คมู อื รณรงคใหความรู เรอ� ง สญั ลกั ษณโ ภชนาการ “ทางเลอื กสขุ ภาพ” สำหรบั บุคคลทว่ั ไป โดย สำนกั อาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ
คู่มือรณรงค์ให้ความรู้ เรอื่ ง สัญลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” ส�ำ หรบั บุคคลท่วั ไป โดย สำ�นักอาหาร ส�ำ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา
ผลติ โดย กลุ่มพฒั นาระบบ 1 ฝ่ายเลขานกุ ารคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ส�ำ นักอาหาร ส�ำ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข โทรศัพท์ 0-2590-7406 โทรสาร 02-590-7322 อเี มล์ [email protected] พมิ พ์ครง้ั ท่ี 1 กันยายน 2559 จ�ำ นวนพิมพ์ 1,000 เล่ม ISBN : 978-974-244-389-4
ค�ำน�ำ นโยบายของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ โดยคณะกรรมการเฉพาะเร่ือง ชุดที่ 3 คณะกรรมการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์เพ่ือสร้างความเช่ือมโยงด้านอาหาร และโภชนาการสู่คุณภาพชีวิตที่ดี ก�ำหนดให้มีการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ข้อมูล โภชนาการเพื่อเป็นเคร่ืองมือส�ำหรับผู้บริโภคในการเลือกซ้ือและบริโภคอาหาร ท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมต่อสุขภาพ และส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ผลิต อาหารปรับสูตรผลิตภัณฑ์ให้มีคุณค่าทางโภชนาการที่ดีข้ึน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ของการลดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ของผู้บริโภค ท่ีน�ำไปสู่การลด ความเสี่ยงของการเกิดภาวะโภชนาการเกิน โรคอ้วน และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable diseases, NCDs) ส�ำ นกั อาหาร ส�ำ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ในฐานะฝา่ ยเลขานกุ าร คณะกรรมการอาหารแหง่ ชาติ เลง็ เหน็ ความส�ำ คญั ของปญั หาโภชนาการและอาหาร ปลอดภัย จึงได้ร่วมมือกับสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ผลักดันให้เกิด การดำ�เนินงานขับเคล่ือนสัญลักษณ์โภชนาการ เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือในการส่ือสาร ข้อมูลโภชนาการท่ีลดความซับซ้อนให้กับผู้บริโภค เป็นอีกหน่ึงทางเลือกที่ช่วยให้ ผู้บริโภคสามารถปรับพฤติกรรมการบริโภคให้เหมาะสมมากข้ึน โดยการออก สัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” (Healthier Choice) เพ่ือให้ผู้บริโภค สามารถใช้ในการตัดสินใจเลือกซ้ือผลิตภัณฑ์อาหารท่ีดีต่อสุขภาพได้อย่างรวดเร็ว และง่ายข้ึน โดยการเปรียบเทียบคุณค่าทางโภชนาการในกลุ่มผลิตภัณฑ์อาหาร ประเภทเดียวกัน สำ�นักอาหารจึงจัดทำ�คู่มือรณรงค์ให้ความรู้ เรื่องสัญลักษณ์ โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” ส�ำ หรบั ผู้บรโิ ภค ม่งุ หวังใหป้ ระชาชนและผู้บรโิ ภค สามารถมีความรู้ความเข้าใจในการใช้สัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” (Healthier Choice) เป็นเคร่อื งมอื ในการตดั สินใจเลอื กซื้อเลอื กบรโิ ภคอาหารทด่ี ี มีประโยชน์ต่อสุขภาพ เพื่อการมีคุณภาพชีวิตท่ีดี อันนำ�ไปสู่การแก้ไขปัญหาทาง โภชนาการท่ยี ั่งยืนต่อไป สิงหคณาคะมผู้จ2ัด5ท59�ำ
สารบัญ หน้า ค�ำน�ำ 1 บทน�ำ 3 โรคทเี่ กดิ จากการบริโภคทไี่ ม่เหมาะสม 4 โรคอ้วน 5 กลุ่มโรคไม่ตดิ ตอ่ เรอื้ รัง (NCDs) 7 วธิ ีการห่างไกลโรคอ้วน และโรคไมต่ ิดต่อเรือ้ รัง 8 เลยี่ งอาหารหวาน มนั เค็ม ... เพอื่ ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั 9 หวาน 10 มนั 11 เคม็ 13 อ่านฉลาก ... อย่างฉลาด 13 ฉลากอาหาร 14 ฉลากโภชนาการ 16 ฉลากโภชนาการแบบจีดีเอ 18 ค�ำแนะน�ำในการบริโภค 20 สญั ลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” 25 แบบทดสอบความเขา้ ใจ 29 เอกสารอ้างอิง 4 คู่มือรณรงค์ใหค้ วามรู้ เร่ือง สัญลักษณโ์ ภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” สำ�หรบั บคุ คลทั่วไป
บทน�ำ ปัจจุบันทั่วโลกก�ำลังรณรงค์เพื่อแก้ปัญหาโรคอ้วน (Obesity) และ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั (Non-communicable diseases: NCDs) ไดแ้ ก่ เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง และภาวะไตวายเรอื้ รงั เปน็ ตน้ ปญั หาดงั กลา่ วยงั เปน็ อปุ สรรคส�ำคญั ในการพฒั นาสงั คมและเศรษฐกจิ ของโลก เพราะเป็นต้นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต 38.3 ล้านคน หรือเกือบร้อยละ 70 ของ ผู้เสียชีวิตท้ังหมด (54.8 ล้านคน)(1) และความสูญเสียมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค(2, 3) ซึ่งการเจ็บป่วยและการตายจากโรค ดังกล่าวก่อให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายมหาศาล โดยในช่วงสองทศวรรษ ที่ผ่านมา ประเทศไทยมีภาระโรคท่ีเกิดจากกลุ่มโรค NCDs มีแนวโน้มเพิ่ม สูงข้ึนอย่างน่าวิตก จากรายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ. 2552 พบวา่ กลุ่มโรค NCDs เปน็ สาเหตุการเสยี ชีวิตถึง 314,340 ราย หรือร้อยละ 73 ของการเสียชีวิตของประชากรไทยทั้งหมด ซ่ึงไม่เพียงเป็น ปัญหาท่ีก่อความเดือดร้อนกับผู้ป่วยและครอบครัวโดยตรงเท่านั้น แต่ยังเป็น ปัญหาที่ต่อเนื่องท่ีมีผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งอาจน�ำมาสู่ ความล่มสลายของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในท่ีสุด เน่ืองจาก คา่ ใชจ้ ่ายที่ภาครฐั ต้องจ่ายในการรกั ษาพยาบาลผปู้ ่วยโรคต่างๆ ดังกลา่ ว ในปี พ.ศ. 2552 สูงถึง 5,580.8 ล้านบาท โดยคดิ เป็นร้อยละ 2.01 ของค่าใช้จ่าย ด้านสขุ ภาพทั้งหมดของประเทศ และมแี นวโนม้ ที่สูงขึน้ อย่างตอ่ เน่ือง
วิถชี ีวติ แบบคนเมืองสมยั ใหม่ ทม่ี พี ฤติกรรมการบริโภคอาหารไมถ่ ูกตอ้ ง ตามหลักโภชนาการ โดยเฉพาะการบริโภคอาหารที่มีพลังงานและไขมันสูง โซเดยี มสูง น�้ำตาลสงู กรดไขมันอ่มิ ตัวสูง รวมถึงการท�ำกจิ กรรมทางกายและ การบริโภคผักและผลไม้ที่น้อยเกินไป ล้วนมีผลเสียต่อสุขภาพโดยตรงท้ังสิ้น การปรบั เปลยี่ นการบรโิ ภคอาหารใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั โภชนาการจงึ เปน็ กลยทุ ธ์ เชิงป้องกันที่ส�ำคัญ ซ่ึงภาครัฐเร่งด�ำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพและให้เกิด ประสิทธิผลอย่างเร่งด่วน เพื่อลดอุบัติการณ์ของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ก�ำลัง ขยายตัวอย่างรวดเร็ว การที่ภาครัฐต้องการใช้อาหารเป็นกลยุทธ์ในการลด ความเสี่ยงของการเกิดโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง จ�ำเป็นต้องส่งเสริมให้ผู้บริโภคมี ความรู้ที่เพียงพอในการเลือกซ้ือเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับสภาวะ รา่ งกายและสขุ ภาพของตน และตอ้ งสง่ เสรมิ ใหม้ อี าหารซง่ึ มคี ณุ คา่ เหมาะสมที่ ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงซื้อหาได้ง่ายและสะดวก ท้ังนี้ สังคมปัจจุบันผู้บริโภค มีการบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารท่ีผลิตจากโรงงานอุตสาหกรรมมากข้ึน ฉลาก บนบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์อาหารจึงกลายเป็นเครื่องมือในการส่ือสารและ ใหค้ วามรกู้ บั ผบู้ รโิ ภคทมี่ คี วามส�ำคญั มาก และยงั เปน็ ชอ่ งทางทสี่ �ำคญั ของผผู้ ลติ ในการโฆษณา ประชาสมั พนั ธส์ ินค้าแกผ่ ู้บรโิ ภค เพือ่ เพิ่มมูลคา่ ของผลิตภณั ฑ์ และโอกาสในการแข่งขันทางการค้า ทั้งน้ี ฉลากท่ีมีข้อมูลครบถ้วนและเข้าใจ ง่ายย่อมช่วยให้ผู้บริโภคสามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกซ้ือ ผลติ ภณั ฑ์อาหารทมี่ ีคณุ ค่าโภชนาการเหมาะสมและดตี ่อสุขภาพ ด้วยเหตุน้ี คณะกรรมการขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์เพอ่ื สร้างความเชื่อมโยง ด้านอาหารและโภชนาการสู่คุณภาพชีวิตท่ีดี โดยส�ำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยาเปน็ ฝา่ ยเลขานกุ าร จงึ ไดม้ ขี อ้ เสนอแนะตอ่ คณะกรรมการอาหาร แหง่ ชาติ ใหส้ ง่ เสรมิ การใชข้ อ้ มลู โภชนาการในรปู แบบสญั ลกั ษณโ์ ภชนาการเพอ่ื เป็นเคร่ืองมือส�ำหรับผู้บริโภคในการเลือกซ้ือและบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทาง โภชนาการเหมาะสมตอ่ สขุ ภาพ อกี ทง้ั เพอื่ สง่ เสรมิ ใหผ้ ผู้ ลติ และผนู้ �ำเขา้ อาหาร พัฒนาสตู รผลิตภัณฑ์อาหารให้มีคุณคา่ ทางโภชนาการที่ดีต่อสุขภาพยง่ิ ข้ึน 2 ค่มู ือรณรงค์ให้ความรู้ เรอ่ื ง สญั ลกั ษณโ์ ภชนาการ “ทางเลอื กสขุ ภาพ” สำ�หรบั บุคคลท่ัวไป
โรคทเี่ กิดจาก การบรโิ ภคที่ไมเ่ หมาะสม ภาวะโภชนาการเกิน (Over Nutrition) คือ สภาพร่างกายท่ีได้รับ อาหารหรอื สารอาหารบางอยา่ งเกนิ กวา่ ทร่ี า่ งกายตอ้ งการเปน็ ระยะเวลาตดิ ตอ่ กันนานๆ เช่น ได้รับสารอาหารท่ีให้พลังงานมากเกินไปจนเกิดการสะสม พลงั งานขนึ้ ในรา่ งกายในรปู ของไขมนั จนเกดิ โทษแกร่ า่ งกาย เชน่ โรคอว้ น และ ท�ำใหเ้ กดิ โรคอนื่ ๆ ตามมา เช่น โรคเบาหวาน โรคไขมนั ในเลือดสงู จากรายงานการส�ำรวจสุขภาพประชาชน คร้งั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2 พบว่า ประชากรไทยมภี าวะอว้ น (BMI ≥ 25 กก./ม2) มแี นวโน้มสูงขน้ึ อยา่ งชัดเจน โดยเฉพาะในผูหญิงเพิ่มจากรอยละ 34.4 ในป 2547 เปนรอยละ 40.7 สว นในผชู ายเพ่มิ จากรอยละ 22.5 เปน รอยละ 28.4 ภาวะอวนลงพงุ เพิ่มขึน้ จากรอ ยละ 18.6 เป็นรอ้ ยละ 45 ตามล�ำดับ(4) โดยสาเหตุทท่ี �ำใหโ้ ภชนาการ เกิน เกดิ จากการมีพฤติกรรมการบริโภคที่เปลีย่ นแปลงไป คือ การรบั ประทาน อาหารท่ีไม่เหมาะสม เช่น อาหารจานด่วน ขนมกรุบกรอบ น�้ำหวาน นำ้� อดั ลม ทมี่ ากเกินไป เพราะอาหารดังกล่าวมีสว่ นประกอบคอื แปง้ น�้ำตาล ไขมัน และผงชูรส ซ่ึงท�ำให้ร่างกายได้รับพลังงานมากเกินไป อีกทั้งยังขาด การออกก�ำลังกาย จงึ กอ่ ให้เกดิ ภาวะโภชนาการเกนิ อันเป็นทมี่ าของโรคอ้วน รวมไปถึงปัญหาสขุ ภาพด้านอ่นื ๆ ดว้ ย คู่มือรณรงค์ให้ความรู้ เรื่อง สัญลกั ษณโ์ ภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” ส�ำ หรับบุคคลทวั่ ไป 3
โรคอ้วน โรคอ้วน คือ ภาวะที่รา่ งกายมกี ารสะสมของไขมันมากกว่าปกติ การทม่ี ี การสะสมของไขมันมากข้ึนอาจเน่ืองมาจากร่างกายได้รับพลังงานเกินกว่าท่ี ร่างกายต้องการ จึงมีการสะสมพลังงานท่ีเหลือเอาไว้ในรูปของไขมันตาม อวัยวะต่างๆ และน�ำมาซึ่งสาเหตุของโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง ซ่ึงเมื่อเป็นโรคใด โรคหน่ึงแล้ว โรคอื่นๆ ก็จะตามมาได้ง่ายกว่าคนท่ีมีภาวะโภชนาการปกติ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือด สมองตบี เปน็ ตน้ อ้วนหรอื ไม่.....วัดอยา่ งไร การประเมินภาวะโภชนาการเบื้องตน สามารถท�ำได้ด้วยตนเอง 2 วิธี ง่ายๆ ได้แก่ การหาคา่ ดชั นีมวลกาย (BMI) และการวดั เส้นรอบเอว (1) ดชั นมี วลกาย (Body Mass Index หรือ BMI) คือ การประเมินภาวะอว้ นหรอื ผอมในผใู้ หญ่ สตู รค�ำนวณ ดัชนีมวลกาย = (นำ�้ หนัก (กิโลกรัม)) (สว่ นสูง (เมตร) x สว่ นสูง (เมตร)) ดงั นนั้ หากมนี �ำ้ หนัก 70 กโิ ลกรมั มสี ว่ นสงู 160 เซนตเิ มตร จะมคี ่าดัชนี มวลกายท่ี 27.34 กก./ม.2 4 คมู่ อื รณรงค์ใหค้ วามรู้ เรือ่ ง สัญลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” ส�ำ หรบั บุคคลทัว่ ไป
คา่ ดัชนีมวลกาย (กก./ม.2) ภาวะโภชนาการ น้อยกว่า 18.5 ผอม 18.5-22.9 ปกติ 23.0-24.9 ทว้ ม 25.0-29.9 อว้ น 30.0-39.9 อว้ นมาก มากกวา่ 40 อ้วนอนั ตราย (2) การวดั เส้นรอบเอว หรอื เสน้ รอบพงุ โดยทว่ั ไปจะวดั รอบเอว ตรงระดบั สะดอื พอดี เพอ่ื ประเมนิ ความเสยี่ ง ต่อการก่อโรค ผู้ชาย : เส้นรอบเอวนอ้ ยกว่า 90 เซนติเมตร ผูห้ ญงิ : เส้นรอบเอวนอ้ ยกวา่ 80 เซนตเิ มตร ถ้าเส้นรอบเอวใหญ่เกินกว่าค่าดังกล่าวนี้แล้วก็จะมีความเส่ียงต่อ การเกิดภาวะอว้ นลงพุง อาจส่งผลให้เกดิ โรคไม่ตดิ ตอ่ เร้อื รงั ต่างๆ สูงขน้ึ โรคไมต่ ิดตอ่ เร้อื รงั โรคไมต่ ดิ ต่อเรื้อรัง หรือ โรค NCDs (Non -Communicable Diseases) เป็นโรคท่ีเกี่ยวกับนิสัยหรือพฤติกรรมการด�ำเนินชีวิต ซึ่งโรคกลุ่มนี้จะค่อยๆ สะสมอาการ ค่อยเกิด ค่อยทวีความรุนแรง และเม่ือมีอาการของโรคแล้วจะ เกดิ การเรื้อรังของโรคตามมาด้วย ซ่ึงไดแ้ ก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหติ สงู โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ คู่มือรณรงค์ให้ความรู้ เร่อื ง สัญลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” สำ�หรบั บคุ คลทั่วไป 5
โรคอว้ นลงพงุ โรคไตเร้ือรงั โรคไขมันในเลอื ดสูง โรคมะเร็ง ปัจจุบัน โรค NCDs นับว่าเป็นปัญหาสุขภาพท่ีส�ำคัญระดับ ประเทศและระดับโลก ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงข้ึน ซึ่งปัจจัยท่ีมีผลต่อ การเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบ่งเป็น ปัจจัยท่ีไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (Non-modifiable risk factors) เช่น อายุ เพศ และพันธุกรรม ปัจจัยท่ี เปลยี่ นแปลงได้ (Modifiable risk factors) เช่น การสูบบหุ ร่ี การรบั ประทาน อาหารท่ีไม่เหมาะสม การขาดการออกก�ำลังกาย และการด่ืมแอลกอฮอล์ ซึ่งปัจจัยเหล่าน้ี ท�ำให้เกิดภาวะน�้ำหนักเกินและโรคอ้วน ความดันโลหิตสูง น้�ำตาลในเลือดสงู และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ซึ่งน�ำไปสู่การเกิดโรคตา่ งๆ ปัจจยั เสย่ี งตอ่ โรคไม่ตดิ ตอ่ เร้อื รงั หกวาารนรับจัดปรเะคทม็ าจนัดอมาันหจารดั กาแรอดลมื่ กเคอรฮือ่ องลด์ ม่ื การสบู บุหรี่ ความเครยี ด การขาดการออกก�ำลังกาย 6 คูม่ อื รณรงค์ให้ความรู้ เรอื่ ง สัญลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลอื กสุขภาพ” ส�ำ หรบั บุคคลทว่ั ไป
วิธกี ารหา่ งไกลโรคอ้วนและโรคไม่ตดิ ต่อเรือ้ รัง (หลกั 3 อ.) อาหาร กินใหค้ รบทั้ง 3 ม้อื ตอ้ งไมง่ ดอาหารมื้อใดมื้อหนงึ่ เลือกกนิ อาหารพลังงานตำ่� หรือลดปรมิ าณอาหารทุกม้อื ทีก่ ิน กนิ ผัก ผลไม้ รสไม่หวานในมอื้ อาหารใหม้ ากข้นึ หลีกเล่ียงอาหารหวาน มนั เค็ม เคยี้ วอาหารช้าๆ ใชเ้ วลาเคี้ยวประมาณ 30 คร้ัง ตอ่ 1 ค�ำ ดมื่ นำ�้ เปลา่ แทนน�้ำหวาน น�้ำอดั ลม กาแฟเย็น โกโกเ้ ยน็ ชาเยน็ ออกก�ำลงั กาย ออกก�ำลังกายอยา่ งตอ่ เนื่องนานกว่า 45 นาทีขน้ี ไป 5 วนั ต่อสปั ดาห์ เช่น เดินเร็ว วิ่งเหยาะๆ ขจ่ี ักรยาน วา่ ยนำ�้ หรือเต้นแอโรบิก เดนิ ขึ้นบนั ไดแทนการใช้ลิฟท์ เพิ่มการเดนิ ให้ได้ 8,000-10,000 กา้ ว ต่อวัน อารมณ์ คือ อารมณ์ความมุ่งมั่นแต่เป้าหมายการลดน�้ำหนัก ต้องมีจิตใจท่ีม่ันคง แนว่ แน่ หากไม่สามารถควบคมุ อารมณแ์ ละความรู้สกึ ได้ จะท�ำให้เลกิ ความคิด ในการลดน�ำ้ หนกั ในทีส่ ดุ การรบั ประทานรสชาติ หวาน มนั เคม็ มากเกนิ ไป ท�ำใหเ้ กดิ ภาวะ โภชนาการเกินส่งผลให้เป็นโรคอ้วน และโรคร้ายแรงเรื้อรังอ่ืนๆ ตามมา ดงั นนั้ เพอื่ หลกี เลย่ี งภาวะโภชนาการเกนิ เราควรใส่ใจอาหาร การกนิ และปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมใหเ้ หมาะสมกนั ดกี วา่ คู่มือรณรงค์ใหค้ วามรู้ เรือ่ ง สญั ลกั ษณโ์ ภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” สำ�หรับบุคคลทัว่ ไป 7
เลยี่ งอาหาร หวาน มัน เค็ม เพ่อื ลดโรคไม่ติดตอ่ เรือ้ รงั ถึงแม้ว่าพลังงานจากสารอาหารจะมีบทบาทส�ำคัญต่อร่างกาย แต่ส่ิงท่ีส�ำคัญเช่นกันคือ ปริมาณน้�ำตาล ไขมัน และโซเดียมในอาหาร หรอื ทเ่ี รารจู้ กั ในนามของ ความหวาน ความมนั และความเค็ม เพราะ หากรบั ประทานมากจนเกนิ พอดอี าจสง่ ผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพในระยะยาวได้ ดังนั้นเพื่อให้เกิดความเข้าใจท่ีถูกต้อง และสามารถบริโภคได้อย่าง เหมาะสมเพ่ือสุขภาพท่ีดี ดังนั้นผู้บริโภคจึงควรเรียนรู้ถึงความส�ำคัญ ที่มา ปริมาณท่ีควรบริโภค ดงั ตอ่ ไปนี้ ËÇÒ¹ à¤Áç Áѹ 8 คู่มอื รณรงค์ใหค้ วามรู้ เร่อื ง สญั ลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” ส�ำ หรบั บุคคลทว่ั ไป
หวาน ท�ำความรูจ้ ักความหวาน ความหวานทเ่ี รารจู้ กั กนั ดี คอื นำ�้ ตาล ซง่ึ จะพบไดใ้ นอาหารเกอื บทกุ ชนดิ เป็นสารอาหารจ�ำพวกคารโ์ บไฮเดรตท่ีให้พลังงานแก่ร่างกาย กนิ หวานมากมีผลตอ่ สขุ ภาพอยา่ งไร หากเราบริโภคน�้ำตาล หรืออาหารท่ีมีรสหวานมากจนเกินไป พลังงาน ที่ร่างกายใช้ไม่หมดจะถูกเปลี่ยนเป็นไขมันสะสมในร่างกาย ส่งผลให้มี น�ำ้ หนักเกิน อ้วน และท�ำใหเ้ กดิ โรคอนื่ ๆ ตามมา แหล่งของนำ้� ตาล น้�ำตาลพบในอาหารเกือบทุกชนิด แฝงตัวในรูปคาร์โบไฮเดรต ดังน้ัน การเลือกกินอาหารที่มีปริมาณน้�ำตาลมากหรือน้อย จึงเป็นสิ่งส�ำคัญของ การดแู ลรา่ งกายให้มสี ุขภาพดี กนิ หวานได้เทา่ ไร ใน 1 วัน ไม่ควรบริโภคน้�ำตาลเกินวันละ 24 กรัม หรือประมาณ 6 ช้อนชา เทคนิคง่ายๆ ในการลดอาหารหวาน 1. ชิมกอ่ นปรุงทกุ ครัง้ 2. ไมเ่ ติมน�ำ้ ตาลหรือปรุงรสหวานในอาหารท่บี ริโภค 3. หลกี เลยี่ งการกนิ ขนมหวาน หนั มาบรโิ ภคผลไมท้ ม่ี รี สหวานน้อย 4. หลีกเลย่ี งการบริโภคเคร่อื งด่ืมทมี่ รี สหวาน เช่น ชา กาแฟ นำ�้ อัดลม และนมปรงุ แตง่ รส 5. อา่ นฉลากโภชนาการก่อนซ้อื ทกุ ครัง้ คูม่ อื รณรงค์ให้ความรู้ เรือ่ ง สญั ลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” ส�ำ หรบั บุคคลทวั่ ไป 9
มัน ท�ำความรจู้ ักกับไขมัน ไขมนั / น้ำ� มนั ท�ำหน้าท่ีให้พลงั งานและความอบอุ่นแกร่ า่ งกาย และช่วย ในการดูดซึมวิตามนิ เอ ดี อี เค กนิ ไขมนั มากมีผลต่อสขุ ภาพอย่างไร การได้รับไขมันมากเกินไปท�ำให้เส่ียงต่อภาวะอ้วน ส่วนการบริโภค กรดไขมนั อม่ิ ตวั และกรดไขมนั ทรานสม์ ากเกนิ ไป จะท�ำใหล้ ดระดบั ของไขมนั ดี (HDL-Cholesterol) และเพ่มิ ระดับของไขมนั เลว (LDL-Cholesteral) ท�ำให้ เส่ียงต่อสภาวะการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด และควรหลีกเล่ียงอาหาร รสหวานจัด ขนมหวานทุกชนิด เน่ืองจากร่างกายสามารถน�ำไปผลิตเป็น ไตรกลีเซอร์ไรด์ หากไตรกลีเซอรืไรด์ในเลือดสูง จะท�ำให้หลอดเลือดแดง แขง็ ตัว ถา้ เกดิ ท่ีหัวใจท�ำให้เป็นโรคหัวใจขาดเลือด หรอื ถา้ เกิดท่ีสมองจะส่งผล ให้เป็นอมั พาต กินไขมนั ไดเ้ ทา่ ไร ใน 1 วนั ไมค่ วรบรโิ ภคนำ�้ มนั เกนิ วนั ละ 30 กรมั หรอื ประมาณ 6 ชอ้ นชา เทคนคิ ง่ายๆ ในการลดอาหารมัน 1. หลกี เลย่ี งอาหารประเภททอดนำ�้ มนั ลอย เช่น ปาทอ่ งโก๋ ไก่ทอด และกล้วยทอด 2. หลกี เลี่ยงอาหารที่มกี ะทิ เช่น แกงกะทิ และขนมหวานท่มี กี ะทิ 3. ปรบั เปล่ยี นวิธีการปรงุ อาหารเพ่ือสขุ ภาพ โดยใช้น�ำ้ มันเลก็ นอ้ ย เชน่ ต้ม ต๋นุ นึง่ ลวด ปง้ิ ย่าง และอบ 4. ควรจ�ำกดั ตัวเองในการบริโภคอาหารประเภททอดและกะทิ โดยใหเ้ ลือกทานไดว้ นั ละ 1 อยา่ ง 10 คู่มือรณรงค์ใหค้ วามรู้ เร่อื ง สญั ลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” ส�ำ หรบั บุคคลทวั่ ไป
5. เลือกกินเน้อื สตั วล์ ้วน ไม่ตดิ หนังและเอามนั ออก 6. เลอื กไขมนั ดใี นการประกอบอาหาร เชน่ นำ้� มนั ร�ำขา้ ว นำ�้ มนั ถว่ั เหลอื ง เราไดร้ ับไขมันจากท่ีใดบา้ ง อาหารธรรมชาติ ไขมันจากสัตว์ ได้แก่ น้�ำมันหมู หมูติดมัน หนงั ไก่ ไขมันจากพืช ได้แก่ เม็ดมะม่วงหิมพานต์ น�้ำมันมะพร้าว น้�ำมันปาล์ม กะทิ และอาหารประเภทถ่ัวต่างๆ จากการปรงุ อาหาร ไดแ้ ก่ การทอด และการผัดทีใ่ ชน้ �ำ้ มันมาก จากการแปรรปู ได้แก่ ทูนา่ ในน�ำ้ มันพชื ผลิตภณั ฑเ์ บเกอร่ี กุนเชยี ง ไสก้ รอก เคม็ ท�ำความรจู้ กั กับความเคม็ ความเค็มท่ีเรารู้จักกันดี คือ เกลือ ซึ่งเกลือมาจากโซเดียมคลอไรด์ ทเี่ ป็นส่วนประกอบของเครอ่ื งปรงุ รสเค็มและอาหารทม่ี ีรสเค็ม กนิ เคม็ มากมีผลต่อสุขภาพอยา่ งไร การบริโภคเค็มมากไปท�ำให้เส่ียงต่อภาวะความดันโลหิตสูง และอาจ ท�ำให้มีโรคแทรกซ้อนตามมา เช่น เส้นเลือดหัวใจตีบ เส้นเลือดในสมองแตก ไตวาย เปน็ ตน้ แหล่งของโซเดียม ได้จากท้ังอาหารธรรมชาติ การปรุงแต่งรสอาหาร โดยเฉพาะการเติม เคร่ืองปรุง ได้แก่ เกลือ น�้ำปลา ซีอ๊ิว อาหารแปรรูป เช่น ผักดอง ไข่เค็ม ปลาร้า หมูยอและไส้กรอก อาหารก่ึงส�ำเร็จรูป เช่น บะหมี่ก่ึงส�ำเร็จรูป โจก๊ ก่ึงส�ำเร็จรปู และขนมขบเค้ียวตา่ งๆ คูม่ อื รณรงค์ใหค้ วามรู้ เร่ือง สัญลักษณโ์ ภชนาการ “ทางเลอื กสุขภาพ” ส�ำ หรับบุคคลทั่วไป 11
กินเค็มได้เท่าไร ใน 1 วัน ไมค่ วรบริโภคเกลอื เกนิ วันละ 5 กรมั หรอื ประมาณ 1 ช้อนชา หรือคิดเปน็ โซเดยี มไมเ่ กิน 2,000 มิลลิกรมั เทคนคิ ง่ายๆ ในการลดอาหารเค็ม 1. ชิมก่อนปรุงทุกคร้ัง 2. ลดการเติมเครื่องปรุงรส เพราะในเคร่ืองปรุงรสเกือบทุกชนิด มปี ริมาณโซเดียมสูง 3. ลดการกนิ อาหารแปรรปู ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ไสก้ รอก หมยู อ แหนม เบคอน ผักดอง ผลไม้ดอง ปลาเค็ม ไขเ่ คม็ และเต้าหูย้ ี้ 4. ลดการกินอาหารกึ่งส�ำเร็จรูปให้น้อยลง และไม่ควรใส่เครื่องปรุง จนหมดซอง 5. ลดความถี่และปริมาณน้�ำจ้ิมของการกินอาหารที่มีน้�ำจิ้ม เช่น อาหารทอด สุกี้ หมกู ระทะ หอยทอด และเฟรนฟรายด์ เพราะในน�้ำจม้ิ จะมี โซเดียมแฝงอยู่ 6. หลกี เลี่ยงการกินอาหารจานดว่ น เพราะจะมีโซเดียมสูง 7. ลดการกนิ ขนมกรุบกรอบให้น้อยลง 8. ไมค่ วรมีขวดน้ำ� ปลา ซีอิ๊ว ซอสปรุงรส เกลือ บนโต๊ะอาหาร 9. อ่านฉลากโภชนาการก่อนซื้อทุกครั้ง โดยเลือกผลิตภัณฑ์ท่ีมี โซเดียมไมเ่ กนิ 200 มิลลกิ รัมตอ่ หนึง่ หน่วยบรโิ ภค(5) 12 คู่มือรณรงค์ใหค้ วามรู้ เรือ่ ง สัญลกั ษณโ์ ภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” สำ�หรบั บุคคลทวั่ ไป
อา่ นฉลาก.....อย่างฉลาด ฉลากบนบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์อาหาร มี 2 ประเภท ได้แก่ ฉลาก อาหาร และฉลากโภชนาการ 1. ฉลากอาหาร ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี 367) พ.ศ. 2557 เร่ือง การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ โดยก�ำหนดให้อาหารในภาชนะ บรรจทุ ตี่ อ้ งแสดงฉลาก หมายถงึ อาหารทม่ี ภี าชนะหมุ้ หอ่ เพอื่ จ�ำหนา่ ย สามารถ จ�ำแนกตามวตั ถุประสงคไ์ ด้เปน็ 4 กลุม่ ไดแ้ ก่ (1) ข้อมูลด้านความปลอดภัย ประกอบด้วย วันที่ผลิต/วันหมดอายุ วธิ ีการเกบ็ รักษา วธิ ีปรงุ ค�ำเตอื นต่าง ๆ (ในกรณที ี่กฎหมายก�ำหนด) (2) ข้อมูลด้านความคุ้มค่า ประกอบด้วย ชื่อ/ประเภทของอาหาร ส่วนประกอบ ซ่ึงเรียงล�ำดับตามปริมาณท่ีใช้จากมากไปน้อย และปริมาณ อาหาร (น�ำ้ หนัก หรอื ปรมิ าตร) ในภาชนะบรรจุ (3) ข้อมูลเพอ่ื การโฆษณา ไดแ้ ก่ รูปภาพและขอ้ ความกล่าวอ้างต่างๆ (4) ขอ้ มลู เพอ่ื แสดงความเช่อื ม่ัน ไดแ้ ก่ ย่หี อ้ อาหาร ช่ือและที่อยู่ผู้ผลิต ผู้จ�ำหน่ายหรือผู้น�ำเข้า เครื่องหมาย อย. (ในกรณีท่ีกฎหมายก�ำหนด) และ ตราสัญลกั ษณต์ ่างๆ คมู่ อื รณรงค์ใหค้ วามรู้ เรอื่ ง สญั ลักษณโ์ ภชนาการ “ทางเลอื กสุขภาพ” ส�ำ หรบั บุคคลทว่ั ไป 13
ฉลากอาหาร ก�ำหนดให้แสดงข้อความเป็นภาษาไทย แต่จะมีภาษา ตา่ งประเทศด้วยก็ได้ และอยา่ งน้อยควรมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี 1. ชอื่ อาหาร 2. ชอ่ื และท่ตี ง้ั ของผูผ้ ลติ หรือผ้แู บง่ บรรจุ หรือช่อื และทต่ี ง้ั ของผนู้ �ำเข้า และประเทศผู้ผลติ 3. ปริมาณของอาหารเป็นระบบเมตรกิ 4. สว่ นประกอบทส่ี �ำคญั เปน็ รอ้ ยละของนำ้� หนกั โดยประมาณ เรยี งตาม ล�ำดับจากมากไปนอ้ ย 5. วนั เดือน และปที ีผ่ ลิต หรือเดือนและปีทีผ่ ลิต หรือ วนั เดอื น และปี ท่หี มดอายุการบรโิ ภค 6. เลขสารบบอาหาร (ถา้ ม)ี 2. ฉลากโภชนาการ ฉลากโภชนาการ คือ ส่วนหน่ึงบนฉลากผลิตภัณฑ์อาหารที่มีการแสดง ข้อมูลและความรู้ด้านคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหารนั้น1 โดย ชนิดของสารอาหารที่ระบุ ได้แก่ ชนิดท่ีจ�ำเป็นต้องบริโภคเพ่ือป้องกันปัญหา โภชนาการขาด และจ�ำกัดการบริโภคเพื่อลดความเส่ียงของโรคโภชนาการ เกิน ซ่ึงมีการน�ำเสนอปริมาณที่มีเปรียบเทียบกับปริมาณท่ีควรได้รับต่อวัน ส�ำหรับผู้ท่ีมีอายุ 6 ปีหรือมากกว่า ซึ่งต้องการพลังงาน 2,000 กิโลแคลอรี ตวั อยา่ งของฉลากโภชนาการ แสดงไว้ในภาพท่ี 1 1ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบบั ท่ี 182) พ.ศ.2541 เร่อื ง ฉลากโภชนาการ 14 ค่มู ือรณรงค์ใหค้ วามรู้ เร่ือง สัญลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลอื กสขุ ภาพ” สำ�หรบั บคุ คลท่ัวไป
ประโยชน์ของการแสดงฉลากโภชนาการ คือ เป็นการให้ข้อมูลความรู้ ทางโภชนาการแก่ผู้บริโภคในการเปรียบเทียบเพ่ือตัดสินใจเลือกซื้อ และ บริโภคอาหารตามความเหมาะสมกับสภาพร่างกายและสุขภาพ นอกจากนี้ ยงั สามารถใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบการกลา่ วอา้ งปรมิ าณสารอาหารในผลติ ภณั ฑ์ ดว้ ย อยา่ งไรกต็ าม ผลการส�ำรวจความเข้าใจของผู้บรโิ ภคตอ่ ฉลากโภชนาการ โดยนติ ยสารฉลาดซอื้ พบวา่ ผบู้ รโิ ภครอ้ ยละ 67.5 ไมเ่ คยอา่ นฉลากโภชนาการ และในจ�ำนวนผอู้ า่ นฉลากโภชนาการ พบวา่ รอ้ ยละ 32.5 อา่ นฉลากโภชนาการ ไม่รู้เรื่อง ผู้บริโภคส่วนใหญ่เห็นว่าฉลากโภชนาการยากเกินไป และท�ำให้ ผู้บริโภคสบั สน ปัญหาดังกล่าวท�ำให้นักโภชนาการพยายามหาวิธีการน�ำเสนอฉลาก โภชนาการในรูปแบบที่เข้าใจง่าย และเป็นมิตรต่อผู้บริโภค โดยเน้นน�ำเสนอ ประเด็นทเี่ ป็นปญั หาสุขภาพ ซ่ึงเป็นท่มี าของการทดลองใช้ฉลากจดี เี อ (GDA) ซึ่งแสดงบนส่วนหน้าบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์อาหารบางประเภทท่ีกฏหมาย บงั คับใช้ คู่มือรณรงค์ใหค้ วามรู้ เรอื่ ง สัญลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลอื กสขุ ภาพ” สำ�หรับบคุ คลท่ัวไป 15
3. ฉลากจดี เี อ (GDA) ฉลากจีดเี อ (Guideline Daily Amounts) เปน็ ฉลากโภชนาการรปู แบบ หนึ่งที่ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาก�ำหนดขึ้นเพ่ือให้ผู้บริโภคเข้าใจ คุณค่าโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหารได้ง่ายและสะดวกขึ้น โดยก�ำหนดให้ แสดงปริมาณค่าของพลังงาน น้�ำตาล ไขมัน และโซเดียมในหน่วยเมตริก (หนว่ ยของพลงั งานเปน็ กโิ ลแคลอร)ี ของอาหารทง้ั บรรจภุ ณั ฑ์ (1 ซอง/ 1 กลอ่ ง) ในรูปทรงกระบอกเรียงติดกัน 4 รูป และช่วงล่างใต้รูปทรงกระบอกแสดงค่า ร้อยละของปริมาณสูงสุดที่บริโภคได้ต่อวัน2 ท้ังนี้ฉลาก จีดีเอ ได้บังคับใช้ใน ผลิตภณั ฑ์อาหาร 5 กลมุ่ ได้แก่ (1) อาหารขบเค้ยี ว ไดแ้ ก่ (1.1) มันฝรั่งทอดหรอื อบกรอบ (1.2) ขา้ วโพดค่ัวทอดหรืออบกรอบ (1.3) ขา้ วเกรยี บ ทอด หรอื อบกรอบ หรอื อาหารขบเคย้ี วชนดิ อบพอง (1.4) ถว่ั หรอื นตั ทอด หรอื อบกรอบ หรอื อบเกลอื หรอื เคลอื บปรงุ รส (1.5) สาหรา่ ยทอด หรอื อบกรอบ หรอื เคลอื บปรงุ รส (1.6) ปลาเส้นทอด หรอื อบกรอบหรือปรงุ รส (2) ช็อกโกแลต และผลิตภณั ฑ์ในทํานองเดียวกนั น้ี (3) ผลิตภัณฑ์ขนมอบ ได้แก่ (3.1) ขนมปงั กรอบ หรอื แครกเกอร์ หรือบิสกติ (3.2) เวเฟอร์สอดไส้ (3.3) คกุ กี้ (3.4) เค้ก (3.5) พาย เพสตร้ี ทง้ั ชนิดทม่ี ีและไม่มไี ส้ 16 คู่มือรณรงค์ให้ความรู้ เร่ือง สัญลกั ษณโ์ ภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” สำ�หรับบคุ คลทั่วไป
(4) อาหารก่งึ สาํ เร็จรปู ได้แก่ (4.1) ก๋วยเต๋ียว ก๋วยจ๊ับ บะหม่ี เส้นหมี่ และวุ้นเส้น ไม่ว่าจะมี การปรงุ แต่งหรือไม่ก็ตาม พร้อมซองเคร่ืองปรงุ (4.2) ขา้ วตม้ ทป่ี รงุ แตง่ และโจ๊กที่ปรุงแต่ง (5) อาหารมอื้ หลกั ทเี่ ปน็ อาหารจานเดยี ว ซง่ึ ตอ้ งเกบ็ รกั ษาไวใ้ นตเู้ ยน็ หรอื ตแู้ ชแ่ ข็งตลอดระยะเวลาจาํ หนา่ ย อย่างไรก็ตาม ส�ำนักอาหาร ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ส�ำรวจในปี พ.ศ. 2556 พบวา่ ผบู้ รโิ ภคส่วนใหญย่ งั ไมเ่ ขา้ ใจฉลากจีดีเอ (GDA) และไม่สามารถใช้ในการตัดสินใจเลือกซ้ือผลิตภัณฑ์อาหาร แม้จะได้มีการ รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ และสื่อสารท�ำความเข้าใจแล้ว ซ่ึงยังต้อง ใช้ระยะเวลาในการให้ความรู้แก่ผู้บริโภคต่อไป ในขณะเดียวกันจึงท�ำให้ นักโภชนาการพิจารณาทางเลือกอ่ืนที่จะช่วยในการตัดสินใจของผู้บริโภค และนา่ จะน�ำไปส่กู ารพฒั นาผลติ ภัณฑอ์ าหารทมี่ ีคุณค่าโภชนาการทด่ี ีข้ึน คูม่ ือรณรงค์ให้ความรู้ เร่อื ง สญั ลักษณโ์ ภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” สำ�หรับบุคคลทว่ั ไป 17
สญั ลักษณโ์ ภชนาการ (Healthier Choice) การส่อื สารฉลากทางโภชนาการที่ลดความซับซ้อนลงให้กบั ผู้บรโิ ภคอาจ เป็นทางเลือกที่ช่วยให้ผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคท่ีเหมาะสมมากข้ึน โดยการออกสัญลักษณ์โภชนาการท่ีมีความง่าย (Simplified Logo) แสดง คุณสมบัติทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหารอย่างชัดเจน เพ่ือให้ผู้บริโภค สามารถตัดสินใจเลือกซื้อได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องใช้เวลามาก เน่ืองจาก ผลการศึกษาทางการตลาดแสดงว่าผู้บริโภคใช้เวลาเพียงไม่ก่ีวินาทีในการ พจิ ารณาฉลากก่อนซือ้ ส�ำนักอาหาร ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ในฐานะฝ่าย เลขานุการคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ เล็งเห็นความส�ำคัญของปัญหา โภชนาการและอาหารปลอดภัย จึงได้ร่วมมือกับสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ภายใต้คณะกรรมการเฉพาะเร่ืองชุดที่ 3 ขับเคลื่อนเพ่ือ 18 คู่มือรณรงค์ใหค้ วามรู้ เรอ่ื ง สัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” ส�ำ หรบั บคุ คลทวั่ ไป
สร้างความเช่ือมโยงดา้ นอาหาร และโภชนาการ ส่คู ุณภาพชวี ติ ท่ีดี ด�ำเนินงาน จัดท�ำสัญลักษณ์โภชนาการอย่างง่าย เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการส่ือสาร ข้อมูลโภชนาการที่ลดความซับซ้อนลงให้กับผู้บริโภค เป็นอีกทางเลือกหนึ่งท่ี ช่วยให้ผู้บริโภคปรับพฤติกรรมการบริโภคให้เหมาะสมมากข้ึน โดยการออก สญั ลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” (Healthier Choice) เพ่ือให้ ผบู้ รโิ ภคสามารถตดั สนิ ใจเลอื กซอื้ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ซง่ึ เปน็ การเปรยี บเทยี บคณุ คา่ ทางโภชนาการในกลุ่มผลติ ภัณฑอ์ าหารประเภทเดยี วกนั สญั ลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลอื กสขุ ภาพ” หมายความว่า เครอ่ื งหมาย แสดงทางเลือกสุขภาพท่ีช่วยให้ผู้บริโภคสามารถใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อ อาหาร เพ่ือเป็นสว่ นหนง่ึ ของการมีภาวะโภชนาการท่ีเหมาะสม การแสดงสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” บนฉลากอาหาร เปน็ ไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั ท่ี 373 (พ.ศ. 2559) เรอื่ ง การแสดง สัญลักษณ์โภชนาการบนฉลากอาหาร ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันท่ี 12 มกราคม 2559 และมีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศ ในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ต้นไป สัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” มิได้เป็นสัญลักษณ์บังคับ เป็นเพียงความสมัครใจ โดยท่ีผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสัญลักษณ์นี้ต้องผ่านเกณฑ์ คุณคา่ ทางโภชนาการทช่ี ว่ ยลดความเสีย่ งของการเปน็ โรคไม่ตดิ ต่อเรอ้ื รงั สญั ลักษณโ์ ภชนาการ “ทางเลอื กสุขภาพ” ไมใ่ ชก่ ารโฆษณาสินคา้ หรือ จัดอันดับอาหารท่ีดีหรือไม่ดี แต่มุ่งให้ความรู้กับผู้บริโภคในการเลือกบริโภค อาหารท่ีดีต่อสุขภาพ รวมทั้งเป็นแรงกระตุ้นให้ผู้ประกอบการร่วมมือและ มุ่งพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนให้ผ่านเกณฑ์ที่ก�ำหนดเฉพาะของผลิตภัณฑ์ อาหารนัน้ คูม่ อื รณรงค์ให้ความรู้ เรื่อง สญั ลกั ษณโ์ ภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” ส�ำ หรับบคุ คลท่วั ไป 19
รปู แบบสญั ลกั ษณโ์ ภชนาการ “ทางเลอื กสุขภาพ” รปู แบบสญั ลกั ษณ์ เปน็ รปู วงกลม ตรงกลางวงกลมเป็นภาพใบไม้สองใบ ทับกัน และมีข้อความ “ทางเลือกสุขภาพ” อยู่ด้านล่างในวงกลม และมีชื่อ กลมุ่ อาหารอยดู่ า้ นบนในวงกลม รปู แบบสญั ลกั ษณโ์ ภชนาการสามารถแสดงได้ 2 ลักษณะ คือ แสดงโดยใช้สตี ามทก่ี �ำหนดหรอื แสดงเปน็ สเี ดียว แสดงโดยใช้สีตามที่ก�ำหนด รูปวงกลมขอบสีฟ้า ตรงกลาง วงกลมเปน็ ภาพใบไมส้ ีเขียวสองใบทบั กนั เหนอื ใบไม้มีวงกลมทบึ สีเขียวขนาด เล็กอยู่ก่ึงกลางเหนือวงกลมทึบสีเขียวมีเส้นโค้งสีส้ม มีข้อความด้านล่าง “ทางเลือกสขุ ภาพ” เปน็ สีฟา้ แสดงเป็นสีเดียว โดยเส้นขอบอาจเป็นสีด�ำหรือสีน้�ำเงินเข้ม หรือ สีขาว แลว้ แต่กรณี ทง้ั นก้ี ารแสดงสีของพนื้ ฉลากและสขี องสัญลกั ษณต์ ้องใชส้ ี ท่ีตัดกันท่ที �ำให้เห็นสญั ลกั ษณไ์ ด้ชัดเจน ความหมายของสัญลักษณ์โดยรวม คือ เพ่ืออนาคตท่ีสดใส มีความสุข สุขภาพดี ซ่ึงมีองค์ประกอบเป็น 3 สี คือ สีส้ม สีเขียวและสีฟ้า ซึ่งสีส้ม หมายถึง ความเป็นหน่ึงเดียวมีพลัง สีเขียว หมายถึง สีของอาหารธรรมชาติ และสฟี า้ หมายถงึ ความสดใส 20 ค่มู ือรณรงค์ใหค้ วามรู้ เรือ่ ง สญั ลกั ษณโ์ ภชนาการ “ทางเลอื กสขุ ภาพ” ส�ำ หรับบคุ คลทวั่ ไป
ช่ือกลุ่มอาหารด้านบนสัญลักษณ์โภชนาการ ช่วยให้ผู้บริโภคทราบว่า การเลือกอาหารท่ีมีสัญลักษณ์น้ัน ต้องเปรียบเทียบภายในกลุ่มอาหาร เดยี วกันมิใช่ข้ามกลุ่ม ตวั อยา่ งสัญลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลอื กสุขภาพ” อา่ นอย่างไร เลอื กซ้อื อย่างไร สัญลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” เปน็ เครือ่ งมือทางโภชนาการ ส�ำหรับผู้บริโภคในการเลือกซ้ือผลิตภัณฑ์อาหาร โดยเป็นการเปรียบเทียบ คณุ ค่าทางโภชนาการในกลุ่มผลติ ภัณฑอ์ าหารประเภทเดยี วกัน ตัวอย่างเช่น นาย ก. เป็นคนรักสุขภาพ และต้องการลดความเสี่ยงใน การเกิดโรคเบาหวาน ต้องการซ้ือผลิตภัณฑ์นมในท้องตลาด โดยมีผลิตภัณฑ์ นม A ซึ่งมีปริมาณน�้ำตาลสูง (โดยเฉลี่ยอยู่ท่ี 12 กรัม/100 มิลลิลิตร) และผลิตภัณฑ์นม B ซึ่งมีปริมาณน้�ำตาล ≤ 5 กรัม/100 มิลลิลิตร ดังน้ัน นาย ก. ควรเลือกซื้อผลิตภัณฑ์นม B โดยการแบ่งบริโภคให้เหมาะสมกับ ชว่ งวยั และเป็นไปตามหนว่ ยบริโภคท่กี �ำหนดไวท้ ่ีข้อมูลโภชนาการ คู่มอื รณรงค์ใหค้ วามรู้ เรือ่ ง สัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลอื กสขุ ภาพ” ส�ำ หรับบคุ คลทว่ั ไป 21
ผลติ ภณั ฑน์ ม A ผลิตภณั ฑน์ ม B ปริมาณนำ�้ ตาลสงู ปรมิ าณน้ำ� ตาลทั้งหมด น้อยกวา่ หรือเท่ากบั 5 กรัม/100 มล. ได้รบั สญั ลักษณโ์ ภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” นอกจากนี้ควรพิจารณาสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” ควบคู่กับการอ่านข้อมูลโภชนาการด้านหลังผลิตภัณฑ์ เพื่อทราบถึงปริมาณ ทีเ่ หมาะสมที่ควรบรโิ ภคตอ่ วันดว้ ย ตวั อยา่ งเชน่ นางสาวกอ้ ย ไปเดนิ เลอื กซอื้ ของทซ่ี ปุ เปอรม์ ารเ์ กต็ แหง่ หนงึ่ โดยตอ้ งการเลอื กซอ้ื นำ�้ ปลาเพอื่ น�ำไปปรงุ ประกอบอาหารทคี่ วามเสย่ี งการเปน็ โรคไตเรอ้ื รงั ในทอ้ งตลาดมนี ำ�้ ปลาตราเคม็ นอ้ ย ซง่ึ ปรบั สตู รใหม้ ปี รมิ าณโซเดยี ม น้อยกว่า 6,000 มิลลิกรัม/100 มิลลิลิตร และน้�ำปลาตราเค็มจัง ซ่ึงเป็น สูตรปกติ ดังน้ัน นางสาวก้อย ควรเลือกซื้อผลิตภัณฑ์น้�ำปลาตราเค็มน้อย โดยแบง่ บริโภคเปน็ ไปตามหน่วยบริโภคที่ก�ำหนดไวท้ ี่ขอ้ มูลโภชนาการ 22 คมู่ ือรณรงค์ใหค้ วามรู้ เรอ่ื ง สัญลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” ส�ำ หรับบคุ คลทว่ั ไป
น้ำ� ปลาตราเคม็ น้อย น�้ำปลาตราเคม็ จงั ปรบั สตู รและโซเดียมนอ้ ยกวา่ สตู รปกติ 6,000 มิลลกิ รัม/ 100 มลิ ลิลิตร นอกจากนี้ควรพิจารณาสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” ควบคู่กับการอ่านข้อมูลโภชนาการด้านหลังผลิตภัณฑ์ เพ่ือทราบถึงปริมาณ ทเ่ี หมาะสมทีค่ วรบรโิ ภคต่อวันด้วย คู่มอื รณรงค์ให้ความรู้ เร่อื ง สัญลักษณโ์ ภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” สำ�หรับบุคคลทั่วไป 23
ค�ำแนะน�ำการบรโิ ภคอาหาร ท่ีไดก้ ารรบั รองสัญลกั ษณ์โภชนาการ (มาอา่ นกนั สกั นิด พชิ ติ สขุ ภาพด)ี เชค็ วา่ หนงึ่ หน่วยบรโิ ภคแบ่งรับประทานได้กค่ี ร้ัง หนึ่งหนว่ ยบริโภค ยกตัวอย่าง จากฉลากโภชนาการของผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับการรับรอง สญั ลกั ษณโ์ ภชนาการ 1 กลอ่ ง บรรจุ 200 มิลลิลติ ร หากบนฉลากระบไุ ว้ว่า “หนึง่ หน่วยบรโิ ภค 1 กล่อง (200 มิลลลิ ติ ร)” หมายความวา่ ผลิตภณั ฑน์ ้ัน ควรกนิ ใหห้ มดภายในครั้งเดียว แต่หากผลิตภัณฑ์เป็นกล่องใหญ่ ขนาดบรรจุ 1000 มิลลิลิตร ฉลาก โภชนาการอาจระบุไว้ว่า “หน่ึงหน่วยบริโภค: 200 มิลลิลิตร” แปลได้ว่า ผู้บรโิ ภคจะตอ้ งแบ่งกินผลิตภณั ฑ์น้นั ได้ถึง 5 คร้ัง นอกจากนผ้ี ู้บริโภคควรทีจ่ ะ 24 คมู่ อื รณรงค์ให้ความรู้ เร่ือง สญั ลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลอื กสขุ ภาพ” ส�ำ หรับบุคคลทั่วไป
บริโภคอาหารอื่นๆ อย่างสมดุลและหลากหลาย โดยยึดหลักโภชนบัญญัติ 9 ประการ เป็นข้อบัญญัติที่กระทรวงสาธารณสุขจัดท�ำขึ้น ควบคู่ไปด้วย เพ่ือ แนะน�ำประชาชนให้มีความรู้ และความเข้าใจในการรับประทานอาหารเพ่ือ สุขภาพทด่ี ี ดงั นี้ 1. กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย และหมั่นดูแล นำ้� หนกั ตวั เพอื่ ใหไ้ ดส้ ารอาหารทร่ี า่ งกายตอ้ งการอยา่ งเหมาะสม และมนี ำ้� หนกั อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐาน 2. กนิ ขา้ วเปน็ หลกั สลบั กบั อาหารประเภทแปง้ เปน็ บางมอื้ แนะน�ำให้ กินข้าวกล้องแทนข้าวขาว ขนมปังโฮตวิทแทนขนมปังขาว เพื่อให้ได้วิตามิน แรธ่ าตุ และใยอาหารเพิม่ มากขน้ึ 3. กินพืชผักให้มากและกินผลไม้เป็นประจ�ำ แนะน�ำให้กินผัก และ ผลไม้วันละ 400 กรัม (5 ถ้วยตวง) เพ่ือให้ได้วิตามิน แร่ธาตุ และใยอาหาร จะช่วยสร้างภูมิคุ้มกันโรค และลดความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคหวั ใจ และโรคมะเร็ง 4. กนิ ปลา เน้อื สตั ว์ไม่ติดมนั ไขแ่ ละถว่ั เมลด็ แหง้ เปน็ ประจ�ำ แนะน�ำ ใหก้ นิ เนอ้ื ปลา และไข่ โดยเฉพาะไข่ขาวเป็นโปรตีนจากสัตวท์ ่มี ีคุณภาพดี และ ยอ่ ยง่าย เหมาะส�ำหรับทุกวยั ส่วนถวั่ เมล็ดแห้งเปน็ โปรตีนจากพืชท่ีใชก้ นิ แทน เนอ้ื สตั วไ์ ด้ 5. ดมื่ นมใหเ้ หมาะสมตามวยั แนะน�ำใหเ้ ดก็ ควรดมื่ นมวนั ละ 2 - 3 แกว้ ผู้ใหญ่ควรดมื่ นมพรอ่ งมนั เนย หรอื ขาดมนั เนย วนั ละ 1 - 2 แก้ว เพ่อื ช่วยให้ กระดกู และฟันแข็งแรง ค่มู ือรณรงค์ให้ความรู้ เร่ือง สัญลักษณโ์ ภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” สำ�หรับบคุ คลทว่ั ไป 25
6. กนิ อาหารท่มี ไี ขมนั แตพ่ อควร แนะน�ำใหล้ ดการกนิ อาหารประเภท ทอด ผดั และแกงกะทิ แตพ่ อควร และเลอื กกนิ อาหารประเภทตม้ นง่ึ และยา่ ง เป็นประจ�ำแทน 7. หลีกเล่ยี งการกินอาหารรสหวานจัด และเคม็ จัด เนื่องจากการกนิ อาหารหวานมากเสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคหัวใจและ หลอดเลือด ส่วนกินอาหารเค็มมากเส่ียงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคไต 8. กนิ อาหารทส่ี ะอาด ปราศจากการปนเปื้อน แนะน�ำให้กนิ อาหารท่ี ผ่านมาปรุงสุก และสะอาดหลีกเล่ียงอาหารปรุงไม่สุกอาจมีเช้ือโรคปนเปื้อน และสารเคมีต่างๆ เชน่ สารบอแรกซ์ สารกันรา สารฟอกขาว ฟอร์มาลีน และ ยาฆา่ แมลง ท�ำให้เกิดโรคได้ 9. งดหรือลดเครื่องดื่มท่ีมีแอลกอฮอล์ เน่ืองจากจะท�ำให้เสี่ยงต่อการ เกิดโรคตา่ งๆ มากมาย เชน่ โรคความดันโลหติ สูง โรคตบั แขง็ และโรคมะเรง็ หลอดอาหาร เปน็ ตน้ 26 ค่มู ือรณรงค์ให้ความรู้ เรอื่ ง สญั ลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” ส�ำ หรบั บุคคลท่ัวไป
แบบทดสอบความเขา้ ใจ 1. สัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลอื กสุขภาพ” มีรูปแบบอยา่ งไร ก. ข. ค. ง. 2. ข้อใดคอื รูปแบบสัญลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” ท่ีถกู ตอ้ ง ก. ข. ค. อาหารม้อื หลกั อาหารมอ้ื หลกั ง. อาหารมอ้ื หลัก คู่มอื รณรงค์ให้ความรู้ เรื่อง สัญลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลอื กสขุ ภาพ” ส�ำ หรบั บุคคลทวั่ ไป 27
3. เหตใุ ดสญั ลกั ษณโ์ ภชนาการ “ทางเลอื กสขุ ภาพ” ตอ้ งมชี อ่ื กลมุ่ อาหารก�ำกบั สญั ลักษณ์ไว้ ก. เพือ่ ใชใ้ นการโฆษณาผลติ ภณั ฑ์อาหารน้ันๆ ข. เพอื่ ใหผ้ ูบ้ ริโภคทราบวา่ การเลอื กอาหารทมี่ ีสัญลกั ษณโ์ ภชนาการ ตอ้ งเปรียบเทียบภายในกลุ่มอาหารเดยี วกนั มิใชข่ ้ามกลุ่ม ค. เพ่ือใชใ้ นการบ่งชลี้ ักษณะทางภูมศิ าสตร์บอกถงึ แหล่งทม่ี า และแหลง่ ผลิต ง. เพ่ือชว่ ยให้ผ้บู รโิ ภคสามารถเลอื กอาหาร ท่ีลดปจั จยั เหนย่ี วน�ำ การเกิดโรคหวั ใจ และหลอดเลือด ไดส้ ะดวก 4. สัญลักษณโ์ ภชนาการ “ทางเลอื กสขุ ภาพ” คือ อะไร ก. ส่วนหนึ่งบนฉลากผลิตภัณฑ์อาหารท่ีมีการแสดงข้อมูลและความรู้ ดา้ นคุณค่าทางโภชนาการของผลติ ภณั ฑอ์ าหารโดยละเอียด ข. ตราท่ีติดบนสลากผลิตภัณฑ์อาหาร เพื่อบ่งบอกว่าผลิตภัณฑ์นั้น ส�ำหรบั มสุ ลิมใช้บรโิ ภค ค. ตัวช่วยส�ำหรับคนรุ่นใหม่ เพื่อเลือกซื้ออาหารไม่เป็นภัยต่อสุขภาพ หวั ใจ ง. เคร่ืองหมายแสดงทางเลือกสุขภาพท่ีช่วยให้ผู้บริโภคสามารถใช้ ในการตัดสินใจเลือกซื้ออาหาร เพื่อเป็นส่วนหน่ึงของการมีภาวะ โภชนาการทเ่ี หมาะสม 5. โรคใดตอ่ ไปนี้ไมถ่ อื ว่าเปน็ โรคไม่ติดต่อเรื้อรงั (Non-communicable diseases, NCDs) ก. โรคสมองเส่อื ม ข. โรคความดันโลหิตสงู ค. โรคเบาหวาน ง. โรคไตเรือ้ รงั 6. ในหน่ึงวันเราควรได้รับโซเดียมไม่เกนิ วันละก่มี ิลลิกรมั ก. 1,000 มิลลิกรมั ข. 1,500 มลิ ลิกรมั ค. 2,000 มิลลิกรมั ง. 2,400 มิลลกิ รมั 28 คู่มอื รณรงค์ให้ความรู้ เรือ่ ง สญั ลักษณโ์ ภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” ส�ำ หรบั บคุ คลทว่ั ไป
7. ฉลากผลิตภัณฑ์อาหารชนิดใดที่จะพบเครื่องหมายสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลอื กสุขภาพ” ก. เครือ่ งดืม่ บ�ำรงุ ก�ำลัง ข. เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ ค. ผลติ ภณั ฑ์อาหารเสริม ง. น้�ำปลา 8. ขอ้ ใดกล่าวถึงสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” ถูกตอ้ งท่ีสดุ ก. เป็นสญั ลักษณ์บงั คับส�ำหรบั ผผู้ ลิตอาหาร ข. เป็นสัญลักษณ์ส�ำหรับผู้บริโภคเปรียบเทียบคุณค่าทางโภชนาการ ในกลมุ่ ผลิตภัณฑ์อาหารประเภทเดียวกนั ค. เปน็ สญั ลกั ษณท์ ผี่ ลติ ภณั ฑท์ ไี่ ดร้ บั ตอ้ งผา่ นเกณฑด์ า้ นความปลอดภยั ตามที่ อย. ก�ำหนด ง. เป็นสญั ลกั ษณท์ ่ีใชใ้ นการโฆษณาสินค้า 9. ข้อใดคอื แนวทางในการปอ้ งกนั การเกดิ โรคไม่ติดตอ่ เรือ้ รงั (Non-communicable diseases, NCDs) ก. เลอื กบรโิ ภคผลิตภณั ฑ์อาหารทีม่ ีตราสญั ลักษณโ์ ภชนาการ ข. บรโิ ภคอาหารฟาสฟ้ดู เป็นประจ�ำ ค. เตมิ เคร่ืองปรุงเพิม่ ทกุ คร้งั ในการรบั ประทานอาหาร เชน่ นำ�้ ปลา และน�้ำตาล เปน็ ตน้ ง. ชอบรับประทานของทอด 10. ข้อใดคือประโยชน์ของสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลอื กสุขภาพ” ก. เปน็ การแสดงขอ้ มลู คณุ คา่ ทางโภชนาการของผลติ ภณั ฑอ์ าหารนน้ั ๆ โดยระบุชนิดและปริมาณสารอาหารในกรอบข้อมูลโภชนาการตาม รูปแบบเงอื่ นไขทก่ี �ำหนด ข. เป็นเครอื่ งหมายรับรองมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหาร ค. เป็นการส่งเสริมให้ผู้ผลิตสินค้ามีการจัดการส่ิงแวดล้อม และการ ประหยัดพลงั งาน ง. เปน็ เครอื่ งมอื ชว่ ยผบู้ รโิ ภคตดั สนิ ใจเลอื กซอ้ื และเลอื กบรโิ ภคผลติ ภณั ฑ์ อาหารทดี่ ีตอ่ สขุ ภาพได้ง่ายและสะดวกขึน้ คู่มอื รณรงค์ให้ความรู้ เรอ่ื ง สัญลกั ษณโ์ ภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” สำ�หรบั บคุ คลทวั่ ไป 29
เฉลย ขอ้ 1 ค. ข้อ 2 ก. ข้อ 3 ข. ข้อ 4 ง. ขอ้ 5 ก. ขอ้ 6 ค. ขอ้ 7 ง. ข้อ 8 ข. ข้อ 9 ก. ข้อ 10 ง. สญั ลกั ษณโ์ ภชนาการ “ทางเลอื กสขุ ภาพ” มงุ่ หวงั ใหผ้ บู้ รโิ ภคใชส้ ญั ลกั ษณ์ ดงั กลา่ วในการเลอื กซอ้ื อาหารและผลติ ภณั ฑอ์ าหารเพอ่ื บรโิ ภค ภาคอตุ สาหกรรม ปรับปรุงสูตรอาหารและผลิตภัณฑ์อาหารให้ผ่านตามเกณฑ์ส�ำหรับสัญลักษณ์ โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” และใช้คุณค่าโภชนาการที่ดีกว่าเป็นจุดขาย ทางการตลาด รวมถึงลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และลดภาระ คา่ ใช้จ่ายของประเทศในการรักษาพยาบาลโรคดงั กลา่ วในระยะยาวตอ่ ไป สอบถามขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ หนว่ ยรับรองการใชส้ ญั ลกั ษณ์โภชนาการ มลู นิธิสง่ เสริมโภชนาการ ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลยั มหิดล - เว็บไซต์ http://healthierlogo.com/ - อีเมล ์ [email protected] - โทรศพั ท์ 081-970-0806 - โทรสาร 02-441-9344 30 คูม่ อื รณรงค์ให้ความรู้ เรอ่ื ง สญั ลกั ษณโ์ ภชนาการ “ทางเลือกสขุ ภาพ” สำ�หรับบคุ คลทว่ั ไป
เอกสารอ้างอิง 1. GBD. Mortality and Causes of Death Collaborators. Global, regional, and national age–sex specific all-cause and cause-specific mortality for 240 causes of death, 1990-2013 : a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2013. Lancet; 2014. 2. World Health Organization. The Global burden of diseases updated 2004. Geneva: World Health Organization; 2008. 3. Sepulveda J, Murray C. The state of global health in 2014. Science. 2014. 345:6202; 1275-1278. 4. รายงานการส�ำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกายคร้ังท่ี 4 พ.ศ. 2551 - 2, ส�ำนกั งานส�ำรวจสุขภาพประชาชนไทย (สสท.) 5. คู่มือการด�ำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ลดหวาน มัน เค็ม, ส�ำนักโภชนาการ กรมอนามยั . 2557 6. ฉลาดอ่านฉลาก ลดหวานมันเค็ม, กองพัฒนาศักยภาพผผู้บริโภค, ส�ำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยา 7. คู่มือการด�ำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ลดหวาน มัน เค็ม, ส�ำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 8. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี 367) พ.ศ. 2557 เรือ่ ง การแสดงฉลาก ของอาหารในภาชนะบรรจุ 9. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบั ท่ี 182) พ.ศ.2541 เรอื่ ง ฉลากโภชนาการ 10. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การแสดงฉลากของอาหารส�ำเร็จรูป ทีพ่ ร้อมบริโภคทนั ทีบางชนิด 11. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การแสดงฉลากของอาหารส�ำเร็จรูป ท่ีพร้อมบริโภคทันทีบางชนิด (ฉบับที่ 2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบั ที่ 373) พ.ศ.2559 เรื่อง การแสดงสัญลกั ษณ์โภชนาการบนฉลากอาหาร คูม่ อื รณรงค์ให้ความรู้ เรอ่ื ง สัญลักษณโ์ ภชนาการ “ทางเลอื กสุขภาพ” สำ�หรับบุคคลทั่วไป 31
คณะทป่ี รกึ ษา นายแพทยบ์ ุญชยั สมบูรณส์ ขุ เลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยา นายแพทยไ์ พศาล ดัน่ คุ้ม รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา นางจรุ รี ัตน์ ห่อเกียรติ ผเู้ ชย่ี วชาญด้านความปลอดภัยของอาหาร และการบรโิ ภคอาหาร ดร.ทพิ ยว์ รรณ ปริญญาศริ ิ ผอู้ �ำนวยการส�ำนักอาหาร ศ.ดร.วสิ ฐิ จะวะสติ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหดิ ล รศ.ดร.ประไพศรี ศิริจักรวาล สถาบันโภชนาการ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ผศ.ดร.วนั ทนยี ์ เกรียงสนิ ยศ สถาบันโภชนาการ มหาวทิ ยาลยั มหิดล คณะผ้จู ัดท�ำ นางสาวอรสรุ างค์ ธรี ะวัฒน ์ นักวชิ าการอาหารและยาช�ำนาญการพเิ ศษ นางสาวมยรุ ี ดิษยเ์ มธาโรจน ์ นักวิชาการอาหารและยาช�ำนาญการ นางสาวมนสวุ ีร์ ไพช�ำนาญ นกั วิชาการอาหารและยาปฏิบัตกิ าร นางสาวกงั สดาล สงิ ห์สูง นักวิชาการอาหารและยาปฏิบตั ิการ นายอารยะ โรจนวณิชชากร เจ้าหน้าที่ส�ำนกั อาหาร นางสาวปริญญา ต้งั เจริญกิจ เจา้ หนา้ ทสี่ �ำนกั อาหาร ผลิตโดย กลมุ่ พฒั นาระบบ 1 ส�ำนักอาหาร ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ โทรศัพท์ 02-590-7406 โทรสาร 02-590-7322 32 คูม่ อื รณรงค์ใหค้ วามรู้ เร่อื ง สญั ลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลอื กสุขภาพ” สำ�หรบั บคุ คลทวั่ ไป
คมู อื รณรงคใหค วามรู เรอ� งสญั ลกั ษณโภชนาการสำหรับบุคคลท่วั ไป Êӹѡ§Ò¡¹Ã¤Ð³·ÃСÇçÃÊÁÒ¸¡ÒÒÃóÍÒÊËØ¢ÒÃáÅÐÂÒ
Search
Read the Text Version
- 1 - 38
Pages: