Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore orchid west พืชอนุรักษ์ในบัญชีไซเตส กล้วยไม้ป่า

orchid west พืชอนุรักษ์ในบัญชีไซเตส กล้วยไม้ป่า

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-08-11 11:08:32

Description: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช
หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษา

Search

Read the Text Version

เอือ้ งหวั ค้อน ชือ่ วิทยาศาสตร ์ Malleola dentifera J. J. Sm. ลักษณะ ลำตน้ สน้ั ใบรปู รจี นถงึ รปู รแี กมรปู ขอบขนาน ขนาด 3 x 8 ซม. ปลายใบ แหลมชอ่ ดอกห้อยลง มักมหี ลายชอ่ ดอกขนาด 0.6 ซม. กลีบเลยี้ งและกลบี ดอก รูปรีจนถึงรูปรีกว้างปลายแหลม ทั้งห้ากลีบสีเหลืองและมีจุดสีเข้มเรียงเป็นแนว กลีบปากมีหูปากเป็นติ่งขนาดเล็ก รูปสามเหล่ียม กลีบมีเดือยดอกขนาดใหญ่ มาก ปลายเดอื ยแบนคล้ายชอ้ น ช่วงออกดอก ตลุ าคม – พฤศจกิ ายน สภาพนิเวศ กล้วยไมอ้ งิ อาศัยขนาดเลก็ พบในป่าดงดบิ แล้งและป่าพรุนำ้ จืดท่มี ี แสงแดดรำไร ท่ีความสูง 300 – 800 เมตร จากระดบั นำ้ ทะเล เขตการกระจายพนั ธุ์ ไทย เวยี ดนาม มาเลเซีย อนิ โดนเี ซยี สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชีที่ 2 ของอนุสญั ญาไซเตส 94 พืชอนรุ ักษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวันออก ตอนที่ 1

เอ้ืองแมลงปอทอง หวายเข็ม ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Micropera pallida (Roxb.) Lindl. ลักษณะ ลำตน้ ยาวเรยี ว ใบรปู แถบ กวา้ ง 0.8-1.2 ซม. ยาว 5-8 ซม. ปลายใบเวา้ ดอกช่อแบบกระจะ ออกตามข้อ ช่อดอกยาว 4-7 ซม. ดอกในช่อ 2-6 ดอก เกิดค่อนไปทางปลายช่อ ทยอยบานคร้ังละ 1-2 ดอก ดอกขนาด 0.5-0.6 ซม. สีเหลอื งสด ดา้ นหลังกลีบเลย้ี งมีแถบสนี ้ำตาลแดง กลีบปากมีลักษณะเปน็ โพรง ช่วงออกดอก กรกฎาคม - กันยายน สภาพนิเวศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบทัง้ ในปา่ ผลดั ใบและป่าไมผ่ ลดั ใบ เขตการกระจายพันธ์ุ อินเดีย พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซยี สถานภาพ พืชอนรุ ักษ์บัญชที ่ี 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พืชอนรุ ักษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1 95

เอือ้ งแพนชอ่ โปรง่ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Oberonia gammiei King & Pantl. ลักษณะ เจริญเป็นกลุ่ม ลำต้นเล็กและแบน ปกคลมุ ดว้ ยใบขนาด 1.5-2 x 8-16 ซม. มี 5-7 ใบ ปลายใบแหลม ช่อดอกยาว 15-20 ซม. ก้าน ช่อยาวประมาณหน่ึงในสามของแกนช่อ ดอกเรียง หา่ งกัน สเี ขียวครมี ขนาด 0.2-0.3 ซม. กลบี เล้ียง รปู ไข่ กลีบดอกรูปไข่แกมรูปรี ขอบกลบี หยัก กลีบ ปากช่วงโคนกว้าง ปลายสอบเป็นแฉก มีหูกลีบ เสา้ เกสรส้นั ช่วงออกดอก สงิ หาคม - ตุลาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในพื้นที่ใกล้ แหลง่ น้ำหรือที่โล่งแจ้ง เขตการกระจายพันธ์ุ อ่าวเบงกอลแถบอินเดีย บงั กลาเทศ พมา่ ไทย ลาว เวยี ดนาม สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีที่ 2 ของอนุสัญญา ไซเตส 96 พืชอนุรกั ษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผนื ปา่ ตะวันออก ตอนที่ 1

สร้อยทอง มงั กรทอง ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Ornithochilus difformis (Wall. ex Lindl.) Schltr. ลักษณะ ลำต้นเจริญทางปลายยอด ใบรูปรีหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน ขนาด 8-15 x 3.5 ซม. ปลายมนหรือแหลม ผวิ ใบมันเลก็ นอ้ ยมี 2-4 ใบ ช่อดอกแบบ แยกแขนงออกทขี่ า้ งลำตน้ ชอ่ ดอกโปรง่ ยาวไดถ้ งึ 25 ซม. ขนาดดอก 0.8-1 ซม. ดอกสีเหลืองมีลายร้ิวสีแดง 2-4 ร้ิว กลีบปากสีม่วงแดง ขอบกลีบมีรยางค ์ ยืน่ ยาว ช่วงออกดอก พฤษภาคม – สงิ หาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบตามป่าดิบเกือบทุกภาคของไทย ยกเว้น ภาคกลาง เขตการกระจายพนั ธ์ุ มีเขตการกระจายพนั ธุ์กวา้ งขวางในเอเชียเขตรอ้ นและก่ึง อบอนุ่ สถานภาพ พืชอนรุ กั ษ์บัญชที ี่ 2 ของอนุสญั ญาไซเตส พืชอนุรักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1 97

ภาพ : ภัทธรวีร์ พรมนสั ภาพ : ภัทธรวีร์ พรมนัส เอ้อื งรงรอง ช่ือวิทยาศาสตร์ Panisea uniflora (Lindl.) Lindl. ลกั ษณะ ลำลกู กล้วยรูปรจี นถงึ รูปขนมเปยี กปนู ผิวลำเป็น มันวาว ใบรูปแถบ ขนาด 2 x 10 ซม. ดอกเด่ียว ขนาด 1.3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปหอกแกมรูปไข่ กลีบดอกรูปขอบ ขนาน สีดอกมีต้ังแต่ขาวนวลไปจนถึงสีส้ม ปลายกลีบ แหลม กลบี ปากรูปรีแกมรูปไข่กลบั ปลายมน กลางกลีบมี จุดสีเข้มจำนวน 3 จุด กลีบมีหูปากรูปเข้ียวขนาดใหญ่ ขอบกลีบหยักเป็นบางช่วง ปลายเส้าเกสรแผ่เป็นครีบ สนั้ ๆ ช่วงออกดอก ธันวาคม - กุมภาพนั ธ์ สภาพนิเวศ กล้วยไมอ้ งิ อาศัย พบในป่าดบิ เขา ตามท่โี ลง่ แจง้ แสงแดดจดั ถึงแสงแดดรำไร เขตการกระจายพนั ธ์ุ เนปาล สิกขิม ภฏู าน อินเดีย จนี พมา่ ไทย กัมพูชา เวยี ดนาม สถานภาพ พืชอนุรกั ษบ์ ัญชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 98 พชื อนรุ กั ษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1

เอื้องจกั จ่นั ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Pelatantheria insectifera (Rchb. f.) Ridl. ลักษณะ ใบรูปแถบ เรียงสลับระนาบเดียว กว้าง 0.3-0.4 ซม. ยาว 2-3 ซม. หนาและค่อนข้างแข็ง ปลายใบเว้าไม่เท่ากัน ช่อดอกแบบกระจุก ออกที่ ข้างลำตน้ 1-3 ดอก ดอกขนาด 0.5 ซม. กลบี เลี้ยง และกลีบดอกสีเขียวอมเหลือง มีแถบเส้นประสีแดง พาดตามยาวกลีบ กลีบปากสีม่วงเข้ม โคนกลีบปาก สเี หลือง เดอื ยดอกรูปกรวยขนาดเลก็ ช่วงออกดอก ธันวาคม - มกราคม สภาพนิเวศ กล้วยไมอ้ ิงอาศัย พบในป่าเตง็ รัง เขตการกระจายพันธ์ุ จีน อินเดีย เนปาล พม่า ไทย มาเลเซยี สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พชื อนรุ ักษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผนื ปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1 99

เอื้องเขม็ ทอง ช่ือวทิ ยาศาสตร ์ Pennilabium struthio Carr ลกั ษณะ ลำต้นส้ันมาก ใบรูปรี ขนาด 2.5 x 10 ซม. มี 3-4 ใบ แผน่ ใบเกลี้ยง กา้ นช่อดอกยาว 2-3 ซม. แตล่ ะ ช่อมีดอกที่ปลายช่อ ดอกน้อย ทยอยบานทีละดอก ก้าน ดอกยาว 1.5 ซม. ดอกสเี หลือง ขนาด 1.2 ซม. กลบี เลี้ยง รูปไขแ่ กมรปู รีงมุ้ ทป่ี ลายมสี ัน กลีบดอกรปู ไขก่ ลับ สนั้ กว่า กลีบเล้ียงเล็กน้อย ขอบกลีบหยักและมีจุดสีน้ำตาลแดง กลบี ปากสนั้ มหี กู ลบี ขนาดใหญร่ ปู พดั ยาวประมาณ 0.6 ซม. สขี าว และปลายหยักเป็นครยุ เดอื ยดอกสเี หลอื งครีม ยาว ประมาณ 1 ซม. ปลายเดือยโป่งพองประมาณคร่งึ หนง่ึ ของ ความยาว เสา้ เกสรสน้ั ไมม่ ีคาง ช่วงออกดอก มิถุนายน - สิงหาคม สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ ดิบช้ืนระดบั ตำ่ มักพบใกลล้ ำธารบนไม้ พุม่ เตย้ี แสงแดดน้อย เขตการกระจายพนั ธุ์ ไทย มาเลเซีย สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีที่ 2 ของอนุสัญญาไซเตส เป็นกล้วยไม้ถูกรุกราน ในธรรมชาติ พบเหน็ ไดย้ าก 100 พืชอนรุ ักษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1

เขากวางอ่อน ม้าลาย เออ้ื งม้าลายเสอื เอือ้ งเขากวาง ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Phalaenopsis cornu-cervi (Breda) Blume & Rchb. f. ลักษณะ ลำต้นเล็กและส้ัน ใบรูปรีแกมรูปไข่กลับจนถึงรูป ขอบขนานแกมรูปไขก่ ลับ ขนาด 3.5 x 8 ซม. ปลายใบมน ถึงแหลม ช่อดอกเป็นช่อกระจะหรือช่อแยกแขนง มักมี หลายชอ่ ดอกขนาด 1.5 ซม. ทยอยบานคราวละ 1-2 ดอก กลีบเลีย้ งบนรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ปลายมน กลบี เลย้ี งคู่ ข้างรูปรีแกมรูปไข่กลับ กลีบดอกรูปรีแกมรูปแถบ ปลายแหลม ทั้งห้ากลีบสเี หลือง มักมแี ถบหรือจดุ สนี ้ำตาล แดงท่ัวกลีบ กลีบปากสีขาวจนถึงสีเหลือง ปลายกลีบเป็น รปู สามเหลย่ี ม กลางกลบี มรี ยางคย์ นื่ ยาว 2 อนั เสา้ เกสรสนั้ ช่วงออกดอก ช่วงออกดอกยาวนาน ตั้งแต่เดือน ตุลาคม -มีนาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัยขนาดเล็ก พบในป่าเต็งรัง ปา่ เบญจพรรณ ตามทีโ่ ล่งแจ้งแสงแดดรำไร เขตการกระจายพันธุ์ อินเดีย พม่า ไทย ลาว มาเลเซีย อนิ โดนเี ซยี สถานภาพ พืชอนุรกั ษบ์ ญั ชีที่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พืชอน ุรกั ษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผนื ป่าตะวันออก ตอนที่ 1 101

ม้าว่งิ กลว้ ยไม้ม้า กล้วยหิน แดงอุบล หญ้าดอกหิน ช่อื วิทยาศาสตร์ Phalaenopsis pulcherrima (Lindl.) J. J. Sm. ชอ่ื พ้อง Doritis pulcherrima Lindl. ลักษณะ รากมขี นาดใหญม่ าก ลำต้นส้นั ใบรปู ขอบขนาน รูปรจี นถงึ รปู ทรงเกือบ กลม ขนาด 4 x 6 ซม. ปลายแหลม มนจนถงึ เวา้ บมุ๋ ชอ่ ดอกมกั มมี ากกวา่ 1 ชอ่ ดอกขนาด 1 ซม. กลีบเล้ียงและกลีบดอกรูปรี สีขาวแกมม่วงจนถึงสีม่วงแดง ปลายกลีบมน เมอ่ื บานเตม็ ท่ีล่ไู ปทางด้านหลงั กลบี ปากมรี ปู ทรงเฉพาะ มหี ปู าก ค่อนขา้ งกลม โคนกลีบมีตงิ่ แหลม ปลายกลบี มน และมีสันเตยี้ ๆ ช่วงออกดอก ยาวนานหลายเดือน ออกมากที่สุดช่วงเดือนมิถุนายนถึง พฤศจกิ ายน สภาพนเิ วศ กล้วยไม้อิงอาศัยบนหิน พบบนพ้ืนทโ่ี ลง่ ลานหิน พบได้ทุกภูมิภาค ในไทย เขตการกระจายพันธุ์ พบเป็นพืน้ ทก่ี ว้างในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ัญชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 102 พืชอนรุ ักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผืนป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1

เอื้องลำต่อ เอ้ืองลำตอ่ กลม ชื่อวิทยาศาสตร์ Pholidota articulata Lindl. ลกั ษณะ ลำลูกกล้วยรูปทรงกระบอก ใบรูปรีแกม รูปไข่กลับ ขนาด 3 x 8 ซม. ปลายใบแหลม ชอ่ ดอกหอ้ ยลง ดอกขนาด 0.8 ซม. กลบี เลยี้ งบน รูปรี กลีบดอกรูปรีแกมรูปไข่กลับ ท้ังห้ากลีบสีเขียวอม เหลืองจนถึงสีเหลืองอมส้ม ปลายกลบี แหลม กลบี ปากเปน็ องุ้ ขนาดใหญ่ ภายใน มสี นั 5 สนั ปลายกลบี เวา้ ลกึ ช่วงออกดอก มิถนุ ายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบเขา ท้ังท่ีโล่งแจง้ แสงแดดจดั จนถงึ แสงแดดรำไร พบทกุ ภมู ภิ าคของไทย เขตการกระจายพนั ธ์ุ พบเปน็ พ้ืนท่กี ว้างในทวีปเอเชีย สถานภาพ พชื อนรุ ักษ์บัญชที ี่ 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พืชอนรุ กั ษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1 103

เออ้ื งกาบดอก เออื้ งลำต่อใหญ่ เอือ้ งสายสร้อย หางกระด่ิง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Pholidota imbricata Lindl. ลักษณะ ลำลูกกล้วยรูปขอบขนานถึงรูปขอบขนาน แกมรูปไข่ มีขนาดใหญม่ าก ใบรูปขอบขนาน ขนาด 5 x 15 ซม. มี 1 ใบ แผ่นใบหนาและแข็ง ผิวใบ สากด้าน ปลายใบมน แหลมหรือเป็นติ่งแหลม ช่อดอกยาวย้อยลง มีมากกวา่ 50 ดอก ดอกขนาด 0.6 ซม. กลีบเล้ียงรูปรีจนถึงรูปรีแกมรูปไข่ ปลายแหลม ด้านหลังกลีบเป็นสัน กลีบดอกรูป ขอบขนาน เบ้ียว ปลายมน ท้ังห้ากลีบสีขาวนวล กลบี ปากเป็นอุ้งลกึ ปลายกลบี เวา้ เป็น 2 แฉก ช่วงออกดอก กันยายน - พฤศจกิ ายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัยขนาดใหญ่ และ เจริญได้บนหิน พบในป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ตามที่ โล่งแจ้งมีแสงแดดจัดถึงแสงรำไร พบได้ทุกภูมิภาค ของไทย เขตการกระจายพันธุ์ กระจายพันธุ์ในพ้ืนที่กว้าง ของทวปี เอเชีย โดยเฉพาะเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีท่ี 2 ของอนุสัญญา ไซเตส 104 พืชอนรุ ักษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวันออก ตอนที่ 1

เออ้ื งใบมะขาม ชือ่ วิทยาศาสตร์ Podochilus microphyllus Lindl. ลักษณะ ต้นขนาดเล็ก ลำต้นเล็กมาก ใบรูปขอบ ขนาน ขนาด 0.3 x 0.8 ซม. มีหลายใบ ดูคล้ายใบ มะขาม ปลายใบเรยี วแหลม ชอ่ ดอกสนั้ มาก มหี ลายดอก ทยอยบาน 1-3 ดอก ดอกสขี าว ขนาดเลก็ เพยี ง 0.3 ซม. กลีบเล้ียงบนรูปไข่ ปลายกลีบแหลม กลีบเลี้ยงคู่ข้างมี ขนาดใหญ่กว่าและเช่ือมเป็นคางดอก กลีบดอกขนาด เล็กรปู รี กลบี ปากรปู ไข่ มีขนาดเล็กมาก ปลายกลบี มน ชว่ งออกดอก กรกฎาคม - สงิ หาคม สภาพนิเวศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั และเจรญิ บนหนิ พบใน ปา่ ดิบเขาและปา่ ดบิ ช้ืนตามทร่ี ม่ รำไร เขตการกระจายพนั ธุ์ พม่า ไทย กมั พชู า เวียดนาม มาเลเซยี อนิ โดนเี ซีย สถานภาพ พืชอนรุ กั ษ์บญั ชที ่ี 2 ของอนุสญั ญาไซเตส พชื อนรุ กั ษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1 105

เอือ้ งเสอื แผว้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Pomatocalpa maculosum (Lindl.) J. J. Sm. ชอ่ื พ้อง Pomatocalpa naevatum J. J. Sm. ลกั ษณะ ลำตน้ แขง็ รปู ทรงกระบอก ยาวมากและตงั้ ตรง ใบรปู แถบ ขนาด 2 x 8 ซม. ปลายใบเว้า ช่อดอกเป็นช่อแยกแขนง ยาวและตั้งตรง มีหลายช่อ ก้านช่อดอก ยาวกวา่ แกนชอ่ ดอกขนาด 0.8 ซม. เรียงกนั แนน่ กลบี เลีย้ งรปู ขอบขนาน กลีบ ดอกรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ทั้งห้ากลีบสีน้ำตาลอมเหลือง ปลายกลีบมน กลีบปากเป็นถงุ เลก็ ภายในมีรยางค์คลา้ ยล้ิน ปลายกลีบแหลม กลบี มหี ปู ากเปน็ ติ่งรปู สามเหล่ียม เสา้ เกสรมีขนาดเล็กและส้นั ชว่ งออกดอก กรกฎาคม - กันยายน สภาพนิเวศ กลว้ ยไม้องิ อาศัย พบในป่าเตง็ รัง บริเวณที่ โลง่ แจง้ แสงแดดจัด เขตการกระจายพันธ์ุ ไทย อินโดนเี ซีย สถานภาพ พืชอนุรกั ษ์บัญชีท่ี 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส 106 พชื อนุรักษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1

ชา้ งดำ 107 ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Pomatocalpa spicatum Breda, Kuhl & Hasselt ลกั ษณะ ลำต้นสนั้ มาก ใบรูปขอบขนานถึงรูปแถบ ขนาด 2.5 x 8 ซม. ปลายใบเวา้ ลึก ชอ่ ดอกเปน็ ชอ่ กระจะ มกั มี มากกว่า 1 ช่อ ทอดเอียงหรือห้อยลง กลีบเล้ียงและ กลีบดอกรูปรีจนถึงรูปรีกว้าง ทั้งห้ากลีบสีน้ำตาล อมเหลือง มกั มจี ุดสีเขม้ กลบี ปากเปน็ ถุงลกึ ภายในถงุ มี เนอ้ื เยื่อรูปทรงคล้ายลิ้น 2 อนั ปลายกลีบปากแหลม ชว่ งออกดอก สงิ หาคม - ตุลาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในปา่ ดิบแลง้ ปา่ ดบิ เขา ป่าดิบช้ืน ตามที่ร่มแสงแดดรำไรถึงมืดครึ้ม พบได้ ทกุ ภมู ิภาคของไทย เขตการกระจายพนั ธ์ุ สิกขมิ อินเดยี พม่า จีน ไทย ลาว เวียดนาม มาเลเซีย อนิ โดนเี ซยี ฟลิ ปิ ปินส์ สถานภาพ พชื อนุรักษบ์ ญั ชีท่ี 2 ของอนุสญั ญาไซเตส พชื อนุรกั ษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1

เอ้อื งรังนก ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Porpax ustulata (C. S. P. Parish & Rchb. f.) Rolfe ลักษณะ ลำลูกกล้วยรูปทรงกลมและแบน ใบรูปรี ขนาด 1 x 2 ซม. ปลายใบเวา้ ดอกเด่ียวมี 1-2 ดอก กลีบเล้ียงเชื่อมกันหนึ่งในสามของความยาวกลีบ คล้ายหลอดสั้นๆ ด้านหลังกลีบเลี้ยง มีขนปกคลุม กลีบดอกรูปขอบขนาน ท้ังห้ากลีบปลายแหลม กลีบสีน้ำตาลแดงและมีลาย สเี ขม้ 1-5 ลาย กลบี ปากรูปขอบขนาน สนี ้ำตาลแดง และหักลงคลา้ ยเขา่ ชว่ งออกดอก กรกฎาคม - สิงหาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบเขาและป่าพรุน้ำจืด มีแสงแดดรำไร ถึงมดื ครม้ึ เขตการกระจายพนั ธ์ุ จนี พม่า ไทย สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส ในธรรมชาตพิ บเหน็ ไดย้ าก 108 พชื อนรุ ักษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1

เออ้ื งเสอื ดาว แมวดาว ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Pteroceras teres (Blume) Holttum ลักษณะ กล้วยไมอ้ งิ อาศยั ลำต้นค่อนขา้ งสน้ั มกั ห้อยลง ใบรูป แถบ กวา้ ง 1.5-2 ซม. ยาว 8-14 ซม. ปลายใบเวา้ ไม่เท่ากนั ช่อดอกแบบกระจะ ออกด้านข้างลำต้นหลายช่อ ดอกในช่อ 5-8 ดอก คอ่ นขา้ งห่างกนั ชอ่ ดอกยาว 10-20 ซม. ดอกขนาด 1 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลืองมีจุดสีน้ำตาลแดง กระจาย กลบี ปากสเี หลอื ง มแี ตม้ สีมว่ งขนาดใหญ่ มีเดอื ยดอก ขนาดใหญ่ชี้ไปดา้ นหน้า ชว่ งออกดอก ตลุ าคม - พฤศจิกายน สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ ดบิ ทกุ ภมู ภิ าคของไทย เขตการกระจายพันธ์ุ จีน สิกขิม อินเดีย พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม สุมาตรา ชวา บอร์เนยี ว เซลเี บส ฟลิ ิปปินส ์ สถานภาพ พืชอนรุ ักษบ์ ญั ชีที่ 2 ของอนุสญั ญาไซเตส พืชอนรุ กั ษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1 109

หวายแดง ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Renanthera coccinea Lour. ลกั ษณะ ลำต้นรูปทรงกระบอกยาวหลายเมตร มีรากขนาด ใหญ่ยึดเกาะต้นไม้และพยุงลำต้น ใบรูปขอบขนาน ขนาด 1-1.5 x 4-6 ซม. ปลายหยักเว้า ช่อดอกมีมากกว่า 1 ช่อ มหี ลายดอกเรียงหา่ งกัน ดอกสีแดงสด ขนาด 3-4 ซม. กลีบ เลีย้ งบนรูปแถบ กลบี เลยี้ งคขู่ ้าง รปู รียาว โคนรปู ล่ิม ขอบบิด เป็นคลื่น กลีบดอกรูปแถบ กลีบปากสั้น ม้วนลงด้านล่าง กลบี ปากมถี งุ ต้ืนๆ หกู ลบี ปากมีขนาดเล็ก รูปสามเหลี่ยม ชว่ งออกดอก มนี าคม - เมษายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบแล้ง ใกล้ลำธาร หรอื บนผาหินริมน้ำตก ในท่ีโลง่ แจง้ แสงแดดจัด เขตการกระจายพนั ธุ์ จนี พมา่ ไทย ลาว เวยี ดนาม สถานภาพ พชื อนรุ กั ษ์บัญชที ี่ 2 ของอนุสญั ญาไซเตส 110 พชื อนุรักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1

เออื้ งเขาแกะ เขาแกะ เออ้ื งขห้ี มา เขาควาย ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Rhynchostylis coelestis (Rchb. f.) A. H. Kent ลกั ษณะ ลำต้นรูปทรงกระบอก ใบรูปแถบ ขนาด 2 x 10 ซม. เรยี งชดิ กนั แนน่ ปลายใบเวา้ ไมเ่ ทา่ กนั ชอ่ ดอก ต้ังตรง ก้านช่อมักสั้นกว่าแกนช่อ ดอกขนาด 1.5 ซม. กลีบเลี้ยงบนรูปรีแกมรูปไข่กลับ กลีบเลี้ยงคู่ข้างรูปไข่ กลบั กลบี ดอกรปู ขอบขนานแกมรปู ไข่ ทงั้ หา้ กลบี สขี าว ปลายกลีบมนและขอบเป็นสีม่วงจาง กลีบปากรูปลิ่ม สขี าวอมมว่ งจนถงึ สมี ว่ งเขม้ ปลายกลบี มนและมสี เี ขม้ กวา่ โคน กลบี มเี ดอื ยดอกท่ี แบนและสว่ นปลายโคง้ งอ เสา้ เกสรสน้ั สขี าว ดอกมกี ลนิ่ หอมออ่ นๆ ช่วงออกดอก มีนาคม - พฤษภาคม สภาพนิเวศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศัย พบในปา่ เตง็ รงั ปา่ เบญจพรรณ และปา่ ดบิ แลง้ เขตการกระจายพนั ธุ์ ไทย ลาว กมั พูชา เวียดนาม สถานภาพ พืชอนรุ ักษ์บัญชที ี่ 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พชื อนรุ ักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผืนป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1 111

เอื้องไอยเรศ เอ้ืองพวงหางฮอก ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Rhynchostylis retusa (L.) Blume ลักษณะ ต้นรูปทรงกระบอกสั้น ใบรูปแถบ กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 15-30 ซม. ปลายใบเว้าไม่เท่ากัน ใบเหนียว ช่อดอกแบบกระจะ ออกด้านข้างลำต้น หอ้ ยลงยาว 30-60 ซม. ดอกในชอ่ จำนวนมาก ดอกขนาด 1.5 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีขาว มีจุดสีม่วงกระจาย กลีบปากสีขาว ปลายกลีบสมี ่วง เดอื ยดอกขนาดใหญ ่ ดอกมกี ลน่ิ หอม ช่วงออกดอก เมษายน - มิถนุ ายน สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ ผลดั ใบและไมผ่ ลดั ใบ ทวั่ ทกุ ภมู ภิ าคของไทย เขตการกระจายพนั ธ์ุ ศรลี งั กา เนปาล สกิ ขมิ ภฏู าน อสั สมั ไทย พมา่ อนิ โดจนี ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สมุ าตรา ชวา บอร์เนียว สถานภาพ พชื อนรุ กั ษ์บญั ชที ่ี 2 ของอนุสญั ญาไซเตส 112 พชื อนรุ ักษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผนื ป่าตะวันออก ตอนท่ี 1

เอ้อื งระยา้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ Robiquetia spathulata (Blume) J. J. Sm. ลักษณะ ลำต้นรปู ทรงกระบอกห้อยลง ใบรูปแถบ ขนาด 2 x 10 ซม. หนาและ แข็ง มีหลายใบ ปลายใบเว้าบุ๋ม ช่อดอกห้อยลง มีดอกจำนวนมาก เรียงแน่น ดอกสเี หลอื งและสีแดง ขนาด 0.8 ซม. กลบี เลยี้ งรูปรกี ว้าง ปลายกลีบมน กลบี ดอกรูปขอบขนาน ปลายกลีบมน กลีบปากอวบหนา สีเหลืองครีม มีเดือยดอก ขนาดใหญ่ รูปทรงกระบอก ปลายมน ช่วงออกดอก พฤษภาคม - มถิ นุ ายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าพรตุ ามทีร่ ่มรำไร เขตการกระจายพันธุ์ อินเดีย (สิกขิม) พม่า ไทย ลาว กมั พชู า เวยี ดนาม มาเลเซยี อนิ โดนีเซยี สถานภาพ พืชอนุรกั ษ์บญั ชีท่ี 2 ของอนุสญั ญาไซเตส พืชอนุรักษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1 113

เอื้องเสือโคร่ง เอ้อื งลายเสอื ชอื่ วิทยาศาสตร ์ Staurochilus fasciatus (Rchb. f.) Ridl. ลกั ษณะ รากมีขนาดใหญ่ ลำต้นรูปทรงกระบอก ใบรูป ขอบขนานจนถงึ รปู แถบ ขนาด 3.5 x 15 ซม. ปลายใบเวา้ ช่อดอกเป็นช่อกระจะ ดอกขนาด 3.5 ซม. เรียง ห่างๆ กัน กลีบเล้ียงรูปขอบขนาน กลีบดอกรูปรีแกมรูป ขอบขนาน ทั้งห้ากลีบอวบหนา สีเหลืองและมีลายสีน้ำตาลแดงพาดตามขวาง ปลายกลบี แหลม กลีบปากสีขาวและเปน็ 3 แฉก แฉกกลางมขี นปกคลุม ปลาย แฉกสเี หลือง กลางกลบี ปากมีจุดสีน้ำตาลแดง เส้าเกสรสเี หลือง อว้ นสั้น ชว่ งออกดอก มีนาคม - พฤษภาคม สภาพนเิ วศ กลว้ ยไม้องิ อาศัย พบในป่าเบญจพรรณ ปา่ เต็งรงั และปา่ ดบิ แลง้ ตามทโี่ ล่งแจง้ แสงแดดจดั เขตการกระจายพนั ธ์ุ กระจายเปน็ พนื้ ทก่ี วา้ งในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ้ สถานภาพ พชื อนรุ กั ษ์บญั ชีที่ 2 ของอนุสัญญาไซเตส 114 พืชอนรุ ักษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1

มรกตสอยดาว ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Sunipia soidaoensis (Seidenf.) P. F. Hunt ช่อื พอ้ ง Ione soidaoensis Seidenf. ลกั ษณะ ลำลกู กลว้ ยรปู ไขจ่ นถงึ รปู กรวยควำ่ สนี ำ้ ตาลจนถงึ สนี ำ้ ตาลแดง ใบรปู แถบ ขนาด 1.5 x 10 ซม. ก้านช่อเรียวและยาว 10 - 15 ซม. มี 2 - 7 ดอก ดอกสีเขียวออ่ น ขนาด 0.6 - 0.8 ซม. กลบี เล้ียงบนรปู รีแกมรูปหอก กลบี เล้ียงคู่ ขา้ งเช่อื มตดิ กันและอาจเช่อื มตดิ กับกลีบปาก มลี ายสมี ่วงตามแนวยาว กลบี ดอก ปลายแหลมรปู สามเหลยี่ ม ขอบหยกั เลก็ นอ้ ย กลบี ปากรปู ไขแ่ กมรปู หอก ปลายมน กลีบปากมสี ันนนู ตามแนวยาว เสา้ เกสรสน้ั ปลายมจี ะงอย 2 อัน ช่วงออกดอก กมุ ภาพันธ์ – เมษายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัยพบในป่าดิบเขาบนเรือนยอดของต้นไม้ท่ีได้รับ แสงแดดจัดทีค่ วามสูงประมาณ 1,400 - 1,600 เมตร เหนือระดบั นำ้ ทะเล เขตการกระจายพันธ์ุ กล้วยไม้ถ่ินเดียวท่ีพบเฉพาะในประเทศไทยท่ีจังหวัด จันทบุร ี สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พบเหน็ ไดย้ ากในธรรมชาติ พชื อนรุ ักษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผืนป่าตะวันออก ตอนที่ 1 115

เอ้ืองตะขาบเหลอื ง กระตา่ ยหเู ดยี ว ตนี ตะขาบ เออ้ื งแมงมมุ ขาว ชอ่ื วทิ ยาศาสตร ์ Thrixspermum centipeda Lour. ลักษณะ ลำต้นรูปทรงกระบอก ใบรูปขอบขนาน ขนาด 2.5 x 10 ซม. ปลายใบเว้าบุ๋ม ช่อดอกมักมีมากกว่า 1 ช่อ ดอกขนาด 4 ซม. ทยอยบานคราวละ 2-3 ดอก กลีบเล้ียงและกลีบดอกรูปแถบ สีเหลือง ปลายกลีบเรียว แหลม กลีบปากสีขาว ปลายกลีบปากมนและมีจุดสีส้ม จำนวนมาก โคนกลีบเปน็ อ้งุ เล็ก เส้าเกสรสนั้ สขี าว ช่วงออกดอก กรกฎาคม - กนั ยายน สภาพนิเวศ กลว้ ยไม้องิ อาศยั พบในป่าดิบเขา บางคร้งั เจริญและทอดเลื้อยไปตามผิวดิน ท้ังในท่ีโล่งแจ้ง แสงแดดจัดและรำไร เขตการกระจายพนั ธุ์ สกิ ขิม ภูฏาน อนิ เดยี พม่า ไทย ลาว กัมพชู า เวยี ดนาม มาเลเซยี อินโดนเี ซีย สถานภาพ พืชอนุรักษ์บญั ชีท่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 116 พืชอนรุ ักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1

ภาพ : วสนั ต์ ภูพิชติ ช้างงาเดยี ว เศวตสอดสี เอ้ืองงาชา้ ง ช่ือวิทยาศาสตร์ Thunia alba (Lindl.) Rchb. f. ลักษณะ ลำลูกกล้วยรูปทรงกระบอกยาวมาก ใบรูปหอกแกม รูปแถบ ขนาด 2.5 x 8 ซม. ปลายใบแหลม ชอ่ ดอกห้อยลง ดอกขนาด 5 ซม. มีจำนวนน้อย กลีบเล้ียงรูปหอกแกมรูปไข่ กลีบดอกรูปแถบแกมรูปไข่ ทั้งห้ากลีบมีสีขาว ปลายกลีบ แหลม เมื่อบานเต็มทไี่ ม่แผ่กว้าง กลบี ปากรูปรี ขอบกลบี หยกั ไมส่ มำ่ เสมอ กลางกลบี ปากสีเหลอื ง มีแถบหรอื เส้นสสี ม้ แผน่ กลบี มขี นเรยี งเปน็ แถว 5-7 แถว โคนกลบี มว้ นเขา้ จนหมุ้ เสา้ เกสร ช่วงออกดอก มิถุนายน - ตลุ าคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้ดิน พบในป่าดิบเขา บางคร้ังเจริญตามซอกหิน ขอนไม้ผุ หรอื อาศยั บนไมย้ นื ตน้ ในที่โล่งแจ้งแสงแดดจดั หรือที่รม่ แสงแดดรำไร เขตการกระจายพันธ์ุ เนปาล สิกขมิ ภูฏาน อินเดีย จนี พมา่ ไทย มาเลเซยี สถานภาพ พืชอนรุ ักษ์บัญชีที่ 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พืชอนุรกั ษใ์ นบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผืนป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1 117

เออ้ื งสายสุคนธ ์ ชอื่ วทิ ยาศาสตร ์ Trichoglottis cirrhifera Teijsm. & Binn. ลกั ษณะ ลำตน้ รปู ทรงกระบอกหอ้ ยลง ใบรปู ขอบขนาน จนถงึ รปู ขอบขนานแกมรปู ไข่ ขนาด 2.5 x 4.5 ซม. ปลายใบเว้าบุ๋ม ดอกเด่ียว ดอกขนาด 0.8 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปขอบขนาน ทั้งห้ากลีบ สีเหลืองอมน้ำตาล มีจุดสีน้ำตาลแดงท่ัวกลีบ ปลาย กลีบมน กลีบปากรูปขอบขนาน มีหูปากเป็นติ่ง ขนาดเล็ก แผน่ กลบี เกล้ียง กลบี มีเดอื ยดอกชล้ี งดา้ น ลา่ ง เส้าเกสรส้ัน สเี หลอื งอมนำ้ ตาล ดอกมกี ลน่ิ หอม ช่วงออกดอก ตลุ าคม - พฤศจกิ ายน สภาพนเิ วศ กลว้ ยไม้องิ อาศัย พบในปา่ ดบิ แลง้ และ ปา่ ดิบชื้นแสงแดดรำไร เขตการกระจายพันธ์ุ ไทย ลาว มาเลเซีย อนิ โดนีเซยี สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 118 พืชอนรุ ักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผนื ปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1

เออื้ งเบ้ยี ไม้ใบขน สามก้อม ชอื่ วิทยาศาสตร์ Trichotosia dasyphylla (C. S. P. Parish & Rchb. f.) Kraenzl. ลักษณะ ลำตน้ เป็นเหงา้ ทอดเลอื้ ย ไม่มีลำลกู กล้วย ใบรูปรี จนถงึ รปู ไขก่ ลบั ขนาด 0.6 x 1 ซม. ออกเปน็ กระจกุ 2-3 ใบ ปลายใบมน ดอกเดี่ยวออกปลายหน่อใหม่ ดอกขนาด 0.6 ซม. กลีบเล้ียงบนรูปรี กลีบเล้ียงคู่ข้างรูปรีกว้างและ เบีย้ ว กลบี ดอกและกลีบปากรูปขอบขนาน ปลายมน แผน่ กลบี เกลีย้ ง ท้ังหกกลบี สีเหลอื ง กลางกลบี ปากมีแตม้ สีแดง ชว่ งออกดอก เมษายน - มิถุนายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบเขา ตามท่ีโล่งแจ้งแสงแดดจัดและ รำไร เขตการกระจายพันธุ์ เนปาล สิกขิม ภูฏาน อินเดีย จีน พม่า ไทย ลาว เวียดนาม สถานภาพ พืชอนรุ ักษ์บญั ชที ่ี 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พืชอนุรกั ษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผืนป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1 119

สะแล่ง เออื้ งปากเปด็ เอื้องปูเลย ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Vanda pumila Hook. f. ลักษณะ ต้นสูง 10-15 ซม. ใบรูปแถบ กว้าง 1.5 ซม. ยาว 12-15 ซม. ใบค่อนข้างหนา ช่อดอกแบบกระจะ ออกตามซอกใบ ชอ่ ดอกยาว 5-8 ซม. ดอกในชอ่ 2-6 ดอก ดอกขนาด 3 ซม. สีขาวหรือสีครีม โคนกลีบปากเป็น อุ้งสีชมพูเข้ม กลางกลีบสีเหลืองและมีเส้นสีชมพูเข้ม พาดตามยาว ดอกมกี ลน่ิ หอม ช่วงออกดอก กมุ ภาพนั ธ์ - มีนาคม สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศัย พบในปา่ ดบิ เขตการกระจายพันธ์ุ จีน เนปาล สิกขิม ภูฏาน อนิ เดีย พม่า ลาว เวียดนาม สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีที่ 2 ของอนุสัญญา ไซเตส และในธรรมชาติพบได้นอ้ ยลง 120 พืชอนรุ ักษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผืนป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1

เถางูเขียว เครืองูเขียว ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Vanilla aphylla Blume ลักษณะ ลำตน้ อวบนำ้ สเี ขยี ว ไมม่ ใี บ ชอ่ ดอกเปน็ ชอ่ เชงิ หลนั่ ทยอยบานคราวละ 1-3 ดอก ดอกขนาด 3 ซม. กลบี เลย้ี ง รูปขอบขนาน กลีบดอกรูปขอบขนานแกมรูปรี ท้ังห้ากลีบ สีขาวจนถึงสีเขียวซีด ปลายกลีบมน กลีบปากสีขาว .แกมชมพูเรื่อ กลีบม้วนเข้า ขอบกลีบเช่ือมกับเส้าเกสร แผ่นกลีบดา้ นบนมีขนสชี มพูทม่ี ขี นาดต่างๆ กัน ชว่ งออกดอก มีนาคม - พฤษภาคม สภาพนิเวศ กล้วยไมเ้ ถาเลอื้ ยขนาดเล็ก พบในปา่ เต็งรังและปา่ ดบิ แล้ง เขตการกระจายพันธุ์ พม่า ไทย ลาว เวียดนาม มาเลเซีย อนิ โดนเี ซีย สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส ในธรรมชาตพิ บเหน็ ไดย้ าก พชื อนรุ กั ษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผนื ป่าตะวันออก ตอนท่ี 1 121

พลูช้าง ตองผา ชอื่ วทิ ยาศาสตร ์ Vanilla siamensis Rolfe ex Downie ลักษณะ ลำต้นอวบน้ำ ใบรปู รี ขนาด 10 x 20 ซม. ชอ่ ดอก เป็นช่อกระจะ อ้วนและสั้นมาก ดอกขนาด 5 ซม. ทยอย บานคราวละ 1-2 ดอก กลบี เลย้ี งและกลีบดอกรูปแถบแกม รูปไข่กลับ ทั้งหา้ กลบี สเี ขยี วอ่อน ปลายกลีบแหลม เม่ือบาน เต็มที่กลีบแผ่กว้าง กลีบปากรูปทรงเกือบกลม สีขาว พบ บ้างที่มีสีแดง ขอบกลีบบิดม้วนไปทางด้านล่าง ปลายกลีบมีกลุ่มขนท่ียาวและ แบน เสา้ เกสรเรยี วยาว ดา้ นหนา้ ของเสา้ เกสรมีขนยาวจำนวนมาก ชว่ งออกดอก พฤษภาคม - มิถุนายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้เถาเล้ือยขนาดใหญ่มาก พบในป่าดิบแล้งและป่าดิบเขา ตามท่ีรม่ ริมลำธาร มีแสงแดดรำไรถึงค่อนข้างมืดคร้มึ เขตการกระจายพนั ธ์ุ เป็นพชื ถ่นิ เดยี วท่ีพบเฉพาะในประเทศไทย สถานภาพ พืชอนรุ ักษบ์ ัญชที ่ี 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส 122 พชื อนุรักษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผนื ป่าตะวันออก ตอนที่ 1

เออื้ งดนิ นอ้ ยใบเงิน ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Zeuxine nervosa (Wall. ex Lindl.) Benth. ex Trimen ลกั ษณะ ลำต้นทอดชูยอด ใบรูปหอกแกมรูปไข่ ขนาด 1 x 2 ซม. สีเขียวเข้ม มีแถบสีเงินขนาดใหญ่ ปลายใบแหลม ดอกขนาด 0.5 ซม. มีจำนวนน้อย กลบี เลยี้ งบนรปู รแี กมรปู ไข่ กลบี เลยี้ งคขู่ า้ งเบย้ี ว ทง้ั สามกลบี สเี ขยี ว กลบี ดอกสขี าว ปลายกลบี มน กลีบปากสีขาว ปลายกลีบเวา้ ลกึ เปน็ 2 แฉก โคนกลีบเปน็ อุ้งลึก ภายในมรี ยางค์อ้วนส้ัน 2 อัน เสา้ เกสรขนาดเล็กและถูกบังดว้ ยกลบี เล้ียงบน ชว่ งออกดอก กันยายน - ตลุ าคม สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมด้ ิน พบในป่าดบิ แลง้ และปา่ ดิบเขา ตามที่ร่มแสงแดดรำไร ค่อนข้างมืดครมึ้ เป็นดินร่วนปนทรายถงึ ดินทราย ในทกุ ภมู ิภาคของไทย เขตการกระจายพันธ์ุ เนปาล สิกขิม ภูฏาน อินเดีย จีน ไทย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ สถานภาพ พืชอนรุ กั ษบ์ ัญชีที่ 2 ของอนุสัญญาไซเตส พชื อนุรกั ษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1 123

ก ดัชนีชื่อไทย หนา้ กระต่ายหเู ดยี ว 38 กล้วยไม้มา้ หน้า 121 กลว้ ยไมม้ ือนาง ค 92 กล้วยหางไหล 13 กลว้ ยหิน 116 คอกว่าง 14 กะเรกะร่อน 102 เครืองูเขียว 117 กะเรกะร่อนเขา 51 ง 107 กะเรกะรอ่ นดอย 47 งูเขียวนอ้ ย 79 กะเรกะรอ่ นด้ามข้าว 102 จ 81 กะเรกะรอ่ นปากแดง 47 จุกพราหมณ์ 34 กะเรกะรอ่ นปากเป็ด 49 จุกโรหินี 102 กา้ งปลา 50 ช 122 กหุ ลาบเหลอื งโคราช 48 ชา้ งงาเดยี ว 87 ข 49 ชา้ งดำ 18 ขาวมะลิลา 50 ช้างผสมโขลง 116 ขา้ วตอกปราจนี 41 ช้างรอบคอ เข็มหน ู 16 ฒ เขากวางอ่อน เขาแกะ เฒา่ นัง่ ฮงุ่ เขาควาย 37 ด เขม็ เยบ็ กระสอบ 68 แดงอุบล 13 ต 101 ตองผา 111 ตากาฉ่อ 111 ตานโมย 42 ตนี ตะขาบ 124 พชื อนรุ ักษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1

ถ หน้า หน้า เถางเู ขยี ว มา้ วิ่ง 102 ท 72 เทยี นทอง 121 มอื ชะนี 11 เทยี นพญาอินทร ์ แมงภ ู่ 109 น 11 นกกระยาง 57 แมวดาว 11 นมหนหู ัวกลม 57 ร 11 บ 14 บวบกลางหาว รองเท้านารี 33 ป 56 รองเทา้ นารคี างกบ 85 ปัดแดง 13 รองเทา้ นาง 83 ผ 23 ผักเบี้ยชา้ ง รูหนิ ี 79 พ 56 ล 89 พลชู ้าง 79 พุ่มสุวรรณ ล้ินฟา้ 83 ฟ 85 ลนิ้ มงั กร 89 เฟิน 117 ม ว 97 มรกตสอยดาว 89 วา่ นงูเหลือม มอกคำเครือ มงั กรทอง ว่านนางบัวป้อง มา้ ลาย 122 วา่ นนานเยน็ 22 ว่านนำ้ ทอง ว่านบัวแก้ว 85 วา่ นเพชรหึง ว่านร่อนทอง 115 ศ 52 เศวตสอดสี 97 ส 101 สรอ้ ยทอง พชื อนรุ กั ษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1 125

สะแล่ง หน้า หนา้ สงั หนิ 120 หางเปยี 64 สามก้อม 85 หางแมงเงา 19 สิงโตกา้ มปูใหญ่ 119 หางแมงเงาเลก็ 20 สงิ โตแคระดอกสาย 28 หางแมงปอ่ ง 20 สงิ โตโคมไฟ 24 เหลอื งจนั ทบรู 60 สงิ โตงาม 29 อ 84 สงิ โตนวล 30 อังกรุ พัตร 37 สงิ โตนกั กลา้ ม 24 อว้ั นวลจันทร ์ 36 สิงโตพัดแดง 27 อั้วพวงมณี 74 สิงโตพดั เหลือง 26 เอื้องกระต่ายดอกสม้ 104 สิงโตรวงขา้ วนอ้ ย 32 เออื้ งกาบดอก 15 สงิ โตรวงข้าวเมืองจนั ท์ 31 เอื้องกุหลาบกระเป๋าเปดิ 15 สงิ โตสยาม 25 เอ้ืองกุหลาบป่า 15 สงิ โตหลอดไฟ 33 เอื้องกหุ ลาบพวง 16 เสอื เหลือง 29 เอื้องกหุ ลาบเหลืองโคราช 72 แส้พระอนิ ทร์ 81 เออ้ื งขนค่าง 88 ห 56 เออื้ งข้าวสาร 111 หญา้ ดอกหิน 100 หวายเขม็ เอื้องขี้หมา 22 หวายแดง 102 เออ้ื งเข็มทอง 101 หวายตะมอย 95 เออื้ งเข็มแสด 111 หัวข้าวต้ม 110 เอื้องเขากวาง 38 หวั ขา้ วเยน็ 56 เอ้อื งเขาแกะ 80 หางกระด่งิ 79 เออื้ งเข้ยี วเสือลาย 52 79 เออ้ื งแขง้ ไก่ปากหยกั 104 เอ้ืองไขเ่ น่า 126 พืชอนุรกั ษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1

เอื้องคางกบ หน้า หน้า เอื้องคางคก 11 เอ้ืองเทยี นสามดอก 46 เอื้องคำตาดำ 11 เอื้องนกขม้ิน 60 เออ้ื งคำสบนก 59 เอื้องนมหน ู 14 เออ้ื งคำหนิ 15 เอื้องนอ้ ย 69 เออื้ งงวงชา้ ง 78 เอื้องนางนี 72 เอ้อื งงาช้าง 52 เออ้ื งน้ำต้น 34 เอื้องจกั จนั่ 117 เออ้ื งน้ำเต้า 36 เออ้ื งชอ่ เงินยวง 99 เอื้องนม่ิ ดอกเหลอื ง 76 เอ้ืองชะนี 77 เออ้ื งบายศร ี 78 เอื้องชูคาง 72 เอื้องเบ้ยี ไม้ใบขน 119 เอือ้ งแซะดง 93 เอื้องใบไผ ่ 71 เออ้ื งดอกมะเขือ 63 เอื้องใบมะขาม 105 เออ้ื งดอกหญา้ 62 เอื้องปากเปด็ 15, 47, 120 เอ้ืองด้ามขา้ ว 88 เออ้ื งปีกไก่ใหญ่ 17 เอื้องดิน 15, 47 เออ้ื งปูเลย 120 เอื้องดนิ นอ้ ยใบเงิน 86 เออ้ื งผึ้ง 66 เอื้องดนิ ฟ้าม้าน 123 เออ้ื งพวงสร้อย 40 เออ้ื งตะขาบเหลือง 23 เออ้ื งพวงสรอ้ ยน้อย 39 เออ้ื งตะขาบใหญ่ 116 เออ้ื งพวงหางฮอก 112 เออ้ื งตนี จง้ิ จก 65 เอื้องแพนชอ่ โปรง่ 96 เอ้ืองทอง 12 เออ้ื งแผงก้างปลา 64 เอื้องเทยี น 58 เอื้องมะล ิ 56 เอื้องเทียนไทย 43 เออ้ื งมจั ฉา 70 เอื้องเทยี นใบแคบ 44 เออ้ื งมันปู 22 46 เออ้ื งม้าลายเสือ 101 พืชอนรุ กั ษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1 127

เอื้องมือคา่ ง หน้า หน้า เอื้องแมงปอเล็ก 72 เออ้ื งสายนำ้ นม 54 เออ้ื งแมงมมุ ขาว 21 เอื้องสายไม ้ 52 เออ้ื งแมลงปอทอง 116 เอื้องสายเศวตปากสม้ 73 เออ้ื งย้อยไม้ 95 เอื้องสายสรอ้ ย 104 เอ้ืองรงรอง 52 เออ้ื งสายสด่ี อก 57 เอื้องระยา้ 98 เออ้ื งสายสุคนธ์ 118 เออื้ งรงั นก 113 เออ้ื งสจี ุน 63 เอื้องลอ่ งแลง่ 108 เออ้ื งสีตาล 63 เออื้ งลายเสือ 52 เออ้ื งเสอื โคร่ง 114 เอื้องลำตอ่ 114 เออ้ื งเสือดาว 109 เอือ้ งลำตอ่ กลม 103 เออ้ื งเสอื แผว้ 106 เอื้องลำตอ่ ใหญ ่ 103 เอื้องหมาก 45 เอือ้ งลำเทยี น 104 เอื้องหางปลา 67 เอื้องลำเทียนปากดำ 43 เออื้ งหางไหล 47 เออ้ื งลน้ิ ดำ 43 เออ้ื งหัวค้อน 94 เออ้ื งลิ้นดำเล็ก 90, 92 เอื้องเหล่ยี ม 34 เออ้ื งเลน่ ลม 91 เอ้อื งอินจนั 75 เอื้องแววมยรุ า 84 เอือ้ งอีฮยุ 72 เออื้ งสายดอกขาว 59 เออ้ื งไอยเรศ 112 เอื้องสายนำ้ เขยี ว 54 เออ้ื งฮอ่ งคำ 22 53 เอือ้ งฮางคาง 22 128 พชื อนรุ กั ษใ์ นบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1

ดัชนีชื่อวิทยาศาสตร์ Pages A 12 Acampe ochracea (Lindl.) Hochr. 13 Acriopsis indica Wight 14 Acriopsis liliifolia (J. König) Seidenf. 15 Aerides falcata Lindl. & Paxton 16 Aerides houletiana Rchb. f. 17 Agrostophyllum planicaule (Wall. ex Lindl.) Rchb. f. 18 Apostasia nuda R. Br. 19 Appendicula cornuta Blume 20 Appendicula reflexa Blume 21 Arachnis labrosa (Linld. & Paxton) Rchb. f. 22 Ascocentrum miniatum (Lindl.) Schltr. 23 B 24 Brachycorythis heglecta H. A. Pedersen 25 Bulbophyllum clandestinum Lindl. 26 Bulbophyllum dissitiflorum Seidenf. 27 Bulbophyllum flabellum-veneris (J. König) Aver. 28 Bulbophyllum lasiochilum C. S. P. Parish & Rchb. f. 29 Bulbophyllum macranthum Lindl. 30 Bulbophyllum odoratissimum (Sm.) Lindl. ex Hook. f. Bulbophyllum orectopetalum Garay, Hamer & Siegerist พชื อนรุ ักษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1 129

Bulbophyllum parviflorum C. S. P. Parish & Rchb. f. Pages Bulbophyllum retusiusculum Rchb. f. Bulbophyllum siamense Rchb. f. 31 C 32 Calanthe cardioglossa Schltr. 33 Calanthe rubens Ridl. Calanthe vestita Wall. ex Lindl. 34 Cleisomeria lanatum (Lindl.) Lindl. ex G. Don 36 Cleisostoma crochetii (Guillaumin) Garay 37 Cleisostoma discolor Lindl. 38 Cleisostoma fuerstenbergianum Kraenzl. 39 Cleisostoma lanatum Lindl. 40 Cleisostoma rostratum (Lindl.) Garay 41 Coelogyne brachyptera Rchb. f. 38 Coelogyne graminifolia C. S. P. Parish & Rchb. f. 42 Coelogyne quadratiloba Gagnep. 43 Coelogyne thailandica Seidenf. 46 Coelogyne trinervis Lindl. 44 Coelogyne viscosa Rchb. f. 44 Cymbidium aloifolium (L.) Sw. 45 Cymbidium bicolor Lindl. 46 Cymbidium dayanum Rchb. f. 47 Cymbidium finlaysonianum Lindl. 48 49 50 130 พชื อนรุ ักษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1

D Pages Dendrobium acerosum Lindl. Dendrobium aphyllum (Roxb.) C. E. C. Fisch. 51 Dendrobium crepidatum Lindl. & Paxton 52 Dendrobium cretaceum Lindl. 53 Dendrobium crumenatum Sw. 54 Dendrobium cumulatum Lindl. 56 Dendrobium ellipsophyllum Tang & F. T. Wang 57 Dendrobium fimbriatum Hook. 58 Dendrobium friedericksianum Rchb. f. 59 Dendrobium hercoglossum Rchb. f. 60 Dendrobium heterocarpum Wall. ex Lindl. 62 Dendrobium keithii Ridl. 63 Dendrobium leonis (Lindl.) Rchb. f. 64 Dendrobium lindleyi Steud. 65 Dendrobium mannii Ridl. 66 Dendrobium oligophyllum Gagnep. 67 Dendrobium pachyphyllum (Kuntze) Bakh. f. 68 Dendrobium palpebrae Lindl. 69 Dendrobium polyanthum Wall. ex Lindl. 70 Dendrobium salaccense (Blume) Lindl. 54 Dendrobium senile C. S. P. Parish & Rchb. f. 71 Dendrobium stuposum Lindl. 72 Diploprora championii (Lindl.) Hook. f. 73 Doritis pulcherrima Lindl. 74 102 พชื อนุรกั ษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1 131

E Pages Eria biflora Griff. Eria bractescens Lindl. 75 Eria globulifera Seidenf. 76 Eria lasiopetala (Willd.) Ormerod 77 Eulophia graminea Lindl. 78 F 79 Flickingeria fimbriata (Blume) A. D. Hawkes 80 G 81 Gastrochilus obliquus (Lindl.) Kuntze 83 Grammatophyllum speciosum Blume 84 Grosourdya appendiculata (Blume) Rchb. f. 85 H 86 Habenaria rhodocheila Hance 115 Hetaeria finlaysoniana Seidenf. 87 I 88 Ione soidaoensis Seidenf. 89 K 90 Kingidium deliciosum (Rchb. f.) H. R. Sweet 91 L 92 Liparis viridiflora (Blume) Lindl. Ludisia discolor (Ker Gawl.) A. Rich. Luisia filiformis Hook. f. Luisia macrotis Rchb. f. Luisia zollingeri Rchb. f. 132 พชื อนุรักษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1

M Pages Macropodanthus alatus (Holttum) Seidenf. & Garay Macropodanthus tridentatus Seidenf. 93 Malleola dentifera J. J. Sm. 93 Micropera pallida (Roxb.) Lindl. 94 O 95 Oberonia gammiei King & Pantl. 96 Ornithochilus difformis (Wall. ex Lindl.) Schltr. 97 P 98 Panisea uniflora (Lindl.) Lindl. 11 Paphiopedilum callosum (Rchb. f.) Stein 99 Pelatantheria insectifera (Rchb. f.) Ridl. 100 Pennilabium struthio Carr 101 Phalaenopsis cornu-cervi (Breda) Blume & Rchb. f. 102 Phalaenopsis pulcherrima (Lindl.) J. J. Sm. 103 Pholidota articulata Lindl. 104 Pholidota imbricata Lindl. 106 Pomatocalpa maculosum (Lindl.) J. J. Sm. 105 Podochilus microphyllus Lindl. 106 Pomatocalpa naevatum J. J. Sm. 107 Pomatocalpa spicatum Breda, Kuhl & Hasselt 108 Porpax ustulata (C. S. P. Parish & Rchb. f.) Rolfe 109 Pteroceras teres (Blume) Holttum 110 R Renanthera coccinea Lour. พชื อนุรกั ษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผนื ปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1 133

Rhynchostylis coelestis (Rchb. f.) A. H. Kent Pages Rhynchostylis retusa (L.) Blume Robiquetia spathulata (Blume) J. J. Sm. 111 S 112 Staurochilus fasciatus (Rchb. f.) Ridl. 113 Sunipia soidaoensis (Seidenf.) P. F. Hunt T 114 Thrixspermum centipeda Lour. 115 Thunia alba (Lindl.) Rchb. f. Trichoglottis cirrhifera Teijsm. & Binn. 116 Trichotosia dasyphylla (C. S. P. Parish & Rchb. f.) Kraenzl. 117 V 118 Vanda pumila Hook. f. 119 Vanilla aphylla Blume Vanilla siamensis Rolfe ex Downie 120 Z 121 Zeuxine nervosa (Wall. ex Lindl.) Benth. ex Trimen 122 123 134 พืชอนรุ กั ษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผืนป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1

บรรณานกุ รม กลุ่มงานประสานงานและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ. 2552. กล้วยไม้ป่าเขตรกั ษาพันธส์ุ ัตวป์ ่าภูหลวง. กองคุ้มครองพันธ์ุสตั ว์ป่าและ พืชป่าตามอนุสัญญา, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. 208 หน้า. กลุ่มงานวิจัยพันธ์ุพืชป่า มีค่า หายาก และใกล้สูญพันธุ์. 2551. คู่มือศึกษา กล้วยไม้ป่า เล่ม 1. สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธ์ุพืช, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธพ์ุ ืช. 221 หนา้ . สลิล สิทธิสัจจธรรม. 2549. กล้วยไม้ป่าเมืองไทย. สำนักพิมพ์บ้านและสวน, กรุงเทพฯ. 495.หนา้ . . 2553. กล้วยไม้สิงโตกลอกตาในประเทศไทย. สำนักพิมพ์บ้านและ สวน, กรงุ เทพฯ. 255 หนา้ . สลิล สิทธิสัจจธรรม และเพชร ตรีเพ็ชร. 2552. กล้วยไม้ป่าเมืองไทย 2. สำนกั พมิ พ์บา้ นและสวน, กรุงเทพฯ. 463 หน้า. สลิล สิทธิสัจจธรรม และนฤมล กฤษณชาญตี. 2545. คู่มือกล้วยไม้. สำนัก พิมพส์ ารคด,ี กรุงเทพฯ. 248 หนา้ . สวนพฤกษศาสตรส์ มเด็จพระนางเจา้ สิริกิต.ิ์ 2551. กล้วยไมไ้ ทย 1. หจก. วนิดา การพิมพ์, เชยี งใหม.่ 312 หนา้ . . 2551. กล้วยไม้ไทย 2. หจก. วนดิ าการพิมพ,์ เชยี งใหม.่ 328 หน้า. อบฉันท ์ ไทยทอง. 2545. กลว้ ยไม้เมอื งไทย. บรษิ ทั อมรินทร ์ พรนิ้ ต้งิ แอนด์ พับลชิ ช่งิ จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ. 461 หนา้ . Pooma, R & et.al. 2005. A Preliminary Check – list of Threatened Plants in Thailand. National Park wildlife and Plant Conservation Department, Bangkok. 193 p. พืชอนรุ กั ษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1 135

Santisuk, T & et.al. 2006. Thailand Red Data : Plants. Office of Natural Resources And Environmental Policy and Planning, Bangkok. 256 p. Seidenfaden, G. 1973. Note on Cirrhopetalum Lindl. Dansk Botanisk Arkiv Udgivet af Dansk Botanisk Forening 29 (1). 260 p. . 1979. Orchid Genera in Thailand VIII. Bulbophyllum Thouars. Dansk Botanisk Arkiv Udgivet af Dask Botanisk Forening 33(3). 228 p. . 1985. Orchid Genera in Thailand XII. Dendrobium Sw. Opera Botanica 83, Copengagen. 295 p. . 1995. Contribution to the orchid flora of Thailand XII. Opera Botanica 124, Copenhagen. 90 p. The Forest Herbarium. 2011. Flora of Thailand Volume Twelve Part One. Department Of National Parks Wildlife and Plant Conservation, Prachachon Co. Ltd. 302 p. Vaddhanaphuti, N. 1997. A field Guide to the Wild Orchid of Thailand. O.S. Printing House, Bangkok. 158 p. 136 พชื อนุรักษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผืนป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1

คำขอบคุณ ขอขอบคณุ ดร.สมราน สุดดี สำหรับคำปรกึ ษา การจำแนกชนิดและ รปู ภาพกลว้ ยไม้ คณุ ดวงเดอื น ศรีโพธา และคณะเจ้าหน้าท่ีกลมุ่ วิจยั อนสุ ญั ญา ไซเตสด้านพืช สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร สำหรับการจำแนก ตัวอยา่ งกลว้ ยไม้ คณุ อภสิ ิทธ์ิ ปดิ ทอง และคณะเจ้าหนา้ ทเี่ ขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่า เขาสอยดาว คณุ พรชยั วนสั รจุ น์ และคณะเจา้ หนา้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาคชิ ฌกฏู สำหรับความร่วมมือและอำนวยความสะดวกในการศึกษาสำรวจ คุณชาตรี มากนวล คุณสุพัตรา ลิมปิยประพันธ์ คุณวสันต์ ภูพิชิต คุณจิราภรณ ์ มีวาสนา คุณวิทยา อุ่นเรือน ดร.เดชา วิวัฒน์วิทยา และ คุณภัทธรวีร์ พรมนสั สำหรับรปู ภาพกล้วยไมท้ ีใ่ ช้ประกอบในหนงั สอื เล่มน ้ี พชื อนุรกั ษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผนื ป่าตะวันออก ตอนท่ี 1 137

บนั ทึก