ศาสดาของศาสนาตา่ งๆ http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch1-5 • วันสำ� คญั ต่างๆ ทางศาสนา-วนั อาสาฬหบชู า http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch1-6 • วันสำ� คญั ตา่ งๆทางศาสนา-วนั มาฆบูชา http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch1-7 22 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
• วันส�ำคญั ต่างๆทางศาสนา-วิสาขบูชา http://www.trueplookpanya.com/book/ m3/onet-social/ch1-8 • พทุ ธประวตั ิ http://www.trueplookpanya.com/book/ m3/onet-social/ch1-9 • มารยาทของชาวพทุ ธและการปฏบิ ตั ิ ตนตอ่ พระภิกษุ http://www.trueplookpanya.com/book/ m3/onet-social/ch1-10 บนั ทึกชว่ ยจำ� ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 23
บทท2่ี สาระ: หนา้ ทพี่ ลเมอื ง วฒั นธรรมและการดำ� เนนิ ชวี ติ วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมเป็ นส่ิงท่ีแสดงถึงความเจริญ ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความเจริญก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของ ประชาชน วัฒนธรรมมีความส�ำคัญอย่างมาก ในการแสดงถงึ ความเจริญของมนุษย์ เชน่ การแต่งกายชุดนักเรียนให้ถกู ระเบียบ เปน็ ต้น และยังชว่ ยสร้างมนษุ ย์ใหส้ มบูรณ์ เชน่ การเขา้ แถวให้เป็นระเบยี บ นอกจากนวี้ ฒั นธรรมเปน็ สิง่ ทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนา เชน่ ภาษาพูด และท่สี �ำคัญท่ีสดุ คอื วัฒนธรรมเปน็ เอกลักษณข์ องชาติ ทำ� ให้รสู้ ึกเปน็ พวกเดียวกนั เกดิ ความรกั ความสามคั คี ทม่ี า : นรเทพ วจิ ติ ต์โภคิน , ส�ำนกั งานสง่ เสรมิ สงั คมแห่งการเรยี นรู้และคณุ ภาพ เยาวชน (สสค.) ประเภทของวัฒนธรรม 1. วัฒนธรรมทางภาษาและวรรณคดี ได้แก่ ภาษา วรรณกรรม 2. วฒั นธรรมทางวตั ถุ ไดแ้ ก่ อาหาร บ้าน เส้ือผ้า ยา 3. วฒั นธรรมทางจิตใจ ไดแ้ ก่ ศาสนา ศีลธรรม 4. วฒั นธรรมทางจารีตประเพณี ไดแ้ ก่ ประเพณีสงกรานต์ กรยิ ามารยาท 5. วัฒนธรรมทางสุนทรยี ะ ไดแ้ ก่ จติ รกรรม ประตมิ ากรรม ดรุ ิยางคศลิ ป์ นาฏศิลป์ ลักษณะของวฒั นธรรมไทย วัฒนธรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกับพระมหากษัตริย์ เน้นความจงรกั ภักดี เคารพ เทิดทนู การนง่ั เฝ้ารอรบั เสดจ็ ฯ การติด พระบรมฉายาลกั ษณ์ไวต้ ามบ้านเรือน 24 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
วฒั นธรรมทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ศาสนา จะมปี ระเพณแี ละวฒั นธรรมทางศาสนาของตน ชาวพทุ ธมกั จะทำ� บญุ ตกั บาตร ฟงั เทศน์ ฟงั ธรรม ชาวคริสตจ์ ะมพี ธิ ีลา้ งบาป พธิ ีมสิ ซาในโบสถ์ ชาวมสุ ลิมจะมีประเพณีการเกิด การท�ำขวญั หลังคลอด เปน็ ตน้ วัฒนธรรมท่ีเกีย่ วกบั อาชีพ พบมากในอาชพี เกษตรกรรม เชน่ ประเพณลี งแขกเก่ียวข้าว ประเพณีการทำ� ขวญั ขา้ ว การบูชาพระแมโ่ พสพ เพื่อใหข้ า้ วในนาอุดมสมบรู ณ์ เป็นตน้ วฒั นธรรมทย่ี ึดถือญาติและผ้อู าวุโส เชน่ พธิ ีรดน�้ำดำ� หัวญาตผิ ู้ใหญแ่ ละผู้อาวุโส วัฒนธรรมท่ีนิยมความสนุกสนาน เพราะคนไทยมีนิสัยรักสนุก มีการละเล่นพื้นบ้านที่สนุกสนาน เพ่ือผ่อนคลาย ความเหนด็ เหนอื่ ยจากการทำ� งาน เชน่ เพลงฉอ่ ย ลำ� ตัด เปน็ ตน้ วฒั นธรรมท่ผี สมผสานกบั วัฒนธรรมอนิ เดยี จนี และตะวันตก ภมู ิปญั ญาไทย ภูมปิ ญั ญา คอื ความรู้ ความสามารถ และทักษะตา่ งๆ ท่ไี ดจ้ ากการสั่งสมประสบการณ์และผ่านกระบวนการเรียนรู้ และมี การถา่ ยทอดสืบต่อๆ กันมาเปน็ ระยะเวลายาวนาน ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ คอื ความรทู้ กุ สง่ิ ทกุ อยา่ งทชี่ าวบา้ นคดิ ไดเ้ อง เพอื่ นำ� มาใชแ้ กไ้ ขปญั หาในการประกอบอาชพี หรอื การดำ� เนนิ ชีวติ ประจ�ำวนั ภมู ปิ ญั ญาไทยเปน็ ภมู ปิ ญั ญาทพ่ี ฒั นาการมาจากการประกอบอาชพี ของเกษตรกรไทย และนำ� หลกั คำ� สอนในพระพทุ ธศาสนา มาประยกุ ตใ์ ช้กับวิถีชีวติ ของคนไทย ช่วยสร้างความภาคภมู ิใจแก่คนไทย พฒั นาทรัพยากรบุคคลใหม้ ีคณุ ภาพ และสร้างความสมดลุ ระหวา่ งมนษุ ย์กับธรรมชาตไิ ด้อย่างย่ังยนื ทม่ี า : Neriga Yakaew , สำ� นกั งานส่งเสริมสงั คมแหง่ การเรียนรูแ้ ละคุณภาพเยาวชน (สสค.) ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 25
ประเภทของภมู ิปัญญาไทย 1. ดา้ นเกษตรกรรม เช่น การทำ� เกษตรแบบผสมผสาน 2. ด้านอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม เช่น จกั สาน แกะสลัก ท�ำโอง่ กระถางต้นไม้ 3. ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย เชน่ การนวดแผนโบราณ การใชส้ มุนไพร การท�ำคลอด 4. ดา้ นโภชนาการ เชน่ ตม้ ยำ� ก้งุ ผัดไทย แกงเขยี วหวาน 5. ด้านศลิ ปกรรม เชน่ วดั พระพุทธรปู ลเิ ก วงป่ีพาทย์ จติ รกรรมฝาผนงั 6. ดา้ นภาษาและวรรณกรรม เช่น นทิ านพน้ื บา้ น ภาษาทอ้ งถน่ิ 7. ด้านปรัชญา ศาสนา และประเพณี เช่น ประเพณบี ญุ ประทายขา้ วเปลือก 8. ด้านการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม เช่น ปลูกปา่ ปะการังเทยี ม 9. ดา้ นกองทนุ และธรุ กจิ ชมุ ชน เช่น สหกรณ์ กองทนุ สวัสดกิ าร การอนุรกั ษ์วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนรุ ักษ์ คอื การรักษาและสบื ทอดใหค้ งอยู่ต่อไป โดยสร้างจติ สำ� นกึ ใหป้ ระชาชนตระหนักถงึ คุณค่าและความ สำ� คัญ โดยส่งเสรมิ ให้ประชาชนในทอ้ งถน่ิ หรอื ชุมชนมสี ่วนร่วม การพฒั นา คอื การปรบั ปรงุ และพฒั นาภมู ปิ ญั ญาไทยใหเ้ หมาะสมกบั ยคุ สมยั โดยสามารถนำ� มาใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ และประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกจิ สถาบันทางสังคม สถาบันทางสงั คม คอื แบบแผนการปฏิบัตอิ ย่างเป็นระบบ เพอ่ื ช่วยในการด�ำเนินกจิ กรรมของมนษุ ย์ มลี ักษณะ เปน็ กลมุ่ คนทมี่ หี นา้ ทหี่ รอื กค็ อื สง่ิ ทจี่ ะตอ้ งทำ� ใหไ้ ด้ จงึ จดั เปน็ สถาบนั ทางสงั คม เพอื่ ใหม้ แี นวทางในการปฏบิ ตั ริ ว่ มกนั รวมถงึ การมีสญั ลกั ษณแ์ ละค่านิยมในการศรทั ธา สถาบันทางสังคม กลุ่มสังคม หนา้ ที่ 1.) ครอบครัว บิดา มารดา บตุ ร และญาตทิ ่ี 1. ผลิตสมาชกิ ใหม่ให้กบั สังคม 1.1) ครอบครวั เดย่ี ว สัมพนั ธเ์ กย่ี วขอ้ งโดยสายโลหติ 2. เลย้ี งดสู มาชิกใหมใ่ ห้มชี วี ติ รอด 1.2) ครอบครัวขยาย สมรสหรือการเปน็ บตุ รบญุ ธรรม 3. ถ่ายทอดวัฒนธรรมใหส้ มาชิกใหม่ 2.) การศกึ ษา โรงเรยี น มหาวทิ ยาลยั โดยกลุม่ 1. ถา่ ยทอดวฒั นธรรม ทกั ษะที่จ�ำเปน็ สังคมน้จี ะมสี ถานภาพเป็น ครู 2. ผลติ แรงงานในทางเศรษฐกจิ หรอื อาจารย์ เป็นตน้ 3. สร้างกลุ่มเพื่อนใหก้ บั สมาชกิ 3.) ศาสนา ศาสนสถาน โดยกลุ่มสังคมนี้จะมี 1. ตอบสนองความต้องการด้านจิตใจ สถานภาพเปน็ พระสงฆ์ นกั บวช 2. ควบคุมให้ปฏิบัติตามบรรทัดฐาน เปน็ ตน้ 26 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
สถาบันทางสงั คม กลมุ่ สังคม หน้าท่ี 4.) เศรษฐกจิ บรษิ ทั หา้ งรา้ น โรงงาน โดยกลุ่ม 1. ผลิตสนิ ค้าและบริการสสู่ มาชกิ สังคมน้จี ะมีสถานภาพเปน็ 2. เปน็ สิ่งที่กำ� หนดชนชั้นในสงั คม ผู้จัดการ หรือพอ่ คา้ เปน็ ตน้ 3. เปน็ พ้นื อำ� นาจทางการเมอื ง สภานติ ิบัญญตั ิ ศาล ฯลฯ โดย 1. ควบคุมความสงบเรยี บร้อย 5.) การเมอื งการปกครอง กลุม่ สังคมน้ีจะมสี ถานภาพเปน็ 2. สรา้ งระเบียบกฎเกณฑใ์ หก้ ับสังคม 3. วนิ ิจฉยั ข้อขัดแยง้ ของสมาชกิ ส.ส. หรือผพู้ ิพากษา เป็นต้น 6.) นันทนาการ สโมสร ชมรม โดยกลุ่มสังคมนี้ 1. ผ่อนคลายและเสรมิ สรา้ งสุขภาพ จะมีสถานภาพเปน็ นกั กีฬา 2. เสรมิ สรา้ งทักษะ เชน่ การฝกึ กฬี า นกั รอ้ ง เป็นต้น 3. สงั่ สอนระเบยี บแบบแผน เชน่ กติกา 7.) ส่ือสารมวลชน นักข่าว ผ้รู บั สาร 1. ใหข้ า่ วสาร ความบันเทงิ แก่มวลชน 2. เป็นสือ่ กลางในการตดิ ตอ่ สมาชิก สถาบันครอบครัว เปน็ สถาบนั ของกล่มุ คนทป่ี ระกอบด้วย บดิ า มารดา บุตร ญาติ คสู่ มรส หรือบตุ รบญุ ธรรม มหี นา้ ทใี่ นการผลติ สมาชกิ ใหมใ่ หก้ บั สงั คม เลย้ี งดใู หม้ ชี วี ติ รอด และถา่ ยทอดวฒั นธรรมใหส้ มาชกิ ใหม่ สถาบนั ครอบครวั เปน็ สถาบนั ทเ่ี กา่ แกท่ ส่ี ดุ และเปน็ พน้ื ฐานของสถาบนั อนื่ เนอื่ งจากปรากฏใหเ้ หน็ ไดใ้ นทกุ สงั คม ทำ� ใหส้ ถาบนั ครอบครวั เปน็ สถาบนั สากล สถานภาพทางสงั คมและบทบาททางสังคม สถานภาพทางสังคม คอื ฐานะหรอื ต�ำแหนง่ ท่บี ุคคลได้รับจากการเปน็ สมาชิกในสังคม แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ลักษณะ 1. สถานภาพโดยกำ� เนดิ เชน่ เพศ เชอื้ ชาติ ถิน่ ก�ำเนิด บุตร หลาน นอ้ งชาย เป็นต้น 2. สถานภาพโดยการกระท�ำของบคุ คล เช่น อาชพี การศกึ ษา บดิ า สามี เป็นตน้ บทบาททางสงั คม คอื การปฏบิ ตั ติ นตามสทิ ธิ หนา้ ที่ ตามสถานภาพของตน โดยบทบาทจะชว่ ยใหท้ ราบวา่ เราควร ท�ำหน้าท่ีอะไรบ้างในสังคม บทบาทอาจแตกต่างกันไปตามสังคมหนึ่งๆ บทบาทจะแสดงฝ่ายเดียวไม่ได้ บทบาททางสังคม บางอยา่ งมักมปี ัญหาทต่ี ามมา เชน่ บุคลกิ ภาพไมเ่ หมาะสมกับบทบาท การละเมดิ บทบาท การกระท�ำทีแ่ ตกตา่ งจากบทบาท ตามปกติ การมแี ตส่ ถานภาพแต่ไมม่ ีบทบาท บคุ คลหนง่ึ จะตอ้ งมอี ยา่ งนอ้ ยหนงึ่ สถานภาพ และบคุ คลหนงึ่ อาจมมี ากกวา่ หนง่ึ สถานภาพกไ็ ด้ แตบ่ คุ คลคนเดยี วอยู่ คนเดียวมีสถานภาพทางสังคมไม่ได้ และสถานภาพอย่างอายุเป็นสถานภาพที่ต่อเนื่อง ซ่ึงสถานภาพจะบ่งบอกถึงบทบาท เสมอ แต่บางสถานการณอ์ าจมีบทบาทแตไ่ มม่ สี ถานภาพกไ็ ด้ การมีหลายสถานภาพกอ่ ใหเ้ กดิ หลายบทบาท และอาจก่อให้ เกิดบทบาททขี่ ัดแยง้ กนั ได้ สถานภาพทางสังคมและบทบาททางสังคม ชว่ ยท�ำให้สมาชิกในสังคมปฏิบตั ติ วั ไดเ้ หมาะสม เมือ่ ตอ้ งตดิ ตอ่ สมั พันธ์ กบั ผอู้ น่ื กำ� หนดหนา้ ทีค่ วามรับผดิ ชอบผ่านสถานภาพของตน ทำ� ให้สังคมเกดิ ความเปน็ ระเบียบ ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 27
สังคมไทย สังคมไทยมีลักษณะเป็นพหุสังคม คือ การมีวัฒนธรรมที่ผสมผสานอย่างหลากหลาย สังคมไทยสมัยโบราณได้รับอิทธิพล จากธรรมชาตแิ ละศาสนาเปน็ ส่วนใหญ่ เชน่ นบั ถือพระพุทธศาสนา และยึดมน่ั ในสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ เป็นตน้ แตใ่ นปจั จบุ นั น้ี สงั คม ไทยได้รับอิทธิพลจากต่างชาติเป็นอย่างมาก ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศประกอบอาชีพเกษตรกรรม การศึกษาค่อนข้างต�่ำ และ อาศัยอยู่ในชนบท มีการรวมความเจริญและอ�ำนาจไว้ท่ีศูนย์กลาง สังคมไทยเป็นสังคมระบบอุปถัมภ์ มีโครงสร้างแบบหลวมๆ เปล่ียนแปลงรวดเรว็ เพราะอิทธิพลของทุนนยิ มและกระแสของโลกาภิวตั น์ สงั คมไทยมคี า่ นยิ มทรี่ กั สงบ รกั อสิ ระเสรี มคี วามกตญั ญู ขเ้ี กรงใจ มกั นอ้ ย รจู้ กั เคารพ ผอู้ าวโุ ส มคี วามประนปี ระนอม เออื้ เฟอ้ื เพ่อื แผ่ ชอบความสนุกสนาน และใหญโ่ ตโออ่ า่ สังคมเมอื งจะมลี ักษณะเปน็ ครอบครวั เดย่ี ว มีเพยี งพ่อ แม่ และลูก มกี ารประกอบอาชพี ท่ีหลากหลาย มคี วามสัมพนั ธแ์ บบ เป็นรูปนัย (เป็นทางการ) มีลักษณะชุมชนขนาดใหญ่ ประชากรหนาแน่นและหลากหลาย มีความแตกต่างทางรายได้ค่อนข้างสูงมี วัฒนธรรมหลากหลาย พร้อมรบั กบั การเปลย่ี นแปลงทางวัฒนธรรมอย่ตู ลอดเวลา สังคมชนบทจะมีลักษณะเป็นครอบครัวขยายอยรู่ วมกบั ญาติพน่ี ้อง สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มคี วามสมั พนั ธ์แบบ เปน็ อรปู นยั (ไมเ่ ปน็ ทางการ) ใกลช้ ดิ สนทิ สนมกนั มลี กั ษณะเปน็ ชมุ ชนขนาดเลก็ ประชากรเบาบางและไมห่ ลากหลาย มรี ายไดใ้ กลเ้ คยี งกนั และยึดมน่ั ในวฒั นธรรมเดมิ ปญั หาสังคม ปญั หาสงั คม คอื ภาวะทเี่ กิดข้ึนในสงั คม โดยสมาชกิ สว่ นใหญเ่ หน็ วา่ เป็นปัญหาท่ีจะต้องแกไ้ ข เกยี่ วข้องกบั ความต้องการ ข้นั มูลฐานของประชาชน กระทบกบั คนสว่ นใหญ่ สาเหตขุ องปญั หาสงั คม เชน่ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมจากสงั คมชนบทเปน็ สงั คมเมอื ง ระเบยี บแบบแผนเกา่ ๆ ไมส่ อดคลอ้ ง กบั ความคดิ ท่ีเปลย่ี นไปของคนในสงั คมปจั จุบนั บคุ ลิกภาพส่วนบุคคลท่ีชอบความรนุ แรงหรอื วกิ ลจริต ปัญหาสังคมที่ส�ำคัญของไทย คือ ความยากจน ความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายรายได้ จนน�ำไปสู่ปัญหายาเสพติด การก่ออาชญากรรม ไปจนถงึ การคอร์รัปชัน่ และปัญหาต่างๆ 28 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
รฐั ศาสตร์ ระบอบประชาธิปไตย ระบอบประชาธิปไตย คือ การปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพ่ือประชาชน ตามค�ำกล่าวของ อับราฮัม ลนิ คอรน์ อดีตประธานาธิบดีสหรฐั อเมรกิ า ร ะบอบประชาธิปไตยเช่อื วา่ 1. เชอ่ื ว่ามนุษยม์ สี ติปัญญา และเหตุผล 2. เช่ือในหลกั เสมอภาค คอื ทกุ คนมีศักด์ศิ รคี วามเป็นมนุษย์เท่าเทียมกนั 3. เชอื่ ในหลกั เสรีภาพ คือ อสิ ระท่จี ะท�ำอะไรกไ็ ด้ แต่ตอ้ งถูกกฎหมายและศีลธรรม 4. เชอ่ื ในหลกั นิตธิ รรม คือ กฎหมายเปน็ หลักในการปกครอง เพอื่ คุ้มครองประชาชน 5. หวั ใจของประชาธปิ ไตย คือ การปกครองโดยประชาชน 6. ทำ� ตามเสียงขา้ งมาก แต่ไมล่ ะเมดิ เสียงข้างน้อย 7. ประชาธิปไตยมกั จะมรี ฐั ธรรมนญู พรรคการเมอื ง การเลือกต้ัง 8. ประชาธปิ ไตยจะไดผ้ ล ถ้าคนมีการศึกษาและค่านยิ มทด่ี ี 9. ประชาธิปไตยมีข้อดีที่ให้เสรีภาพมาก และใช้เหตุผล 10. แตม่ ีขอ้ เสียท่ีคา่ ใชจ้ า่ ยสูง และตอ้ งใชเ้ วลาในการตัดสนิ ใจนาน รปู แบบการปกครองประชาธิปไตย ระบบรฐั สภา ฝา่ ยนติ บิ ัญญัติ มหี นา้ ทีอ่ อกกฎหมาย และควบคมุ รัฐบาล การควบคุมรัฐบาลอาจทำ� ได้โดยให้รัฐบาลแถลงนโยบาย ก่อนดำ� รงต�ำแหนง่ การตั้งกระทู้ถาม การขอเปดิ อภิปรายท่ัวไป เพอ่ื ลงมติไม่ไวว้ างใจ ฝา่ ยบริหาร มหี นา้ ท่บี ริหารงานภายใต้ความไว้วางใจจากรัฐสภา และสามารถยุบสภาเพือ่ เลือกต้ังใหม่ได้ ระบบน้จี งึ เป็นระบบที่มถี ว่ งดุลอ�ำนาจอธปิ ไตยซ่งึ กันและกัน ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 29
ระบบประธานาธิบดี ร ะบบน้ีให้ประชาชนเลือกประธานาธิบดี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบน้ีจึงไม่มีการอภิปรายเพ่ือลงมติไม่ไว้ วางใจหรอื ยุบสภาได้ จึงท�ำให้ฝ่ายนติ บิ ัญญัตแิ ละฝ่ายบริหารของระบบมคี วามเปน็ อสิ ระจากกนั ระบบกึง่ รฐั สภากึ่งประธานาธบิ ดี ระบบนีม้ ีทั้งประธานาธิบดี และนายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดเี ปน็ หัวหนา้ รฐั บาล เลือกคณะรัฐมนตรี และมีสิทธิยบุ สภาได้ แตน่ ายกรัฐมนตรีจะคอยรับผดิ ชอบตอ่ รฐั สภาแทน ระบอบเผด็จการ เปน็ ระบอบทเ่ี นน้ การใช้อำ� นาจ โดยกลุ่มผ้นู ำ� ประชาชนต้องเช่อื ฟงั และปฏิบัติตามค�ำส่งั ของรฐั ผู้เดียว ซึง่ สามารถ แบง่ ประเภทออกได้เป็น 2 ประเภท คอื - เผด็จการอ�ำนาจนิยม จะควบคมุ เฉพาะกิจการดา้ นการเมอื งเทา่ น้ัน - เผดจ็ การเบ็ดเสรจ็ นยิ ม จะควบคุมประชาชนทุกดา้ น และเนน้ ท�ำลายระบบนายทุน เศรษฐกจิ กับการเมอื ง ในสงั คมโลกมลี ักษณะของเศรษฐกิจท่ีแตกต่างกนั ออกไปตามลกั ษณะของการปกครอง ดงั นี้ - ระบบทนุ นยิ ม เปน็ ระบบท่ีรัฐจะไม่เขา้ มายงุ่ กับระบบ ใหร้ ะบบเปน็ ไปได้อยา่ งเสรี - ระบบสังคมนยิ ม เป็นระบบท่รี ัฐจะเข้ามาจัดการกจิ การท้งั หมด การเมืองการปกครองของประเทศไทยในปัจจุบนั รูปแบบรฐั เปน็ รฐั เดย่ี ว เพราะมีรฐั บาลเดยี วในการบรหิ ารปกครองประเทศ ป ระมุขรัฐ เป็นพระมหากษัตริย์ คือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงเป็นผู้ใช้อ�ำนาจ อธปิ ไตย ทรงเปน็ จอมทพั ไทย ทรงเปน็ ทเ่ี คารพสกั การะ ผใู้ ดจะละเมดิ ไมไ่ ด้ ทรงอยเู่ หนอื การเมอื ง โดยมกี ารกำ� หนดตำ� แหนง่ ผรู้ บั สนองพระบรมราชโองการ เพอ่ื รบั ผดิ ชอบแทน ทรงเปน็ กลางทางการเมอื ง ทรงเปน็ องคอ์ ปุ ถมั ภท์ กุ ศาสนา และยงั ทรง เป็นพุทธมามะกะ ทรงแต่งต้ังผู้ส�ำเร็จราชการแผ่นดินและแก้กฎมณเฑียรบาล ว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ทรงยับยั้ง กฎหมายได้ ทรงแตง่ ตง้ั คณะองคมนตรี และขา้ ในพระองค์ตามพระราชอัธยาศัย ทรงเปน็ ศูนยร์ วมจติ ใจของประชาชน รฐั สภา ประกอบดว้ ยสภาผูแ้ ทนราษฎร และวฒุ สิ ภา สภาผ้แู ทนราษฎร มสี มาชิกจำ� นวน 500 คน มาจากการเลือกต้งั แบบแบ่งเขต 375 คน แบบบัญชรี ายช่ือ 125 คน มสี ญั ชาตไิ ทยโดยการ เกดิ อายุอย่างน้อย 25 ปี ต้องสังกดั พรรคการเมอื งเดียวติดตอ่ กันอย่างน้อย 90 วนั มีวาระการดำ� รงตำ� แหนง่ 4 ปี การศกึ ษา ข้นั ต�่ำไม่ก�ำหนด มหี น้าท่ี เสนอและพจิ ารณากฎหมาย คดั เลือกนายกรัฐมนตรี และรบั รองรฐั บาล ควบคุมรัฐบาล โดยมีสทิ ธิ เปดิ อภิปรายและลงมติไมไ่ ว้วางใจ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นประธานรัฐสภา โดยตำ� แหนง่ 30 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
วุฒสิ ภา มสี มาชกิ จำ� นวน 150 คน มาจากการเลอื กตงั้ จงั หวดั ละ 1 คน โดยสว่ นทเี่ หลอื มาจากการสรรหาเพอื่ ใหค้ รบตามจำ� นวน มสี ัญชาติไทยโดยการเกดิ อายุอยา่ งน้อย 40 ปี ไมต่ อ้ งสงั กัดพรรคการเมือง มวี าระการดำ� รงตำ� แหนง่ 6 ปี และหา้ มเป็น ตดิ ตอ่ กนั เกนิ 1 วาระ การศกึ ษาขน้ั ตำ�่ ตอ้ งจบปรญิ ญาตรี มหี นา้ ทกี่ ลนั่ กรองกฎหมาย และแตง่ ตงั้ บคุ คลดำ� รงตำ� แหนง่ สำ� คญั ๆ เชน่ ศาล กกต. ป.ป.ช. มีหนา้ ท่ีถอดถอนผดู้ ำ� รงตำ� แหน่งทางการเมืองระดับสงู เช่น นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรี สมาชิกสภา กกต. ป.ป.ช. สมาชิกวุฒิสภาสามารถขอเปิดอภิปรายท่ัวไปเพ่ือให้รัฐมนตรีชี้แจงข้อเท็จจริง โดยไม่มีการลงมติไม่ไว้วางใจ ประธานวฒุ ิสภา เปน็ รองประธานรัฐสภา โดยตำ� แหน่ง คณะรัฐมนตรี ประกอบดว้ ยนายกรฐั มนตรี 1 คน และรัฐมนตรีไม่เกิน 35 คน นายกรัฐมนตรตี อ้ งมาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้ แทนราษฎร และหา้ มดำ� รงตำ� แหน่งติดต่อกนั เกิน 8 ปี มีอ�ำนาจหนา้ ที่ บริหารงานแผน่ ดินโดย เสนอรา่ งพระราชบญั ญตั ิ ตรา พระราชก�ำหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง แตง่ ตัง้ หรือถอดถอนข้าราชการฝา่ ยทหาร และฝ่ายพลเรือน ประกาศกฎ อยั การศกึ ประกาศสงคราม ทำ� หนงั สอื สญั ญากับต่างประเทศ ศาล แบ่งออกได้ดงั น้ี ศาลยุตธิ รรม มี 3 ล�ำดบั คอื ศาลช้ันตน้ ศาลอทุ ธรณ์ และศาลฎกี า ท�ำหน้าทต่ี ัดสินคดที วั่ ไป ทง้ั ทางแพง่ และอาญา ศาลปกครอง แบง่ ออกเปน็ ศาลปกครองชนั้ ตน้ กบั ศาลปกครองสงู สดุ พจิ ารณาคดรี ะหวา่ งประชาชนกบั เจา้ หนา้ ทรี่ ฐั ศาลรฐั ธรรมนูญ ท�ำหน้าทีต่ ดั สินว่า รา่ งกฎหมายใดๆ ขัดต่อกฎหมายรฐั ธรรมนญู ศาลทหาร ทำ� หนา้ ท่ีตัดสินขอ้ พพิ าทระหว่างทหาร องคก์ รอสิ ระ ท�ำหนา้ ทีค่ อยตรวจสอบอำ� นาจรฐั มี 4 องคก์ ร ไดแ้ ก่ 1. คณะกรรมการการเลอื กตง้ั 2. คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ 3. คณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดนิ 4. ผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ องคก์ รอ่นื ตามรฐั ธรรมนูญ ท�ำหน้าทคี่ อยให้คำ� ปรกึ ษารัฐบาลในเรือ่ งเฉพาะด้าน มี 3 องคก์ ร ได้แก่ 1. คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแห่งชาติ 2. สภาท่ีปรึกษาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 3. องค์กรอัยการ กฎหมาย ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 31
กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบงั คับหรอื กฎเกณฑ์ บรรทดั ฐานทรี่ ฐั หรอื สงั คมนั้นๆ ก�ำหนดเพอื่ ควบคุมพฤติกรรมของประชาชนหรือคนใน สังคมให้ปฏบิ ตั ติ าม เพือ่ ใหส้ ังคมมคี วามเป็นระเบียบเรยี บร้อย หากกระทำ� ผิดกฎหมายกจ็ ะต้องได้รบั การลงโทษ กฎหมายมาจากไหน ? มคี ำ� กล่าววา่ “ทใ่ี ดมีสังคม ท่ีนน่ั ต้องมีกฎหมาย” เมื่อผคู้ นมาอยรู่ ่วมกนั เปน็ กลมุ่ จึงตอ้ งมกี ารต้งั กฎเกณฑ์ บรรทดั ฐานของ สังคมน้ันข้ึนมาเพื่อให้สังคมมีความสงบเรียบร้อย กฎหมายจึงเป็นส่ิงที่ท�ำให้สังคมสงบสุข และสังคมจะมีความสงบสุขได้ก็ต่อเม่ือ กฎหมายนนั้ มีความ “เป็นธรรม” เราสามารถแบ่งทม่ี าของกฎหมายได้เป็นสองประเภทใหญๆ่ 1. จารตี ประเพณี คอื ส่ิงทีเ่ ราไดป้ ฏบิ ตั ิหรือท�ำมาเป็นเวลานาน โดยไมข่ ดั หรือท�ำลายความสงบเรยี บร้อยในสงั คมน้นั เชน่ ประเพณีตา่ งๆ 2. ประมวลกฎหมาย คอื กฎหมายทเี่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษรท่ีถกู ออกโดยผูม้ อี ำ� นาจสงู สดุ ในสังคมนัน้ ๆ ระบบกฎหมาย นกั กฎหมายได้แบง่ กฎหมายออกเปน็ สองระบบ คอื 1. ระบบจารีตประเพณี คือ กฎหมายที่ไม่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร หรอื ไมม่ บี นั ทึกเปน็ ตัวหนงั สอื แตส่ ามารถนำ� มาใช้ ตดิ สนิ ผกู้ ระทำ� ผดิ ด้วยการใชเ้ หตุผลของนักกฎหมายและจารตี ประเพณที ีเ่ คยท�ำกันมา รวมไปถึงค�ำตัดสินของศาลเปน็ หลัก เช่น ถ้าในอดตี เคยมีคดลี กั ทรพั ย์ (ขโมยของ) และถกู ตดั สินให้ตดิ คุกเปน็ เวลาสองเดือน เม่อื มีคดีเกิดขึน้ อกี ก็จะตดั สนิ คลา้ ยๆ กนั กฎหมายระบบน้ใี ชใ้ นประเทศอังกฤษและเครือจักรภพอังกฤษ 2. ระบบลายลกั ษณอ์ กั ษร คอื กฎหมายทเี่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร หรอื มกี ารบนั ทกึ เปน็ ตวั หนงั สอื จดั เปน็ หมวดหมอู่ ยา่ ง เรียบรอ้ ย ซึ่งเป็นแบบทีน่ ยิ มใชก้ นั ท่ัวโลก กฎหมายประเภททเี่ รามกั เหน็ กนั ตามร้านหนังสือกค็ ือกฎหมายประเภทนี้น่ันเอง ลักษณะของกฎหมาย กฎหมายมลี ักษณะ ดังต่อไปน้ี 1. เปน็ กฎหรือขอ้ บังคบั ทใี่ ชไ้ ดท้ ่ัวไปในสงั คมนั้น คอื ใช้ได้กับทุกคนไม่มกี ารเลอื กปฏบิ ัติ ดงั นน้ั ไม่สามารถอ้างว่า กฎหมายนใ้ี ช้ได้ หรือไม่ได้กบั ใครคนใดคนหนึ่งในสงั คมในตอนท่ีท�ำผดิ 2. ตอ้ งบังคับใช้ตลอดไปจนกวา่ จะมีกฎหมายอื่นมายกเลกิ หรือมกี ฎหมายอืน่ มาทดแทน คอื กฎหมายจะไมม่ ี การหยดุ การใช้กลางคันเดด็ ขาด นอกจากจะมกี ารออกกฎหมายอืน่ มายกเลิกแทน 3. ตอ้ งตราขน้ึ โดยอำ� นาจสงู สดุ ในรัฐ ซ่ึงก็คอื ผู้ทมี่ อี �ำนาจนิตบิ ัญญัติ 4. ต้องมสี ภาพบังคบั ใช้ 5. ตอ้ งไม่มีการบังคับยอ้ นหลัง คือ เหตกุ ารณต์ า่ งๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ กอ่ นจะมีกฎหมายนขี้ ้นึ มาจะไมส่ ามารถใชก้ ฎหมาย ใหมน่ ี้มาบงั คับใชย้ ้อนหลังได้ หากกฎหมายไมม่ ีคณุ สมบตั ิเหลา่ น้ีก็จะไม่สามารถเป็นกฎหมายได้ อาจจะมีฐานะเป็นได้เพยี งจารตี ประเพณี หรอื บรรทดั ฐานในสงั คมแทน 32 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
ประเภทของกฎหมาย สามารถจดั ประเภทของกฎหมายได้ 4 ประเภทใหญๆ่ ดังนี้ 1. กฎหมายเอกชน (แพ่ง พาณิชย์) – ใช้บงั คบั ระหว่างเอกชนกบั เอกชน เช่น บริษัท ก กบั บริษทั ข มีปญั หากนั กต็ อ้ งใชก้ ฎหมายเอกชนในการตดั สิน 2. กฎหมายอาญา – ใชบ้ งั คับกบั ผกู้ ระท�ำความผิดทางอาญา เช่น ถ้าเราไปท�ำรา้ ยร่างกายผู้อ่ืน เรากต็ ้องถูกตัดสนิ ดว้ ยกฎหมายอาญา 3. กฎหมายมหาชน – ใชบ้ งั คบั กรณีเอกชนกบั หนว่ ยงานของรัฐ เชน่ เราไม่พอใจโรงเรยี นและฟ้องโรงเรียนซึ่งเป็น หนว่ ยงานของรฐั หรอื เรากระท�ำความผดิ แล้วโรงเรยี นฟอ้ งเราก็จะเป็นคดีที่ตอ้ งใชก้ ฎหมายมหาชน 4. กฎหมายระหวา่ งประเทศ – ใชบ้ ังคับระหว่างประเทศ เชน่ กรณีเขาพระวิหาร หรือเร่อื งดนิ แดน ผลประโยชน์ ต่างๆ ลำ� ดับชั้นของกฎหมาย ถึงแมจ้ ะรู้ว่ากฎหมายน้ันเป็นบรรทดั ฐานของสงั คม แตก่ ย็ ังสามารถแบง่ กฎหมายออกเป็นชนั้ ๆ โดยกฎหมายทีอ่ ยลู่ ำ� ดบั ตำ�่ กวา่ จะต้องห้ามขดั กบั กฎหมายทอี่ ยลู่ ำ� ดบั สงู กวา่ ลำ� ดบั ช้นั ของกฎหมาย 1 รฐั ธรรมนูญ 2 พ.ร.บ. พ.ร.ก. พ.ร.ฎ. กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญตั ิท้องถิ่น 3 ระเบียบ ข้อบงั คบั มติ ครม. 4 ค�ำส่ังศาลปกครอง 1. กฎหมายรฐั ธรรมนูญ คือ กฎหมายสูงสดุ ในการปกครองประเทศ เปน็ เหมอื นแมข่ องกฎหมายทง้ั หมด กฎหมายอืน่ ๆ ที่ เกดิ ข้ึนภายหลงั ท้ังหมดจะขดั แยง้ กับรฐั ธรรมนูญไมไ่ ด้ โดยสว่ นใหญแ่ ล้วกฎหมายรัฐธรรมนูญจะระบถุ งึ • รูปแบบการปกครองของประเทศและอำ� นาจอธิปไตยต่างๆ • ก�ำหนดความสมั พนั ธร์ ะหว่างองค์กรทางการเมือง • กำ� หนดสทิ ธิ เสรภี าพ และหนา้ ที่ของประชาชนในสังคมนนั้ ๆ วา่ จะต้องทำ� ตัวอยา่ งไร ทำ� อะไรได้มากนอ้ ยแค่ไหน ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 33
2. พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คือ กฎหมายท่ีองค์สมเด็จพระมหากษัตริย์ตราขึ้นโดยคำ� แนะน�ำและค�ำยินยอมของรัฐสภา ในการท่ีจะออกกฎหมายประเภทนไี้ ด้นัน้ ต้องอาศัยคนสามกลุ่ม ดังน้ี • ผู้เสนอกฎหมายนี้ ได้แก่ คณะรัฐมนตรี สามาชิสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) หรือ ประชาชนหน่ึงหมื่นคนเป็นอย่าง น้อย เป็นผยู้ ื่นเสนอวา่ ต้องการมกี ฎหมายนี้ • ผู้พิจารณากฎหมาย ได้แก่ สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา จะท�ำหน้าท่ีตรวจสอบและพิจารณาข้อเสนอที่ถูกยื่น เขา้ มา • ผู้ตรากฎหมาย คือ พระมหากษตั ริยจ์ ะเป็นผลู้ งนามประกาศใช้ เมอ่ื มีทง้ั ผู้เสนอ ผ้พู ิจารณา และผตู้ รา จึงจะสามารถออกกฎหมายพระราชบัญญตั ไิ ด้ 3. พระราชก�ำหนด (พ.ร.ก.) คือ กฎหมายท่ีพระมหากษัตริย์ตราขึ้นตามค�ำแนะน�ำของคณะรัฐมนตรี โดยส่วนใหญ่จะเป็น กฎหมายทเี่ ร่งดว่ น หรือเก่ียวกบั ภยั พิบตั ิ และมักเปน็ กฎหมายท่ีใช้กนั ชัว่ คราวในเวลาสน้ั ๆ เทา่ นน้ั และเหมือนกับ พ.ร.บ. ท่ี จะต้องมีบคุ คลสามกลุ่มทำ� หนา้ ทอ่ี ยู่ในกระบวนการออกกฎหมายน้ี • ผู้เสนอ – รัฐมนตรี • ผู้พจิ ารณา – คณะรัฐมนตรี • ผตู้ รา คือ พระมหากษัตรยิ ์จะเป็นผ้ลู งนามประกาศใช้ 4. พระราชกฤษฎีกา คือ กฎหมายทพี่ ระมหากษัตริย์ตราขน้ึ ตามคำ� แนะน�ำของคณะรัฐมนตรี มศี ักดิ์ต�่ำกว่าพระราชกำ� หนด 5. กฎกระทรวง คอื กฎหมายทอ่ี อกโดยรัฐมนตรี ตามความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรใี ชใ้ นกระทรวงตา่ งๆ ศาล ศาล ทำ� หน้าที่พิพากษาตัดสนิ คดีความตามกฎหมาย บุคคลท่ที �ำหนา้ ท่พี จิ ารณานัน้ เราจะเรยี กวา่ ผ้พู ิพากษา ซง่ึ เปน็ ผู้เชีย่ วชาญด้านกฎหมายขน้ั สูง ในปัจจบุ ันประเทศไทยเรามีศาลอยู่ท้ังหมด 4 ประเภท คือ • ศาลรัฐธรรมนญู • ศาลยตุ ธิ รรม • ศาลปกครอง • ศาลทหาร ศาลรัฐธรรมนญู ประกอบไปด้วย ประธาน 1 คน และตลุ าการอกี 14 คน ซงึ่ คนทั้ง 15 คน จะท�ำหนา้ ที่ควบคุมไม่ ให้กฎหมายต่างๆ ขัดแย้งตอ่ รัฐธรรมนญู เนอ่ื งจากรฐั ธรรมนญู คือ กฎหมายสงู สุด ถา้ มีกฎหมายไหนแย้งกบั รัฐธรรมนญู จะ ทำ� ลายความเปน็ กฎหมายสงู สดุ และอาจหมายถงึ การทำ� ลายอำ� นาจรฐั ดว้ ย จงึ ตอ้ งมหี นา้ ทคี่ อยตรวจสอบดแู ล และยงั ตดั สนิ คดีความ และช้ีขาดเกี่ยวกับอำ� นาจหน้าที่ต่างๆ รวมถึงตัดสินผู้ดำ� รงตำ� แหน่งทางการเมืองท่ีกระทำ� การทุจริต และวินิจฉัย สภาพของ ส.ส. หรือ ส.ว. ว่าบุคคลผู้น้ันยังมีความเหมาะสมจะเป็นสมาชิกสภาต่อไปหรือไม่ นับได้ว่าศาลรัฐธรรมนูญเป็น ศาลสูงสุดของประเทศ ศาลยตุ ธิ รรม คอื ศาลทเ่ี รารจู้ กั และคนุ้ เคยมาตง้ั แตด่ งั้ เดมิ คอื ศาลทใี่ ชต้ ดั สนิ คดคี วามทวั่ ๆ ไป ยกเวน้ คดที ก่ี ฎหมาย ระบุว่าอย่ใู นอ�ำนาจของศาลอื่นๆ ศาลประเภทน้มี กี ารแบง่ เป็นสามชน้ั คือ ศาลชั้นตน้ ศาลอทุ ธรณ์ และศาลฎีกา ซึง่ หากเรา รสู้ ึกว่าคำ� ตัดสนิ ของศาลนนั้ ไม่เป็นธรรมก็จะสามารถยื่นให้ศาลในช้นั ตอ่ ไปตัดสนิ ได้ แต่จะถอื ว่าค�ำตัดสินของศาลฎีกาเป็นค�ำ ชขี้ าด ไมส่ ามารถเรยี กรอ้ งอะไรไดอ้ กี แลว้ แมว้ า่ โทษจะหนกั กวา่ ตอนแรกกต็ าม เชน่ นาย A กระทำ� ความผดิ ศาลชน้ั ตน้ ตดั สนิ 34 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
ให้จ�ำคุก 5 ปี ศาลอุทธรณใ์ หจ้ ำ� คุก 3 ปี แต่ศาลฎกี าให้จำ� คกุ ถงึ 16 ปี นาย A ก็จะตอ้ งยอมรับค�ำตัดสินนี้ ศาลปกครอง คอื ศาลทม่ี อี ำ� นาจพพิ ากษาคดรี ะหวา่ งราชการกบั เอกชน หรอื ระหวา่ งราชการดว้ ยกนั เชน่ นกั ศกึ ษา ฟอ้ งมหาวทิ ยาลัยเพราะมหาวิทยาลัยมกี ฎหรือข้อปฏิบัตทิ ่ีไม่เปน็ ธรรม ศาลทหาร คือ ศาลทต่ี ดั สนิ คดีความของทหาร ในกรณที ที่ หารมขี ้อพพิ าทหรือกระทำ� ความผิด สถานภาพบุคคล สภาพบุคคล หมายถึง เด็กทารกท่ีคลอดออกมาแล้วมีชีวิตอยู่รอดเท่าน้ันกฎหมายจึงให้การรับรองว่าเป็นมนุษย์ น่นั หมายความว่าเดก็ ทารกท่ีอยู่ในทอ้ งแมห่ รอื ครรภม์ ารดายังไมไ่ ด้ถอื เปน็ สภาพบคุ คลตามกฎหมาย นิตบิ ุคคล คอื บุคคลท่ีกฎหมายสมมตุ ขิ ้ึน เพื่อใหม้ ฐี านะเป็นนิตบิ คุ คล ไดแ้ ก่ กระทรวง ทบวง กรม วดั หา้ งหุน่ สว่ น จำ� กดั ต่างๆ บรษิ ทั สมาคม และมลู นธิ ิต่างๆ เมอ่ื เปน็ นิติบคุ คลแลว้ ก็จะสามารถดำ� เนนิ การตา่ งๆ ตามท่ีกฎหมายก�ำหนดไวไ้ ด้ เหมือนเปน็ บคุ คลคนหนง่ึ กฎหมายเลอื กตงั้ กฎหมายเลือกตัง้ คือ กฎหมายทกี่ ลา่ วถงึ อำ� นาจทปี่ ระชาชนเลอื กบคุ คลเขา้ ไปทำ� หน้าท่บี ริหารบา้ นเมืองแทนตน เช่น เราเลือกนาย A เข้าไปเปน็ ส.ส. เพอื่ บริหารบา้ นเมอื งแทนเรา ผา่ นระบบการเลอื กต้ังแบบประชาธปิ ไตย โดยผจู้ ดั ใหม้ ี การเลือกตง้ั คอื คณะกรรมการการเลือกตัง้ (กกต.) ท่ตี ้องทำ� เช่นนีเ้ พราะในระบอบประชาธปิ ไตย น้นั เราทกุ คนไมส่ ามารถท่ี จะเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื งไดโ้ ดยตรง ลองนกึ สภาพสภาทมี่ ปี ระชาชนทง้ั ประเทศไปชมุ นมุ ดสู ิ คงจะวนุ่ วายนา่ ดู วธิ กี าร แก้ไขง่ายๆ ก็คือ ให้คนแต่ละกลุ่มในแต่ละพ้ืนท่ีเลือกตัวแทนของพวกเขาเข้าไปประชุม เป็นปากเป็นเสียงให้นั่นเอง โดย กฎหมายที่เก่ยี วกับการเลอื กผู้แทนน้ีเราเรียกว่า กฎหมายเลือกตงั้ คุณสมบตั ิของผู้มสี ทิ ธเิ ลอื กต้ัง การทเี่ ราจะสามารถไปเลอื กตง้ั ผแู้ ทนได้ จะตอ้ งมคี ณุ สมบตั ติ ามทก่ี ำ� หนด และไมม่ คี ณุ สมบตั ทิ เ่ี ปน็ ขอ้ หา้ มทก่ี ฎหมาย เลอื กตงั้ ไดก้ ำ� หนดไว้ • สัญชาตไิ ทย เพราะฉะนน้ั ผูท้ ี่จะกระท�ำการเลอื กตง้ั ได้ต้องเป็นประชาชนของประเทศน้นั • อายุไม่ตำ�่ กวา่ 18 ปีบรบิ ูรณ์ • มีช่อื อย่ใู นทะเบยี นบ้านเขตเลือกตง้ั มาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ 90 วนั • ไมม่ ลี ักษณะตอ้ งห้าม เชน่ วกิ ลจริต เปน็ ภิกษุสามเณร หรอื ถกู คุมขงั โดยศาล กฎหมายมรดก หนงึ่ ในกฎหมายทพี่ บเหน็ กนั บอ่ ย คอื กฎหมายมรดก แตเ่ คยสงสยั ไหมวา่ มรดกแทท้ จี่ รงิ แลว้ มนั คอื อะไร แลว้ สง่ิ ไหน บ้างทน่ี บั ว่าเปน็ มรดก มรดก คือ ทรพั ย์สนิ ทุกชนดิ ของผู้ตาย ตลอดจนสทิ ธิและหนา้ ทีท่ ีต่ ้องรับผิดชอบต่างๆ ทัง้ หมด เพราะฉะนั้นมรดกไม่ ไดเ้ ปน็ เพียงสง่ิ ของเงนิ ทองเทา่ นั้น แต่ยงั รวมถงึ สิทธิและหนา้ ทข่ี องผูต้ ายด้วย เราจะเรียกบุคคลที่มีความสามารถจะรับมรดกต่อไปได้ว่า ทายาทท่ีมีสิทธิสืบทอดมรดก โดยมีการก�ำหนดไว้สอง ประการ คอื ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 35
1. ทายาทตามพนิ ัยกรรม คอื ผู้ตายไดก้ ำ� หนดไว้ว่าใครจะเปน็ ทายาท อาจจะไม่ใช่บคุ คลในครอบครวั กไ็ ด้ 2. ทายาททเ่ี ปน็ ญาติ มีเรียงตามลำ� ดบั คือ ลูก หลาน เหลน ล้อื บิดา มารดา พน่ี ้อง ปู่ ย่า ตา ยาย และลุง ป้า น้า อา ถา้ เป็นญาตทิ พ่ี ้นจากสถานะเหลา่ นี้จะไม่สามารถรบั มรดกได้เลยถ้าไม่มีพินยั กรรม เช่น พ่ีสะใภ้ พ่เี ขย เป็นต้น กฎหมายแพ่งทค่ี วรรูเ้ ก่ยี วกบั บุคคล การแจง้ เกิด เมื่อมเี ด็กเกดิ ใหม่จะตอ้ งแจ้งเกิดภายใน 15 วัน มเิ ช่นนัน้ จะตอ้ งเสยี ค่าปรบั เปน็ เงนิ 200 บาท และถา้ เราไมร่ วู้ ันเดือนปีเกดิ ของเดก็ กใ็ ห้เอาวนั ที่ 1 มกราคม ของปที ่ีจดทะเบียนเป็นวนั เกิด การแจ้งตาย เม่อื มใี ครเสียชีวิต จะต้องแจง้ ท�ำมรณบตั รภายใน 24 ชว่ั โมงหลงั จากที่เสยี ชีวติ ไม่อย่างน้ันก็จะ ต้องเสียค่าปรบั เปน็ เงิน 200 บาท การต้งั ชื่อ เราสามารถตั้งชอ่ื อะไรก็ไดท้ ี่ไม่พ้องหรือซำ้� กบั พระนามของพระมหากษัตรยิ ์ พระราชินี และ พระราชทนิ นาม ช่ือสกลุ ชื่อสกุล หรือนามสกุลน้ัน โดยส่วนมากจะถอื เอาตามบิดาหรือพอ่ เปน็ หลัก แต่ในบางกรณีก็จะ ใช้ของมารดาก็ไดเ้ ช่นกัน แต่หา้ มเกิน 10 ตัวอักษร สญั ชาต ิ ถ้าบดิ าหรือพ่อของเดก็ เป็นคนไทย หรือเกดิ ในประเทศไทยกจ็ ะต้องถอื สัญชาติไทย ผ้หู ญิงชาว ต่างชาตทิ ่แี ตง่ งานกับชายไทยกส็ ามารถขอเปล่ียนสญั ชาตไิ ด้เช่นกนั บรรลนุ ิติภาวะ เดก็ ๆ ทุกคนจะบรรลุนิตภิ าวะเม่อื พวกเขาอายุ 20 ปีบริบรู ณ์ และจะสามารถแตง่ งานอย่าง ถกู ต้องตามกฎหมายไดเ้ มอ่ื อายุ 17 ปีขึ้นไปเท่านั้น อสังหารมิ ทรัพย์ ทรพั ย์สนิ ทีเ่ คลื่อนท่ีไม่ได้ เชน่ บ้าน ท่ีดิน และส่ิงของท่ปี ระกอบเป็นท่ดี ิน เชน่ ดนิ ก้อนกรวด นำ�้ ในที่ดนิ ก้อนหิน ทราย เป็นต้น สังหาริมทรพั ย์ ทรพั ยส์ นิ ทีเ่ ราสามารถเคลื่อนทีไ่ ด้ เชน่ สรอ้ ย แหวน เงินทอง รถยนต์ จักรยาน การก้เู งิน การยมื เงินโดยมกี ารคิดดอกเบีย้ โดยเจา้ หนจี้ ะคดิ ดอกเบี้ยไดไ้ ม่เกินรอ้ ยละ 15 บาทตอ่ ปี ถา้ เจ้าหนีค้ ิดดอกเบ้ียเกินจะถกู ปรับ 1,000 บาท หรอื จ�ำคุกหนึ่งปี และจะถูกละเว้นดอกเบ้ีย คอื ไดค้ นื แต่เงนิ ต้น การเชา่ ซอ้ื การตกลงทำ� สัญญา โดยผเู้ ช่าอาจเปล่ยี นเปน็ เจ้าของไดเ้ มือ่ ชำ� ระคา่ งวดสุดทา้ ยหมดแล้ว และ ให้ผูใ้ ห้เชา่ มีสทิ ธิคดิ ดอกเบ้ียพร้อมเงนิ ตน้ ได้ไม่เกินรอ้ ยละ 15 ตอ่ ปี การเชา่ ทรพั ย์ คือ การเช่าอสงั หารมิ ทรัพย์ หรอื บา้ นได้ไม่เกนิ คร้ังละ 30 ปี หากผู้เช่าทำ� สญั ญาตดิ ต่อกนั สอง ครั้ง ก็จะถือวา่ ผิดขอ้ ตกลง สามารถยกเลิกสญั ญาทรัพย์ได้ การฝากขาย คอื การทเี่ ราเอาทรัพย์สนิ ของเราไปขายโดยตกลงกบั ผู้ขายวา่ อาจจะไถ่ทรพั ย์คืนได้ แตถ่ ้าหลุดไป กไ็ ม่สามารถฟ้องรอ้ งดำ� เนินคดีใดๆ ได้ การไถท่ รัพย ์ คอื การน�ำเงินไปไถ่คนื ทรัพยส์ ินทฝ่ี ากขายไป โดยส�ำหรับสงั หาริมทรัพย์ห้ามเกนิ สามปี และ อสงั หาริมทรัพย์ไดไ้ มเ่ กินสบิ ปี ขยายเวลาไมไ่ ด้โดยเด็ดขาด 36 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
การซ้อื ขาย คือ การทำ� สัญญาตกลงว่าได้โอนกรรมสิทธิ์ความเป็นเจ้าของใหก้ บั ผู้ซื้อ โมฆะกรรม คอื นิตกิ รรมทเ่ี สยี เปลา่ เหมือนกับว่าการด�ำเนนิ การไมม่ ีอะไรเกดิ ข้ึน โมฆียกรรม คือ นติ ิกรรมทส่ี มบรู ณ์จนกว่าจะถูกบอกล้างดว้ ยการข่มขู่ ฉอ้ โกง กฎหมายอาญาทคี่ วรรู้ บตั รประชาชน เม่อื เราทุกคนอายุ 7 ปี เราจะต้องไปท�ำบตั รประชาชนท่อี ำ� เภอ จนถึงอายุ 70 ปี ยกเว้น พระมหากษัตรยิ ์ พระราชินี พระบรมวงศานุวงศ์ พระภิกษสุ ามเณร นักบวช ผ้พู ิการ เปน็ ใบ้ ตาบอดท้งั สองข้าง จติ ไม่สมประกอบ ถูกคมุ ขังด้วยกฎหมาย การเกณฑ์ทหาร ชายไทยท่อี ายุ 17 ปีบริบรู ณ์จะตอ้ งไปข้นึ บญั ชีทหารกองเกนิ ในเดือนพฤศจกิ ายนของทกุ ปี และ เมอื่ อายุครบ 20 ปบี รบิ รู ณ์ก็จะต้องไปรับราชการทหารสองปีหากไมไ่ ปจะต้องจ�ำคกุ สามปี ความผิดลหุโทษ จ�ำคุกไม่เกนิ 1 เดอื น ปรบั ไม่เกิน 1,000 บาท หรือทง้ั จำ� ทง้ั ปรบั สนบั สนุนการฆ่าคน ถา้ เจตนาจะมโี ทษประหารหรอื จ�ำคุกตลอดชวี ติ หรอื 15-20 ปี ถ้าเป็นความผิดร้ายแรง เชน่ ฆ่าบพุ การี จะมีโทษประหาร ฆ่าเจา้ พนกั งาน หมายถงึ ท�ำใหเ้ จา้ หนา้ ที่ของรฐั ต้องถึงแก่ความตาย ถา้ โดยไม่เจตนาจะรับโทษ 3-15 ปี ถา้ ประมาทจำ� คกุ ไมเ่ กิน 10 ปี หรอื ปรบั 20,000 บาท ลักทรัพย ์ ตอ้ งรบั โทษไม่เกิน 3 ปี หรือปรับ 6,000 บาท ถ้าทำ� ให้ผ้อู ื่นเสียทรัพยต์ ้องโทษ 3 ปี หรอื ปรบั 6,000 บาท โทษทางอาญา บทลงโทษของผู้กระทำ� ผดิ กฎหมายอาญา มี 5 ประการ 1. ประหารชวี ติ คือ การน�ำตัวไปยิงดว้ ยปืนให้ตาย หรอื ฉดี ยาพิษให้ผู้กระท�ำผิดเสยี ชีวติ 2. จำ� คกุ คือ การนำ� ตวั คนทท่ี ำ� ผดิ ไปขังไว้ในเรอื นจำ� ตามเวลาทกี่ ำ� หนดไวแ้ ลว้ จงึ ปล่อยตัวใน ภายหลงั 3. กกั ขัง คอื การน�ำตวั ไปคุมขังไวใ้ นทๆี่ ไม่ใชเ่ รือนจ�ำ อาจจะเปน็ สถานตี �ำรวจเปน็ การชวั่ คราว 4. ปรบั คอื การลงโทษดว้ ยการบงั คับใหจ้ า่ ยค่ากระท�ำผดิ ให้แกร่ ัฐหรือประเทศ 5. ริบทรพั ย์สิน คือ การเอาทรัพยส์ ินของผูก้ ระทำ� ผิดมาเป็นของประเทศหรือของรัฐ การท�ำความผิดของ 1. อายุไมเกิน 7 ป – ไมตองรับโทษ เด็กและเยาวชน 2. อายุเกิน 7 ป แต่ไมเกนิ 14 ป – อยู่ในอำ� นาจศาลที่จะด�ำเนนิ การ 3. อายุเกนิ 14 ป แต่ไมเกนิ 17 ป – ให้ศ าลพจิ ารณาวนิ ิจฉัยว่าสมควรลงโทษหรอื ไม 4. อายุเกนิ 17 ป แต่ไมเ กิน 20 ป – ศาลเห็นสมควรจะลดโทษลง 1 ใน 3 หรือ 1 ใน 2 กไ็ ด ความผดิ เกี่ยวกบั 1. ลกั ทรพั ย์ - การเอาทรัพยข์ องผ้อู น่ื ไปโดยทเี่ จา ของไมย ินยอม ทรพั ย์สิน 2. วงิ่ ราวทรพั ย์ – การฉกฉวยเอาซง่ึ หนา 3. ชงิ ทรพั ย์ – การใชก้ ำ� ลัง หรืออาวธุ ทำ� ร้าย 4. ปลน้ ทรัพย์ – การทีค่ นต้ังแต่ 3 คนขึน้ ไปรว่ มกนั ชิงทรัพย์ ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 37
แนวขอ้ สอบ 1. ข้อใดเป็นสถาบนั ทางสงั คมซง่ึ เปน็ พนื้ ฐานแรกสุดของมนุษย์ ก. สถาบันศาสนา ข. สถาบันเศรษฐกิจ ค. สถาบนั ครอบครวั ง. สถาบนั การเมอื งการปกครอง 2. ข้อใดเกีย่ วขอ้ งกับสถาบนั การเมอื งการปกครองโดยตรง ก. ผลิตสนิ ค้าบรโิ ภค ข. ขัดเกลาสมาชิกของสงั คม ค. เผยแพรข่ า่ วสารสสู่ าธารณะ ง. บรหิ ารประเทศตามนโยบาย 3. วฒั นธรรมไทยในขอ้ ใดเปน็ ของภาคใต้ ก. งานบญุ บ้ังไฟ ข . ประเพณีผีตาโขน ค. ประเพณีการรำ� โนรา ง. การแสดงหมอลำ� ซิ่ง 4. การรับวฒั นธรรมตา่ งชาติมาใช้ควรคำ� นึงถึงสิง่ ใดเปน็ สำ� คญั ก. เลอื กวฒั นธรรมทีต่ นเองชอบ ข. เลือกวัฒนธรรมที่คนท่วั ไปนิยม ค. รับวฒั นธรรมต่างชาตมิ าท้งั หมด ง. เลือกวัฒนธรรมท่มี ปี ระโยชน์นำ� มาปรับใช้ 5. ผู้ใดถอื ได้วา่ ปฏิบัตติ นเปน็ พลเมืองดีของประเทศชาติและสงั คมโลก ก. ตกุ๊ ชอบลอกข้อสอบในห้องเรยี น ข. นิดรบั ฟงั ความคิดเหน็ ทีแ่ ตกต่างของเพือ่ น ค. แอด๊ นยิ มใชค้ วามรุนแรงในการแก้ไขปัญหา ง. ทรายให้การยอมรบั นับถอื คนทม่ี ีฐานะรำ�่ รวย 6. อ�ำนาจใดคอื อ�ำนาจสงู สดุ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย ก. อ�ำนาจทหาร ข. อำ� นาจอธิปไตย ค. อ�ำนาจเผดจ็ การ ง. อำ� นาจทางการเงิน 7. ขอ้ ใดคือหลกั การของระบอบเผด็จการ ก. ผู้น�ำมาจากการเลือกต้ัง ข. ส่อื มวลชนไมถ่ กู แทรกแซง ค. ประชาชนมีอิสระทางการเมือง ง. อ�ำนาจเดด็ ขาดอยู่ทผี่ ู้น�ำเท่านั้น 38 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
8. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550 เปน็ รัฐธรรมนูญฉบับท่ีเท่าใดของประเทศไทย ก. ฉบบั ท่ี 16 ข. ฉบบั ท่ี 17 ค. ฉบบั ท่ี 18 ง. ฉบบั ท่ี 19 9. การทำ� บัตรประชาชนเปน็ กฎหมายทีเ่ กย่ี วข้องกับเรอื่ งใด ข. กฎหมายเรื่องบคุ คล ก. กฎหมายทรพั ยส์ ิน ง. กฎหมายเรื่องการละเมิด ค. กฎหมายเร่อื งครอบครัว 10. ขอ้ ใดถอื เปน็ สิทธิเสรภี าพตามบทบัญญัตใิ นรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย ก. ห้ามไม่ใหค้ นแปลกหน้าเข้ามายงั ที่พักอาศัย ข. ลงโทษลูกจ้างของตนโดยการทุบตจี นบาดเจ็บ ค. ต่อวา่ ผู้ทีน่ บั ถือศาสนาต่างจากตนอยา่ งรนุ แรง ง. ทำ� ลายสาธารณสมบตั เิ พ่อื ตอ่ ตา้ นนโยบายของรัฐ 11. ในงานแตง่ งานของคนไทย มีพิธีกรรมใดท่ีมาจากการผสมผสานกับศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ก. การรดนำ้� สงั ข์ ข. การแห่ขนั หมาก ค. การโยนช่อดอกไม ้ ง. การกน้ั ประตเู งนิ ประตูทอง 12. ศาสนาเป็นปจั จยั ทางวัฒนธรรมทจี่ ะสามารถสรา้ งความสมั พนั ธอ์ ันดรี ะหวา่ งประเทศสมาชกิ อาเซยี นไดเ้ พราะเหตุใด ก. ศาสนาตา่ งๆ ล้วนสอนใหค้ นเปน็ คนดี มเี มตตาตอ่ กัน ข. ประชากรสว่ นใหญใ่ นประเทศต่างๆ ลว้ นนบั ถอื ศาสนาเดยี วกัน ค. ส่งเสรมิ ให้เกิดความรสู้ ึกเปน็ อันหนึ่งอันเดยี วกันของประชากรในภมู ภิ าค ง. พธิ ีกรรมทางศาสนาท่ีคนส่วนใหญ่ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตต้ อ้ งการกระทำ� รว่ มกนั 13. องค์การหรอื หน่วยงานราชการในข้อใดมลี กั ษณะของการปกครองแบบรวมอำ� นาจไว้ที่สว่ นกลาง ก. เมอื งพัทยา ข. จังหวดั อำ� เภอ ค. กรุงเทพมหานคร ง. สำ� นักนายกรฐั มนตรี 14. วัฒนธรรมทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั ศาสนาของไทย มคี วามคล้ายคลงึ กบั วัฒนธรรมทางศาสนาของประเทศใดในอาเซยี นมากทส่ี ุด ก. ลาว ข. ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ค. อินโดนเี ซยี ง. บรูไนดารสุ ซาลาม 15. วัฒนธรรมในขอ้ ใดถือเปน็ วฒั นธรรมสากล ก. การลอยกระทง ข. การเล่นอินเทอรเ์ นต็ ค. การท�ำพิธีบายศรีสู่ขวัญ ง. การท�ำบญุ ตานกว๋ ยสลาก ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 39
เฉลยแนวข้อสอบ 1. ตอบ ค. เพราะครอบครัวคือสถาบันท่ีให้ก�ำเนิดมนุษย์ในสังคม และมีหน้าที่ในการอบรมบ่มนิสัยปลูกฝังแบบแผน ทด่ี ขี องสังคม รวมถึงถ่ายทอดองคค์ วามรตู้ ่างๆ แกส่ มาชกิ ของครอบครวั จึงถอื เป็นสถาบนั ทางสงั คมท่มี ี ความสำ� คญั ทสี่ ดุ 2. ตอบ ง. เพราะสถาบันการเมืองการปกครองมีหน้าที่หลักในการสร้างความมั่นคงและรักษาสิทธิประโยชน์ของ ประเทศชาติ โดยมีการวางนโยบายต่างๆ ท่ีจะเป็นประโยชน์แก่ประชาชน และด�ำเนินการตามนโยบายท่ีวาง ไว้ให้ประสบผลส�ำเรจ็ 3. ตอบ ค. เพราะการร�ำโนราเป็นวัฒนธรรมของภาคใต้ท่ีมาจากความเช่ือในหลักค�ำสอนทางพระพุทธศาสนา และมี การผสมผสานกบั ความเชอื่ จากศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู สว่ นในขอ้ อนื่ เปน็ วฒั นธรรมของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทัง้ สิน้ 4. ตอบ ง. เพราะวัฒนธรรมต่างชาติน้ันมีความหลากหลายซึ่งหากเราเลือกวัฒนธรรมที่เป็นประโยชน์และสามารถ น�ำมาปรับใช้ในสงั คมไทยได้ กจ็ ะชว่ ยใหก้ ารด�ำเนินชีวติ ของเรามีความสุข 5. ตอบ ข. เพราะการรับฟังความคิดเห็นท่ีแตกต่างถือเป็นการเคารพสิทธิส่วนบุคคลอย่างหน่ึง และจะน�ำมาซึ่งการ อยรู่ ่วมกันอย่างสันติ อนั เป็นหลักการส�ำคัญประการหน่งึ ตามวิถปี ระชาธิปไตย 6. ตอบ ข. เพราะการปกครองระบอบประชาธิปไตยถือว่าอ�ำนาจอธิปไตยเป็นอ�ำนาจสูงสุดท่ีใช้ในการปกครองประเทศ ซึ่งเป็ นอ�ำนาจของประชาชน โดยผู้ท่ีจะได้อ�ำนาจปกครองน้ีจะต้องได้รับความยินยอมจากประชาชนส่วนใหญ่ ของประเทศ 7. ตอบ ง. เพราะในระบอบเผด็จการ ผู้น�ำมีอ�ำนาจสูงสุดในการบริหารประเทศแต่เพียงผู้เดียว ประชาชนมีหน้าท่ีเช่ือ ฟงั และปฏิบัติตามอยา่ งเครง่ ครดั หากผู้ใดฝา่ ฝนื ก็จะไดร้ บั การลงโทษอย่างรุนแรง 8. ตอบ ค. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 18 ของประเทศไทย และเป็น รัฐธรรมนูญที่เปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมออกเสียงลงประชามติ ซ่ึงประชาชนส่วนใหญ่ให้การยอมรับ และไดม้ กี ารประกาศใชอ้ ย่างเป็นทางการในเวลาต่อมา 9. ตอบ ข. เพราะบตั รประจ�ำตัวประชาชน เป็นเอกสารส�ำคัญทใี่ ช้พสิ จู น์ตวั บคุ คล ภมู ิล�ำเนา และสถานภาพตา่ งๆ ของ คนไทย 10. ตอบ ก. เนื่องจากถือเป็นเสรีภาพในเคหสถานตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ในมาตรา 33 ว่า “บุคคลย่อมมี เสรีภาพในเคหสถาน บุคคลย่อมได้รับความคุ้มครองในการที่จะอยู่อาศัยและครอบครองเคหสถานโดยปกติ สุข การเข้าไปในเคหสถานหรือในที่รโหฐาน จะกระท�ำไม่ได้ เว้นแต่มีค�ำสั่งหรือหมายของศาล หรือมีเหตุอย่าง อ่ืนตามที่กฎหมายบัญญัติ” ส่วนการกระท�ำในข้ออื่นๆ ที่ใช้ก�ำลังหรือความรุนแรงถือว่าผิดแนวทางของหลัก สทิ ธิมนษุ ยชน 11. ตอบ ก. เนอื่ งจากในศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู มีความเชอ่ื วา่ หอยสงั ข์ เปน็ วตั ถมุ งคล ดงั นัน้ น�้ำทีอ่ ยู่ในหอยสงั ข์ จึงมี ความศกั ดสิ์ ิทธ์ิ สามารถช่วยปัดเปา่ ความชัว่ ร้ายทั้งหลาย ซึง่ ในพธิ ีแต่งงานของคนไทยมกี ารรดน�้ำสงั ข์ ซึง่ เช่ือ ว่าจะเปน็ สริ มิ งคลแก่คบู่ า่ ว-สาว 12. ตอบ ก. ศาสนาต่างๆ ล้วนสอนให้คนเป็นคนดี มีเมตตาต่อกัน การน�ำหลักค�ำสอนทางศาสนามาเป็นแนวทางในการ ปฏิบัติตน เช่น การให้ความช่วยเหลือประเทศเพื่อนบ้านที่ได้รับความเดือดร้อนจากภัยพิบัติต่างๆ การไม่เข้าไป แทรกแซงกิจการภายในของประเทศเพ่ือนบา้ น จะสง่ ผลให้ประเทศในอาเซยี นเกดิ ความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งกนั ไดด้ ีย่ิงขน้ึ 40 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
13. ตอบ ง. เพราะหลักการปกครองแบบรวมอำ� นาจจะจัดระเบยี บการปกครองโดยรวมอำ� นาจไวท้ ่สี ่วนกลาง เพอ่ื ก�ำหนด นโยบายและควบคมุ การปฏิบัตงิ านราชการทวั่ ประเทศ ซ่งึ ประเทศไทยไดจ้ ัดระเบยี บการบริหารราชการสว่ น กลางไว้ ได้แก่ สำ� นกั นายก รฐั มนตรี กระทรวง และกรม 14. ตอบ ก. เพราะประเทศลาวมีพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทเป็นศาสนาหลักเช่นเดียวกับประเทศไทย จึงมีประเพณี และวันส�ำคัญทางศาสนาท่ีคล้ายคลึงกัน ส่วนประเทศฟิลิปปินส์ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ ประเทศอนิ โดนีเซยี และบรไู น-ดารสุ ซาลาม ประชากรส่วนใหญน่ ับถอื ศาสนาอสิ ลาม 15. ตอบ ข. เพราะระบบอินเทอร์เน็ตเป็นสิ่งท่ีคนท่ัวโลกให้การยอมรับและนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ซ่ึงได้กลายเป็น สว่ นหนึง่ ในการด�ำรงชีวติ ของมนุษย์ นอ้ งๆ สามารถศกึ ษาเพม่ิ เตมิ ได้ที่ Tag : สอนศาสตร์, สงั คมศกึ ษา, หน้าทพี่ ลเมือง, สถาบนั ทางสงั คม, การจดั ระเบยี บสังคม, วัฒนธรรม, ค่านิยมทางสงั คม, สถานภาพ, บทบาท, หน้าที,่ รัฐธรรมนูญ, รัฐศาสตร,์ การเมือง, การปกครอง, ประชาธปิ ไตย, ระบบประชาธิปไตย, กฎหมาย, กระบวนการยุตธิ รรม • 24 : น่งั ทบทวน...กวนข้อสอบหนา้ ที่พลเมือง http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch2-1 • สงั คมศกึ ษา ม.ตน้ เรื่อง หนา้ ท่พี ลเมือง http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch2-2 • การจดั ระเบยี บทางสงั คม http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch2-3 • ความหมาย แนวคิดและประเดน็ ทเี่ ก่ียวกบั “วฒั นธรรม” http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch2-4 • 09 : สลดั รัฐธรรมนญู http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch3-1 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 41
• สอนศาสตร์ สังคมศึกษา ม.3 : โปรดฟังอีกครง้ั ประชาธปิ ไตย http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch3-2 • สงั คมศกึ ษา ม.ตน้ เรอ่ื ง กฎหมายเบอ้ื งต้น http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch3-3 • ระบอบประชาธิปไตย (1) http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch3-4 • ระบอบประชาธปิ ไตย (2) http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch3-5 • กระบวนการยุติธรรม http://www.trueplookpanya.com/book/m3/ onet-social/ch3-6 บนั ทึกชว่ ยจ�ำ 42 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
บทท่3ี สาระ: เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ในสาระน้จี ะขอเชญิ ผู้มปี ระสบการณพ์ ิเศษในดา้ นนโ้ี ดยเฉพาะมาอธิบายให้พวกเราไดฟ้ งั กัน เขาผู้นีไ้ ดช้ ่ือวา่ เป็น ‘บิดาแหง่ วชิ าเศรษฐศาสตร์’ ชอื่ - นามสกลุ : อดัม สมิธ ผลงานเด่น : เขยี นหนงั สือเรอื่ ง “The Wealth of Nations” เนื้อหาเกย่ี วกบั กลไกราคา เศรษฐศาสตร์ คือ อะไร? เศรษฐศาสตร์ = วชิ าท่วี า่ ดว้ ยการจดั การ จัดสรรทรัพยากรทม่ี ีอยู่อยา่ งจำ� กัด เพอ่ื มาตอบสนอง ความตอ้ งการของมนุษย์ทไ่ี มจ่ ำ� กดั ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุด แสดงวา่ ..... ความต้องการของมนษุ ย์ > ทรัพยากร ขาดแคลนทรพั ยากร ชว่ ยในการแกป้ ญั หา เศรษฐศาสตร์ จุลภาค มหาภาค การเลอื ก จะผลิตอะไร (What) ปญั หาพน้ื ฐานทางเศรษฐกิจ จะผลิตอย่างไร (How) ตรงนเี้ ด๋ียวเราไปดูจากตวั อย่างเพื่อความเขา้ ใจที่ง่ายขึน้ ละ่ กนั จะผลติ เพ่อื ใคร (For Whom) ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 43
สมมติว่า...ย่าออ่ นมีเงนิ อยู่ 100,000 บาท แต่กำ� ลังตดั สนิ ใจอยู่วา่ จะไปทำ� อะไรดี โดยคิดไว้ 3 ทางเลอื ก คือ 1) ถ้านำ� เงนิ ไปฝากธนาคารจะไดด้ อกเบย้ี 30,000 บาท 2) ถา้ นำ� ไปลงทนุ เปิดร้านขายขนมก็น่าจะได้ก�ำไรประมาณ 120,000 บาท 3) หรือจะลองเปิดรา้ นข้าวมนั ไก่ กำ� ไรกน็ ่าจะประมาณ 100,000 บาท เมื่อย่าอ่อนคิดไปคิดมา เปรียบเทียบกันแล้วคิดว่าน�ำเงินไปลงทุนเปิดร้านขนมน่าจะคุ้มและดีที่สุด เพราะฉะน้ันค�ำ ตอบสุดท้ายของย่าอ่อนคอื เปดิ ร้านขายขนม --------> แสดงว่ารู้แลว้ จะผลติ อะไร (What) สว่ นทางเลือกท่ี 1 และ 3 เป็น ทางเลอื กทไ่ี มไ่ ดเ้ ลอื กเพราะไดก้ ำ� ไรนอ้ ย ดงั นนั้ จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ ‘คา่ เสยี โอกาส’ ซง่ึ กค็ อื มลู คา่ สงู สดุ ของทางเลอื กทเี่ ราไมไ่ ดเ้ ลอื ก น่ันเอง และคา่ เสียโอกาสในเหตุการณน์ ี้ คือ ทางเลือกหมายเลข 3 นนั่ เอง (อย่าเผลอเอา 2 ทางเลอื กท่ีเหลอื มารวมกันแล้ว ตอบนะเพราะมันผิด) ตอ่ มากน็ ง่ั คดิ ตอ่ วา่ จะทำ� ขนมออกมาขายอยา่ งไรดี จะใชก้ รรมวธิ อี ะไร --------> แสดงวา่ กำ� ลงั แกป้ ญั หาวา่ จะผลติ อย่างไร (How) เมือ่ รู้ว่าจะผลติ โดยใชแ้ รงงานคนและเคร่ืองจกั รทุน่ แรงในบางสว่ น กเ็ กิดค�ำถามตอ่ มาว่าแลว้ จะเอาไปขาย ให้กับใคร ย่าอ่อนก็มานั่งคิดต่อว่าเป้าหมายลูกค้าของย่าอ่อนน่ันก็คือ คนท่ัวไป เพราะอยากให้กินกันได้ทุกคน --------> แสดงวา่ รู้แล้ววา่ ผลติ สินค้านี้ไปเพอ่ื ใคร (For Whom) จากเหตุการณ์สมมตทิ ่ียา่ ออ่ นพยายามจะผลติ สนิ ค้านั้นเราจะเหน็ ว่า เพราะมีเงนิ ไมม่ ากพอทจี่ ะท�ำความต้องการได้ ทั้งหมด จงึ ต้องเลือกทางที่ดที ่ีสุด ทำ� ให้ตอ้ งเสียทางเลอื กทเ่ี หลอื ไป และต่อจากน้นั เราก็ต้องมาน่ังคิดตอ่ ว่า เราจะผลติ อะไร อย่างไร และเพอื่ ใคร สาขาของวิชาเศรษฐศาสตร.์ .. เศรษฐศาสตร์แบง่ ไดอ้ อกเป็น 2 สาขา คือ • เศรษฐศาสตร์จุลภาค - ใช้ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ในระดับครอบครัวหรือตัวบุคคล เช่น ราคาสินค้าชนิดหนึ่ง รายได้ของคนๆ เดียว เปน็ ตน้ • เศรษฐศาสตร์มหภาค – ใช้ศึกษาภาพรวมในระดับประเทศ เช่น รายได้ประชาชาติ ภาวะเงินเฟ้อ ภาวะ เงนิ ฝดื การว่างงาน เปน็ ต้น ความส�ำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร.์ .. เศรษฐศาสตร์เป็นวชิ าทีม่ คี วามส�ำคญั มากวิชาหนง่ึ เพราะเปน็ เรอื่ งที่เกย่ี วกบั ทกุ คนโดยแบง่ เปน็ ด้านตา่ งๆ ต่อไปนี้ • ด้านผผู้ ลิต ทำ� ให้รู้จักเลือกใช้ทรพั ยากรในการผลิตได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ใช้ต้นทุนต�่ำสุด – ผลติ ใหไ้ ดม้ ากสุด – ไดก้ �ำไรสูงสดุ • ด้านผ้บู รโิ ภคหรอื ประชาชนทั่วไป - ท�ำใหไ้ ดร้ ับประโยชนส์ ูงสุดจากการบรโิ ภค / อปุ โภค สินค้าและบรกิ ารท่ีตนตอ้ งการ - เขา้ ใจสถานการณท์ างเศรษฐกิจ + นโยบายของรฐั และสามารถปรับตวั ได้ • ดา้ นรัฐบาล - ช่วยในการก�ำหนดนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ - ช่วยแกป้ ญั หาเศรษฐกิจให้มเี สถียรภาพ + พัฒนาประเทศให้ก้าวหนา้ 44 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya
ระบบเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกจิ = รปู แบบวธิ กี ารทร่ี ฐั บาลเลอื กนำ� มาใชใ้ นการแกป้ ญั หาพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ และการจดั สรรทรพั ยากร อย่างเป็นธรรม โดยมีหน่วยเศรษฐกิจเป็นผู้ด�ำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ จากจุดน้ีเราจะเห็นว่าระบบเศรษฐกิจ มสี ่วนยอ่ ยๆ อยู่ 2 ส่วนด้วยกนั คอื ระบบเศรษฐกิจ (Demand) = หน่วยเศรษฐกิจ + กจิ กรรมทางเศษฐกิจ ครัวเรอื น การผลิต ธุรกิจ การแลกเปลีย่ น รัฐบาล การบริโภค กิจกรรมทางเศษฐกจิ กิจกรรมทางเศษฐกจิ = การผลติ + การแลกเปลยี่ น + การบริโภค 1. การผลิต คือ การนำ� เอาปจั จยั การผลติ มาผ่านกระบวนการผลิตแลว้ ทำ� ให้เกดิ สินค้าและบริการ ปัจจัยการผลติ กระบวนการผลิต ผลผลิต ทีด่ นิ แรงงาน ทุน ผปู้ ระกอบการ 2 (สินค้าและบรกิ าร) 1 3 1. ปัจจยั การผลิต ปจั จัยการผลติ ผลตอบแทน ทีด่ นิ : พ้นื ดินที่ใช้ในการผลิต + ทรพั ยากรต่างๆ ในดนิ คา่ เช่า ทนุ : สง่ิ ทม่ี นษุ ย์สร้างขนึ้ เพอ่ื ใช้ในการผลติ เช่น เคร่ืองมอื ดอกเบยี้ เครอื่ งจกั รหรอื อปุ กรณต์ า่ งๆ ทง้ั น้ี ยกเวน้ เงนิ ท่ีไม่ ถอื ว่าเป็นทนุ ท่แี ทจ้ ริงทางเศรษฐศาสตร์ หากแตเ่ ป็น ค่าจา้ ง (เงนิ เดือน) สอ่ื กลางในการจัดหาสินค้าเทา่ นัน้ ก�ำไร แรงงาน : ทรพั ยากรมนุษยท์ ่ีใช้แรงกายและความคดิ ในการท�ำงาน ผปู้ ระกอบการ : เปน็ คนที่น�ำท่ีดิน + ทนุ + แรงงานมารวมกนั ให้กลาย เป็นสินคา้ และบริการ เพราะฉะนน้ั ผูป้ ระกอบการจงึ มคี วาม ส�ำคญั มากเพราะสนิ คา้ จะดีมคี ุณภาพนอ้ ยมากแคไ่ หนข้ึน อยูก่ ับผปู้ ระกอบการนั่นเอง ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 45
2. กระบวนการผลติ แบง่ ได้เป็น 3 ขนั้ ตอนใหญๆ่ คือ การผลิตขน้ั ปฐมภูม ิ การผลิตขั้นทตุ ิยภูม ิ การผลติ ขน้ั ตติยภูมิ เป็นข้ันตอนของการขนสง่ และการ เป็นขั้นตอนงา่ ยๆ ไมย่ ุ่งยาก เรมิ่ มคี วามซับซอ้ นมากขึน้ มีการใช้ บรกิ าร เชน่ นำ� เงาะกระปอ๋ งใส่ ไมม่ กี ารแปรรปู ใชเ้ ครือ่ งมือง่ายๆ เครื่องจกั รเข้ามาช่วยในการผลติ มี กล่องแล้วส่งไปขายตามรา้ นต่างๆ เชน่ ท�ำไรอ่ อ้ ย สวนเงาะ เปน็ ต้น การแปรรปู สินคา้ เชน่ เอาเงาะท่ี ทัว่ โลก ได้มาแปรรูปเป็นเงาะกระป๋อง 3. สนิ คา้ : ในทางเศรษฐศาสตรแ์ บ่งไดเ้ ป็นหลายประเภทมากมาย ดังนั้นนี้ กลมุ่ ท่ี 1 กลมุ่ ที่ 2 กลมุ่ ที่ 3 ตามหลักเศรษฐศาสตร์ สินค้าผบู้ ริโภค สินค้าผู้ผลิต (ใช้ในการบรโิ ภค) (น�ำไปใชใ้ นการผลิต) สินคา้ ได้เปล่า เศรษฐทรพั ย์ อาหาร เครื่องนมุ่ หม่ สนิ ค้าคงทน สินค้าไม่คงทน (ทรัพย์เสรี) เครอื่ งใช้สอย เป็นตน้ สิง่ ทมี่ ีอย่ตู าม สินค้าทต่ี ้องซือ้ สนิ ค้าทน่ี �ำมาบริโภค ใช้ไดเ้ พยี งแคค่ รง้ั ธรรมชาตทิ ั่วไป ขายกนั มีตน้ ทนุ ไดห้ ลายครัง้ เชน่ เดยี ว เช่น อาหาร เช่น ลม แสงแดด ในการผลติ ไมไ่ ด้ เส้อื ผา้ วิทยุ โทรทศั น์ นำ�้ มันเช้อื เพลิง อากาศ ที่สำ� คัญ ไดม้ าเปลา่ ๆ เป็นต้น เป็นต้น เราไม่ต้องใชเ้ งิน (งา่ ยๆ คอื ตอ้ ง ซ้อื จา่ ยเงนิ ไมง่ นั้ ซอื้ ไมไ่ ด)้ อรรถประโยชน์ คอื ความพอใจท่ีผูบ้ รโิ ภคไดร้ บั จากการบรโิ ภคสนิ ค้าและบริการ ไดแ้ ก่ • จากการแปรรูป เชน่ จากยาพารา ------> ยางรถยนต์ • จากการเลือ่ นเวลาใช้สอย เชน่ จากมะมว่ ง ------> มะมว่ งดอง • จากการเปลี่ยนสถานท่ี เชน่ จากรา้ นคา้ สง่ ------> ร้านค้าปลีก • จากการเปลยี่ นกรรมสทิ ธ์ิ เช่น การซ้ือขายทดี่ นิ • จากการใหบ้ ริการ เชน่ อาชพี ให้บรกิ ารต่างๆ เชน่ แพทย์ ทนาย ครู เปน็ ต้น 46 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
2. การแลกเปลีย่ น : เป็นการเปลยี่ นความเป็นเจ้าของกัน โดยมีวิวัฒนาการมานานมากแล้วตั้งแตส่ มยั โบราณ สามารถแบ่ง ได้ 3 ระยะ คอื • แบบสิ่งของแลกกับสิง่ ของโดยตรง เช่น ฉันมขี า้ ว เธอมีไข่แลว้ เราเอามาแลกกนั เพราะฉันกอ็ ยากไดไ้ ข่ไปกิน ข้าว เธอเองกอ็ ยากได้ข้าวมากินกับไข่ดว้ ย การแลกเปล่ยี นแบบนี้เราเรียกอีกอย่างวา่ “Barter system” • แบบใชเ้ งนิ : ใชเ้ งนิ เป็นส่อื กลางในการแลกเปล่ยี นแทน • แบบใช้บัตรเครดติ : ใช้บตั รเครดติ แทนเงินสดในการแลกเปลยี่ น เมื่อพดู ถงึ การแลกเปลยี่ น นอกจากจะมเี ร่อื งเงินแลว้ ยงั มี “สถานที”่ ท่ีใชใ้ นการแลกเปล่ียนกนั กค็ อื ตลาด ค�ำวา่ “ตลาด” ในทางเศรษฐศาสตร์นน้ั คอื กิจกรรมการตกลงซ้อื ขายสินค้าหรอื บรกิ ารระหวา่ งผ้ซู อื้ และผขู้ าย โดยไมค่ ำ� นงึ วา่ จะต้องใช้สถานที่ใดๆ เพราะฉะน้นั การซอ้ื ขายกนั ผ่านทาง Facebook หรือ IG ต่างๆ กถ็ อื เป็นตลาดเหมอื นกนั ดงั นั้นสรุปได้ว่า ตลาด = ผขู้ าย + สินคา้ + ผซู้ ื้อ + ความตอ้ งการในการซือ้ ขายแลกเปลีย่ นกัน นอกจากนีเ้ รายงั สามารถแบง่ ตลาดเปน็ ประเภทได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ ดงั น้ี ตลาด (Market) ตลาดแขง่ ขนั สมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไมส่ มบูรณ์ ก่ึงแข่งขนั กง่ึ ผูกขาด ผูข้ ายน้อยราย ผกู ขาด • มีผูซ้ ้อื -ผขู้ ายมาก • มผี ขู้ ายมาก • มีผขู้ ายนอ้ ย • มีผ้ขู ายเพยี งราย • สินค้าเหมอื นกนั ทุกประการ • สนิ คา้ คลา้ ยกนั แตไ่ ม่ • สนิ คา้ ต่างกนั แต่ใช้ เดียว • กลไกตลาดกำ� หนดราคา เหมือนกัน แทนกันได้ • ผู้ขายกำ� หนดราคา • ผูซ้ ้ือผขู้ ายต้องรรู้ าคาสินค้าเปน็ • มกี ารแขง่ ขันกันสงู • ถ้าหากผู้ขายคนหน่ึง เองได้ อย่างดี • มีการโฆษณา และ ปรบั ราคากจ็ ะ • มกั เป็นธรุ กิจขนาด • สามารถเข้า-ออก / ซอื้ -ขาย ยีห่ ้อของสนิ ค้า กระทบต่อผ้ขู ายคน ใหญ่ใช้เงนิ ลงทุนสงู ได้สะดวกและเสรี หลากหลาย อื่นดว้ ย • ตัวอยา่ ง ไฟฟา้ • เป็นตลาดในอดุ มคติ แตต่ ัวอย่าง • ตวั อยา่ งเช่น บะหม่ี • ผ้ขู ายจะขายสนิ คา้ ประปา ถนน หรือ ท่ีใกลเ้ คยี งกพ็ วกตลาดสินค้า กึ่งส�ำเรจ็ รปู เสอ้ื ผา้ เป็นจ�ำนวนมาก รถไฟฟ้า เปน็ ตน้ เกษตร เชน่ ผกั ปลา เน้ือ ท่เี ราจะ รองเท้า เป็นต้น • ตัวอย่าง เชน่ ซ้ือร้านไหนก็เหมอื นๆ กัน ไมต่ ่าง หนงั สอื พมิ พ์ กันมาก คอมพิวเตอร์ สายการบนิ นำ�้ มัน เปน็ ต้น ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 47
3. การบริโภค : การใช้ประโยชน์จากสนิ ค้าและบรกิ ารใดๆ ก็ตามเพือ่ ตอบสนองความต้องการของตนเอง ปัจจัยท่ีท�ำให้เกิดการบริโภค ได้แก่ รายได้ รสนิยม ราคาสินค้า การโฆษณา รายได้ในอนาคตของผู้บริโภค และปรมิ าณสินคา้ ท่มี ใี นตลาด เนื่องจากตลาดแบบท่ีมีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ท�ำให้รัฐต้องคุ้มครองผู้บริโภค เพ่ือไม่ให้เสียเปรียบ โดยมีการออก พ.ร.บ.ค้มุ ครองผบู้ ริโภค พ.ศ. 2522 แก้ไขเพม่ิ เติม พ.ศ. 2541 ซึง่ กลา่ วถึงสทิ ธผิ บู้ รโิ ภคดงั น้ี • สทิ ธทิ ี่จะไดร้ บั ข่าวสารและค�ำพรรณนาทีถ่ กู ต้อง • สิทธิทจ่ี ะเลือกซื้อสนิ คา้ ด้วยความสมคั รใจปราศจากการชกั จงู • สิทธิที่จะได้รบั ความปลอดภัยจากการใช้สนิ ค้าและบริการ • สิทธทิ ่ีจะไดร้ บั ความเป็นธรรมในการท�ำสญั ญา • สิทธทิ จ่ี ะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสยี หาย เม่อื มีการละเมดิ สิทธิ ความสำ� คัญของการค้มุ ครองผ้บู รโิ ภค ดา้ นบริโภค ดา้ นผู้ประกอบการ • กระตนุ้ ใหร้ กั ษาสทิ ธติ นเองตามกฎหมาย • สรา้ งจิตสำ� นึกใหผ้ ลติ สินค้าและบรกิ ารทมี่ ี • ใหร้ ูจ้ กั ป้องกนั และตอ่ ต้านการถกู เอารัด คณุ ภาพตั้งราคาขายอย่างเป็นธรรม และ เอาเปรียบจากผู้ประกอบธรุ กจิ ไม่ค้ากำ� ไรเกินควร เปา้ หมายในการค้มุ ครองผู้บรโิ ภค 1. ได้รับความปลอดภยั จากการบริโภค 2. ไดร้ บั ความเปน็ ธรรมจากการบริโภค 3. มคี วามประหยัดในการบรโิ ภค หนว่ ยงานคุ้มครองผบู้ ริโภค หนว่ ยงาน หน้าที่ สำ� นักงานคณะกรรมการคุ้มครอง รับเรอื่ งราวรอ้ งทกุ ข์ท่ีไมเ่ ปน็ ธรรม เช่น ความไม่เปน็ ธรรมเร่ืองราคา ผู้บรโิ ภค (สคบ.) การโฆษณาเกินจริง สญั ญาท่ีไมเ่ ปน็ ธรรม เปน็ ตน้ ส�ำนักงานคณะกรรมการ กำ� หนดคณุ ภาพและมาตรฐานการผลิตอาหารและยา อาหารและยา (อย.) กรมการค้าภายใน จัดระเบียบการค้าในประเทศ + ปอ้ งกนั การผูกขาด ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ก�ำหนดมาตรฐานและคณุ ภาพผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (มอก.) รวมถึงมี อตุ สาหกรรม (สมอ.) การรบั รองฉลากเขยี วและคณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์ 48 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya
หน่วยเศรษฐกจิ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ต่างๆ จำ� เป็นตอ้ งมผี ู้ประกอบกิจกรรมเสมอ คนทจ่ี ะมาท�ำกิจกรรมเหลา่ นเ้ี ขาเรียกว่า หนว่ ยเศรษฐกจิ ซ่งึ มที ้งั หมด 3 หนว่ ยคือ 1. หนว่ ยครัวเรอื น : กค็ อื คนทอ่ี ยูใ่ นครอบครวั ทำ� หนา้ ทเ่ี ป็นเจา้ ของปัจจยั การผลิตและผ้บู ริโภค 2. หน่วยธรุ กจิ : กลมุ่ คนท่นี ำ� ปจั จัยการผลติ ท่ีได้จากหน่วยครวั เรอื นมาผลติ สนิ ค้าและบรกิ ารแล้วขายใหก้ บั ผู้บรโิ ภค 3. หน่วยรัฐบาล : หน่วยงานราชการต่างๆ ท่ีท�ำหน้าท่ีคอยควบคุมดูแลกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับนโยบายที่ วางไว้ ความสัมพันธ์ของหน่วยเศรษฐกจิ ค่าใชจ้ ่าย ตลาดสินค้า หรอื สินค้าและบรกิ าร ผู้บรโิ ภค หรือ ครวั เรอื น ตลาดผลผลติ รายได้ หรอื เจา้ ของปัจจยั การ ผลติ ผผู้ ลติ หรอื ธรุ กจิ รายได้ ปจั จัยการผลติ ตลาดปจั จัยการผลติ คา่ ใช้จา่ ย ปจั จัยการผลติ จ ากแผนภาพ จะเห็นว่าหน่วยครัวเรือนขายปัจจัยการผลิตให้กับหน่วยธุรกิจและหน่วยธุรกิจก็ขายสินค้าและบริการ กลับไปให้หน่วยครัวเรือน ตัวอย่างง่ายๆ คือ สมมติว่าพ่อท�ำงานเป็นผู้จัดการโรงงานปลากระป๋อง แสดงว่าพ่ออยู่หน่วย ครวั เรอื น และขายปจั จยั การผลติ นน่ั ก็ คอื แรงงานใหก้ บั โรงงาน โรงงานกใ็ หผ้ ลตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื นกลบั มา สว่ นพอ่ อยาก กนิ ปลากระปอ๋ งกซ็ อ้ื ปลากระปอ๋ งทโี่ รงงานขายนกี่ แ็ สดงวา่ โรงงานเปน็ หนว่ ยธรุ กจิ ขายสนิ คา้ ใหก้ บั พอ่ ซงึ่ ทำ� หนา้ ทผ่ี บู้ รโิ ภคดว้ ย ระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกจิ ลกั ษณะ ข้อด ี ข้อเสยี ท นุ นิย ม • เอกชนเปน็ เจา้ ของทรัพย์สนิ • ประชาชนมเี สรีภาพ มี • ความไมเ่ ทา่ เทียมใน และการผลติ แรงจงู ใจในการท�ำงาน การกระจายรายได้ • มีการแขง่ ขนั โดยมีก�ำไรเป็น • ของราคาถกู และ • ธุรกจิ ใหญ่ไดเ้ ปรียบ แรงจงู ใจ คุณภาพดี ธุรกจิ เลก็ • กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ดำ� เนนิ • รัฐไม่แทรกแซงการ • ใชท้ รัพยากรส้ินเปลือง ไปโดยผา่ นกลไกราคา ผลิต • เกดิ ลทั ธิวตั ถุนิยมและ • รฐั บาลมีหนา้ ที่เฉพาะด้าน บรโิ ภคนิยม การออกกฎหมายและบริการ สงั คม ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 49
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122