อาเศยี รวาท เน่ืองในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ ๕ รอบ ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ ศุภศรีเจรญิ วงศ์ เลศิ ขัตตยิ าวรนรี สุธิดาพระภมู พิ ล ธ วติ กตระหนักลน้ เจา้ ฟา้ จฬุ าภรณองค์ มริ ะลึกพระวรกาย ด�ำเนนิ วถิ ีปยิ ชนก สุตะยินและยลหมาย กละเพ่อื ววิ ัฒนก์ าร บำ� รงุ ประชาสขุ ะประดน ปยิ นาถประเทาภาร เสดจ็ เยย่ี ม ณ แดนทุพลถิน่ อยั กีปิตจุ ฉา เยียวยาประสทิ ธปิ รยิ าย เจา้ ฟา้ วทิ ูวิทยศาสตร์ ราชกิจอเนกคณุ ะสมาน
สาลินีฉันท์ ๑๑ ทรงก่อต้งั กองทนุ พระการณุ ย์คณุ วศิ าล์ สง่ เสริมเวทวิชา “มูลนธิ ิจุฬาภรณ์ ” ต้งั “สถาบนั วิจยั ฯ ” ประสงค์ให้ประยกุ ตส์ อน วิทยค์ ่เู ทคโนฯ ป้อน กศุ ลกิจระบือไกล แบบอยา่ งทรงวางถ้วน พสกล้วนส�ำนึกใน “สถาบนั มะเรง็ ฯ ” ให้ รุโรคร้ายมลายพ้น มาณวกฉันท์ ๘ ยากจรดล สบื ปณิธาน ทุกทิศภาค มจี ิตะหาญ เพอื่ นรชน เอกอนเุ คราะห์ สมเด็จพระศรฯี มลู นธิ เิ หมาะ จักอภบิ าล เลือกพฤตกิ รรม “พอ.สว. ” พาคณะน�ำ รกั ษม์ ิเฉพาะ สัตวะรกั ษา แลพระนัดดา แพทยะลำ�้ ลลิตาฉันท์ ๑๒ กมลประภา เมตตาพิศาลพริ ยิ ะล้น ทรงงานมิท้อหทยกลา้ ระวาดระไว คราวร้ายระทกึ กระทบตระหนก อทุ กภัย ทกั ษิณเผชญิ ทุระวลิ ัย เทวษทวี ทรงกอบและกู้วชิ ยคืน กฟ็ ้ืนวิถี ชีวติ เกษมวิบลุ ะท ่ี ประสทิ ธิป์ ระสงค์ “ ทับทมิ สยาม ” วรอบุ ัติ วิวรรธน์จ�ำนง บูรพาอิสานกสิธะรง อฬุ ารอุดม อนรุ กั ษส์ ภาวะชะละศัย คะในประรมภ์ “ อุทยาน(ใต้)ทะเล ” วสะนิยม นทิ ศั น์นิธาน
ศานติ์ศรีสทิ ธิสมยั ฤดปี ติ ิพิไล วภิ า อ่าองค์สุดาไทย หา้ รอบครบชะนะมายุกาลวริษฐา เพียงทพิ ย์อภิษฎา บดนิ ทร์ เจริญตามรอยพระมหาชะนะกะศลิ ปนิ ดนตรีพศิน สธุ ี “ สายสมั พนั ธส์ องแผ่นดิน ” วเิ ศษฐติ ิคดี สืบมติ รภาพท่ี จริ ัง ทนุ ศึกษาบรบิ รู ณ์บ�ำรุงวจนสั่ง ดแู ลมิหยุดย้ัง ประมาณ “ ทูลกระหมอ่ มพระอาจารย ์ ” เสด็จ ณ สิกขส์ ถาน ศิลปศ์ าสตร์ ธ ประทาน อนนั ต์ กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ทวยราษฎรพ์ รอ้ มกัน เชญิ รัตนตรยั จงบนั ดาลให้ เหนือเกล้าเทดิ ขวัญ ทรงพระส�ำราญ ส่ิงศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิสรรพ์ พรอันประเสริฐ เจา้ ฟ้าจอมใจ ดลสขุ เกษมศานต์ิ ปลอดภยั ทกุ สถาน บารมีลำ้� เลศิ พระชนมย์ ืนยง เสด็จหนทางใด เจริญล้�ำธรรมทศั น์ วรรณะตระการ วสิ ทุ ธิมรรคสง่ หฤทัยมน่ั คง มโนรมยส์ บสวสั ด์ิ ทรงเกษมเปรมปรดี ิ์ เพ็ญศลี เจดิ ใส กราบบาทปราชญอ์ นงค์ ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ี มูลนิธิจุฬาภรณ์ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ประพันธ์โดย : คุณหญิงรัตนาภรณ์ ฉัตรพงษ์
“ท้งั ชีวติ อทุ ิศเพ่อื ราษฎร”์
พระประวัติ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬ าภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีท่ี 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระท่ีน่ังอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ทรงเป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลท่ี 9 ทรงได้รับพระราชทานพระนามอันเป็นมงคลยิ่งว่า “สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกมุ ารี” พระนาม “จฬุ าภรณ”์ ถอื เปน็ พระนามมงคลยง่ิ เพราะหมายถึง การอัญเชิญพระนาม “จุฬา” ใน พระปรมาภไิ ธยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั มาเปน็ คาํ ต้นพระนามของพระองค์ เน่ืองดว้ ยในวนั ประสูติ นั้น เป็นวันมหาปีติของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยท่ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดําเนินไป พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผ้สู าํ เรจ็ การศกึ ษา “ลูกมีหนา้ ที่จะต้องเรียนหนังสือให้มีความรู้ เพือ่ จะได้ออกมาท�ำงานเพอื่ ประเทศชาตติ อ่ ไป” ค�ำสอนของพระราชบดิ าและพระราชมารดา ตง้ั แตท่ รงมพี ระชนั ษา เพียง 2 ปี เมื่อทรงเริ่มศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนจิตรลดา วันแรกท่ี เสด็จไปโรงเรียนจึงมิได้ทรงกันแสงเช่นเด็กอ่ืน และทรงยึดถือค�ำสอนน้ี เป็นแรงบันดาลพระทัยให้ทรงงานเพ่ือประเทศชาติและประชาชนตราบถึง ทกุ วนั นี้ 8 “ทง้ั ชวี ิต อทุ ศิ เพ่อื ราษฎร”์
พ.ศ. 2504 ฉายพระรูปร่วมกับ พระราชบดิ า พระราชมารดา พระเชษฐภคนิ ี ทั้งสอง และพระเชษฐา ณ พระตําหนัก จติ รลดารโหฐาน ต้ังแต่ทรงพระเยาว์ทรงสนพระทัยและมีพระปรีชาด้านอักษรศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และทรงได้รับการปลูกฝังทางศิลปะไปพร้อมกัน หลงั เสดจ็ กลับจากโรงเรียนจะทรงท�ำการบ้าน และทรงเลือกใช้เวลาทเี่ หลือส�ำหรบั การฝกึ ซอ้ มเปยี โนกบั พระอาจารยช์ าวรสั เซยี อกี วนั ละ 1 - 2 ชว่ั โมง จนทรงช�ำนาญ และทรงสามารถบรรเลงเพลงไดอ้ ยา่ งไพเราะลกึ ซง้ึ นอกจากน้ี พระปรีชาสามารถ ด้านนาฏศิลป์ก็โดดเด่นงดงามเช่นเดียวกัน ทรงหมั่นฝึกฝนการร�ำไทยกับ ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ศิลปินแห่งชาติด้านนาฏศิลป์ ต้ังแต่ทรงศึกษาอยู่ ช้ันอนุบาล 1 ใน พ.ศ. 2506 และทรงร่วมแสดงในงานรื่นเริง ปิดภาคเรียนเป็น ประจําทกุ ปี เส้นทางสายวิทยาศาสตร์ ขณะทรงศึกษา ทรงมีพระปรีชาสามารถและทรงสนพระทัยวิชาคํานวณและวิทยาศาสตร์ ในขณะเดียวกัน โปรดศกึ ษาวิชาภาษาต่างประเทศ และวิชาดา้ นศลิ ปะควบคไู่ ปดว้ ย เม่ือถึงเวลาเลอื กสายการศึกษาเพื่อศกึ ษาในช้ัน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ณ โรงเรยี นจติ รลดา ทรงเลอื กเรยี นสายวทิ ยาศาสตร์ เพอื่ น�ำวชิ าความรมู้ าตอ่ ยอดท�ำประโยชน์ เพ่ือน�ำความสุขมาส่ปู ระชาชนตามพระราชประสงคข์ องพระราชมารดา ดงั รับสัง่ ว่า “สมเด็จแม่เคยรับส่ังว่าทรงมีลูกเพียง 4 คน โปรดท่ีจะให้ศึกษาในแขนงวิชาต่างๆ กัน เพื่อท่ีจะ ได้มาท�ำประโยชน์ให้กับประเทศชาติได้หลายด้าน ดังนน้ั เม่อื สมเดจ็ พระเทพรัตนฯ ทรงศกึ ษาทางด้าน อกั ษรศาสตรก์ อ่ นแลว้ จงึ ไดต้ ดั สนิ ใจมาเรยี นทางดา้ น วิทยาศาสตร์ แมจ้ ะชอบดา้ นศิลปะก็ตาม” ทรงได้รับความส�ำเร็จอย่างดีเลิศในการศึกษา สาขาวิทยาศาสตรใ์ นระดับสูงสดุ “ทัง้ ชวี ิต อทุ ศิ เพอื่ ราษฎร”์ 9
พ.ศ. 2522 : ทรงส�ำเร็จการศึกษาปริญญา วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาอินทรยี ์เคมี เกียรตนิ ิยมอนั ดบั 1 จากมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ดว้ ยความเอาพระทัยใส่ และพระปรีชาสามารถในการเล่าเรียน ทรงสอบได้ที่ 1 ในวิชาเคมีและชีววิทยา ทรงได้รับรางวัลเรียนดีจาก มูลนธิ ิศาสตราจารย์ ดร.แถบ นีละนิธิ เน่ืองจากทรงศึกษาทางภาควิชาเคมีโดยเฉพาะ จงึ ทรงใชเ้ วลามากในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ทรงงานทดลองอยา่ ง มีระบบ คือ กอ่ นทาํ การทดลองทรงพยายามเข้าพระทยั ถงึ วัตถปุ ระสงคข์ องการทดลอง วิธกี ารและข้ันตอนทคี่ วรปฏิบัติ เม่อื ลงมอื ปฏบิ ัตกิ ไ็ ด้ดาํ เนินการไปตามลําดบั จึงได้ ปรากฏผลส�ำเร็จรวดเรว็ ถูกตอ้ งตามจุดมุ่งหมายและไดผ้ ลดี ทรงช่างสังเกตและทรงใชไ้ หวพรบิ ในการตัดสินพระทยั ปฏบิ ตั ิ ซ่งึ ถือเปน็ คุณสมบตั ิของนกั วิจัยท่ีดี พ.ศ. 2528 : ทรงส�ำเร็จการศึกษาปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาอินทรีย์เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2530 : ทรงส�ำเร็จการอบรมระดับหลังปริญญาเอก (Post Doctoral Training) เรื่อง “Synthesis of Oligonucleotides Using Polymer Support and Their Applications in Genetic Engineering” จากมหาวิทยาลยั อลู ์ม สหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี พ.ศ. 2550 : ทรงส�ำเร็จการศึกษาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาเพาะเล้ียงสัตว์น�้ำ คณะประมง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2557 : ทรงส�ำเร็จการศึกษาปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพทางสัตวแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ) จากคณะ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพ่ือทรงน�ำความรู้มาดูแล รักษาสตั ว์ เนอ่ื งจากสตั ว์มีความใกลช้ ิดกับมนุษย์มาก หากสัตวเ์ ลีย้ งมีสขุ ภาพดี ไมม่ โี รค ก็จะลดความเส่ยี งต่อการเจบ็ ป่วยของผูเ้ ลยี้ งดว้ ย 10 “ท้ังชวี ิต อทุ ศิ เพอ่ื ราษฎร”์
พระกรณียกจิ เพ่ือประเทศชาติ และราษฎร ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ด�ำรงพระอิสริยยศ เป็นเจ้าฟ้าของแผ่นดิน พระกรณียกิจของพระองค์ประการหน่ึง คือ “ทรงงานเพ่ือประเทศชาติ” เพื่อให้ อาณาประชาราษฎร์มีความสุข อยู่ดีกินดี และร่วมพัฒนาประเทศไทยให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมอารยประเทศ ทรงไดร้ บั การถวายพระสมญั ญานาม “เจา้ ฟา้ นกั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย”ี เนอ่ื งดว้ ยทรงส�ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั สงู สดุ ทางวทิ ยาศาสตร์ และทรงเปน็ นกั วทิ ยาศาสตรท์ มี่ ชี อ่ื เสยี งระดบั โลก ผทู้ รงมผี ลงานการศกึ ษาวจิ ยั เปน็ ทยี่ อมรบั ของนานาประเทศ ดว้ ยเหตนุ ี้ พระภารกจิ ท่สี �ำคญั จงึ เปน็ งานดา้ นวิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาประเทศชาติและยกระดบั คุณภาพชวี ติ ของราษฎร ตลอดระยะเวลาหกสิบปีท่ีผ่านมา ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเป็นขัตติยนารีผู้ปรีชาสามารถและมีพระจริยวัตรที่งดงาม เปี่ยมล้นไปด้วยพระเมตตา ทรงอุทิศ พระวรกายในการปฏบิ ตั พิ ระกรณยี กจิ นานปั การดว้ ยพระวริ ยิ อตุ สาหะ เพอ่ื บ�ำบดั ทกุ ขบ์ �ำรงุ สขุ ใหแ้ กพ่ สกนกิ รชาวไทย และผนื แผ่นดนิ ไทย จนเปน็ ท่ปี ระจกั ษแ์ ก่ประชาชนทง้ั ในและต่างประเทศ ศาสตราจารย์ ดร.สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟา้ จฬุ าภรณวลัยลกั ษณ์ อัครราชกุมารี ทรงตงั้ พระทัยอุทิศพระองค์ เพื่อจุดมุ่งหมายที่สูงส่งย่ิงของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรท่ัวสารทิศ โดยการพัฒนางานวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี และน�ำมาใช้ยกระดบั ชีวิตความเป็นอยูข่ องประชาชน ซ่งึ สว่ นใหญย่ งั ยากจน เปน็ ทป่ี ระจกั ษว์ า่ การทรงงานเปน็ เวลาหลายทศวรรษของพระองค์ กอปรดว้ ยพระปรชี าสามารถ พระวสิ ยั ทศั น์ กว้างไกล และพระวิริยะบากบ่ัน ซึ่งประกอบกันเป็นพระปณิธานท่ีมั่นคง และผลงานมากมายที่เป็นรูปธรรมและ ย่ังยืน ชีวิตของประชาชนท่ีดีขึ้นด้วยพระบารมีปกเกล้าฯ มีตัวอย่างให้เห็นท่ัวประเทศ โดยเฉพาะในเขตที่กันดาร และห่างไกลความเจรญิ “ท้ังชีวิต อุทศิ เพอื่ ราษฎร์” 11
ด้านวิทยาศาสตร์ ทรงเป็นนักวิทยาศาสตร์ผู้เปี่ยมล้นด้วยพระอัจฉริยภาพและผลงานโดดเด่นในหลายสาขา โดยเฉพาะด้าน วิชาเคมี ทรงอุทิศพระองค์ศึกษาวิจัยองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อน�ำมาปรับใช้ในการพัฒนาประเทศชาติและ ประชาชน ทรงได้รับการยกย่องเป็น “เจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์” ของไทย ทรงได้รับการยกย่องจากนานาประเทศ ในฐานะท่ีทรงเป็นนักวิทยาศาสตร์ชั้นน�ำของโลกด้วย จึงทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลเทิดพระเกียรติระดับ นานาชาติเปน็ จ�ำนวนมาก ดว้ ยพระปรชี าสามารถและพระวิสัยทัศน์ท่ีกวา้ งไกล ทรงกอ่ ตั้งกองทนุ จฬุ าภรณ์ขึ้น ซ่ึงต่อมาได้จดทะเบยี น เป็นมูลนิธิจุฬาภรณ์ เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา การวิจัย การด�ำเนินงานทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ การสาธารณสุข โดยการน�ำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ เพ่ือให้ราษฎรท่ัวไปมีชีวิตความเป็นอยู่ ที่ดีข้ึน อีกท้ังยังทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ และ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ์ เพอื่ การศึกษาวจิ ัยด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สง่ิ แวดล้อม การแพทย์และสาธารณสุข และ น�ำองค์ความรตู้ า่ งๆ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการรักษาผู้ป่วยมะเรง็ และผู้ป่วยทั่วไป และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน ชาวไทย ด้านการแพทย์ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ เพื่อให้บริการรักษาโรคมะเร็งแบบครบวงจร เน้นการรักษาที่มี ประสิทธิภาพสูงสุด มีงานวิจัยรองรับ และส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานน้อยลง และมีความหวังในชีวิต โดยเฉพาะผู้ป่วยยากไร้จ�ำนวนมากที่ได้ทรงพบเห็นท่ัวประเทศ ในปัจจุบันมีการขยาย ขอบข่ายบริการรักษาของโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ โดยการสร้างส่วนขยายของโรงพยาบาล ในนาม “ศูนย์การแพทย์ ภัทรมหาราชานสุ รณ์” โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ซงึ่ เป็นโรงพยาบาลขนาด 400 เตียง เพื่อใหบ้ รกิ ารรักษาโรคทว่ั ไปด้วย นอกเหนอื จากโรคมะเร็ง ด้านการสาธารณสุข ทรงด�ำรงต�ำแหนง่ ประธานกติ ตมิ ศกั ดม์ิ ลู นธิ แิ พทยอ์ าสาสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี (พอ.สว.) และ ไดเ้ สดจ็ รว่ มกบั หนว่ ยแพทยเ์ คลอ่ื นทมี่ ลู นธิ ิ พอ.สว. เพอื่ ใหก้ ารรกั ษาพยาบาลแกผ่ ปู้ ว่ ยทว่ั ทกุ ภมู ภิ าคของประเทศไทย รวมทงั้ ยงั มพี ระเมตตาทรงรบั ผปู้ ว่ ยทยี่ ากไร้ ซงึ่ จ�ำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การรกั ษาพยาบาลไวเ้ ปน็ คนไขใ้ นพระอนเุ คราะหด์ ว้ ย นอกเหนือจากน้ัน พระเมตตาของพระองค์ได้แผ่กว้างไกลไปถึงบรรดาสัตว์ป่วยอนาถาอีกด้วย โดยทรงรับเป็น ประธานกรรมการขับเคลื่อนการด�ำเนนิ “โครงการสตั วป์ ลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพษิ สนุ ัขบ้า ตามพระปณิธาน ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ จฬุ าภรณวลัยลกั ษณ์ อัครราชกมุ าร”ี ใน พ.ศ. 2559 และได้เสดจ็ ไป เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการฯ และทรงร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของโครงการฯ ตลอดมา แสดงให้เห็นถึง พระเมตตาธรรมท่ีพระราชทานไปอยา่ งท่วั ถงึ และเท่าเทียมกนั 12 “ทง้ั ชวี ิต อุทิศเพอ่ื ราษฎร”์
ด้านการศึกษา ทรงพัฒนาวงการวิทยาศาสตร์ของประเทศ โดยทรงก่อต้ังสถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ซึ่งเปิดการเรียน การสอนระดบั ปริญญาโทและเอก ในสาขาท่ปี ระเทศขาดแคลน คอื วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพประยุกต์ เคมชี วี ภาพ และ พษิ วทิ ยาสงิ่ แวดลอ้ ม สถาบนั บณั ฑติ ศกึ ษาจฬุ าภรณเ์ ปน็ สถานศกึ ษาหลกั สตู รนานาชาตทิ ม่ี งุ่ ผลติ ผนู้ �ำทางวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาประเทศทง้ั ประเทศไทยและประเทศอนื่ ๆ ในภมู ภิ าค สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ด�ำเนินงานทางการศึกษาน้ี โดยเป็นส่วนหนึ่งของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ซึ่งก�ำกับดูแลการผลิตแพทย์ พยาบาล และบุคลากรทางสาธารณสุขของ “วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์” ควบคู่กันไป วิทยาลัยแห่งใหม่จะเปิดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี ใน พ.ศ. 2560 และ ในอนาคตอนั ใกลจ้ ะเปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาโทและเอกตอ่ ไป ทงั้ นเี้ พอื่ สนบั สนนุ งานดา้ นการศกึ ษา และสรา้ งทรพั ยากร มนษุ ย์ทม่ี ีค่าให้กบั ประเทศ ด้านสังคม – สิ่งแวดล้อม พระราชทานการสงเคราะห์ช่วยเหลือราษฎรในรูปแบบต่างๆ ท้ังในระยะเร่งด่วนและระยะยาว ในระยะ เร่งด่วน เม่ือเกดิ ภยั ธรรมชาติในประเทศ พระราชทานถงุ ยังชีพแกป่ ระชาชนทีป่ ระสบภัยอยา่ งทั่วถงึ รวมทั้งบริการ ด้านการแพทย์และการสาธารณสุขของหน่วยแพทย์พระราชทาน และหน่วยสัตวแพทย์พระราชทาน อีกทั้ง มพี ระเมตตาเสด็จไปเย่ยี มราษฎรในเขตภยั พบิ ัติ เพอ่ื พระราชทานขวญั และก�ำลงั ใจ และความชว่ ยเหลอื จ�ำเปน็ อนื่ ๆ เช่น ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บอย่างต่อเน่ือง พระราชทานทุนทรัพย์ท่ีเป็นค่าใช้จ่ายส�ำหรับครอบครัวท่ีได้รับ ผลกระทบหนัก และทุนการศึกษาของบุตรหลาน เพ่ือไม่ให้การเล่าเรียนต้องหยุดชะงัก พระกรุณาธิคุณได้ช่วยให้ ผเู้ คราะห์ร้ายทวั่ ประเทศจ�ำนวนนับไมถ่ ว้ นได้มพี ลังตอ่ ส้กู ับเคราะหภ์ ยั และด�ำเนินชวี ติ ต่อไปอย่างเข้มแขง็ ด้านความช่วยเหลือในระยะยาว มีพระด�ำริให้สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์จัดท�ำโครงการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม และชีวิตความเป็นอยขู่ องราษฎร ภายใต้โครงการจฬุ าภรณ์พัฒนา จ�ำนวน 12 โครงการ ซ่ึงด�ำเนินการอยู่ในหลาย จงั หวดั ทางภาคใต้ และโครงการทับทิมสยาม จ�ำนวน 8 โครงการ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตลอดจนโครงการ อุทยานใต้ทะเล จฬุ าภรณ์ 36 ท่ีจังหวดั พังงา เพอื่ อนรุ กั ษ์สภาพแวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาตทิ างทะเลบรเิ วณ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ และหมู่เกาะสิมิลัน โครงการเหล่าน้ี ได้ช่วยฟื้นฟูสภาพแวดล้อมและส่งเสริมให้ ประชากรไทยมคี ุณภาพชวี ิตที่ดขี ึ้นอยา่ งยั่งยนื ตราบถงึ ทกุ วันน้ี ด้านศิลปวัฒนธรรม ทรงเปน็ เจา้ ฟา้ นกั วทิ ยาศาสตรท์ ท่ี รงมพี ระอจั ฉรยิ ภาพอยา่ งนา่ ชน่ื ชมยงิ่ ดา้ นศลิ ปะและดนตรดี ว้ ย ทรงดนตรี ทรงขับร้องเพลง ทรงนิพนธ์เพลง ทรงวาดภาพ ทรงออกแบบเคร่ืองประดับและเครื่องแต่งกาย และที่น่าช่ืนชม อย่างย่ิง คือ พระอัจฉริยภาพอันเป็นคุณูปการแก่ประชาชน ในการหาทุนทรัพย์สนับสนุนพระกรณียกิจการกุศล เพ่ือให้ผู้ยากไร้โดยเฉพาะผู้ป่วยมะเร็งได้รับความช่วยเหลือและสงเคราะห์อย่างทั่วถึง ผลงานสร้างสรรค์ด้านดนตรี และศิลปะดังกลา่ ว เกดิ จากการเสยี สละพระวรกายโดยแท้ ผทู้ ่ไี ด้รบั ความชว่ ยเหลอื และประชาชนไทย ต่างประจักษ์ ในนำ้� พระทยั เมตตา และส�ำนกึ ในพระกรณุ าธิคณุ เป็นล้นพ้น “ทงั้ ชวี ติ อทุ ศิ เพอื่ ราษฎร”์ 13
ด้านศาสนา ดว้ ยพระเมตตาและพระกรณุ าทม่ี เิ คยสน้ิ สดุ เปน็ ประจกั ษแ์ กช่ าวไทยวา่ ทรงปฏบิ ตั พิ ระองคต์ ามแนวทางแหง่ พระพุทธศาสนา ด้วยทรงศีลทรงธรรม ทรงศึกษาธรรมะ ทรงปฏิบัติธรรม และทรงอุปถัมภ์ท�ำนุบ�ำรุงพระศาสนา ธรรมะประการส�ำคัญที่ทรงแสดงอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน คือ ความช่วยเหลือในรูปแบบต่างๆ ท่ีพระราชทานต่อ ปวงชน เพ่ือให้มีชีวิตท่ีดีและปลอดภัย ฉะน้ัน นอกจากพระจริยวัตรเพียบพร้อมแห่งขัตติยนารีไทยแล้ว ยังทรงมี น้ำ� พระทัยอนั ประเสริฐ ทรงมีความงดงามทส่ี ามัญชนเรยี กกันว่า “งามท้ังกายและใจ” ด้านต่างประเทศ พระจรยิ วัตรที่งดงามสง่า และพระปรีชาสามารถทั้งด้านวิทยาศาสตร์และศลิ ปะดนตรี ท�ำให้ทรงเป็นเสมือน ทตู สนั ถวไมตรที ด่ี เี ยย่ี มของประเทศไทย ในทกุ โอกาสทเ่ี สดจ็ ไปยงั ตา่ งประเทศ รวมทงั้ เมอื่ ครง้ั ทรงเปน็ ผแู้ ทนพระองค์ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร และทรงเปน็ หวั หนา้ คณะผแู้ ทนไทย ในการประชมุ ด้านส่ิงแวดล้อมระดับโลก ท่ีสาธารณรัฐบราซิล และสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ และยังได้ทรงแสดงกู่เจิง เพื่อกระชับ สัมพนั ธไมตรีระหวา่ งประเทศไทยกบั ประเทศจนี ถึง 6 คร้ัง ในการพฒั นางานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์ของประเทศไทย ในสว่ นที่เป็นความร่วมมอื จาก นานาชาติ และเป็นสาเหตุให้ต้องเสด็จเยือนสถาบันและองค์กรทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ ของประเทศพัฒนาแล้ว ทงั้ หลายอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอ่ื น�ำความรกู้ ลบั มาใชป้ ระโยชนใ์ นบา้ นเมอื งของเรา เปน็ ทเี่ ดน่ ชดั วา่ ทรงเปน็ ทตู สนั ถวไมตรี ที่ประสบความส�ำเร็จอย่างสูง เพราะประเทศไทยได้รับประโยชน์มากมายจากความร่วมมือต่างๆ ในรูปของความรู้ ความก้าวหน้าทางวิทยาการของโลก ตลอดจนส่งบุคลากรมาให้ความรู้และความช่วยเหลือแก่หน่วยงานในพระด�ำริ ทั้งหลายอยา่ งสม่�ำเสมอจนถงึ ปจั จบุ นั น้ี ซึ่งผ้ทู ีไ่ ดร้ ับประโยชน์มากที่สุด ในท้ายทส่ี ดุ แล้ว คือ ประชาชนไทยนนั่ เอง พระกรณุ าธคิ ณุ ในทกุ ๆ ด้านทก่ี ล่าวมา เปน็ เพยี งส่วนหนึง่ ของพระกรณียกิจนานาประการทีท่ รงปฏบิ ัตดิ ้วย พระปรีชาและพระวิริยอุตสาหะ เป็นท่ีประจักษ์และจารึกอยู่ในใจของปวงชนชาวไทยทุกคนเสมอมา ในโอกาสที่ ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ 5 รอบ ในวนั ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ปวงขา้ พระพทุ ธเจา้ ขอนอ้ มเกล้านอ้ มกระหมอ่ มถวายพระพรด้วย ความจงรักภักดี และขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและส่ิงศักด์ิสิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก ได้โปรดอภิบาลให้ ทรงมพี ระพลานามยั สมบรู ณแ์ ขง็ แรง ปราศจากโรคาพยาธิอปุ ัทวนั ตรายทงั้ ปวง ทรงพระเจรญิ ดว้ ยจตุรพธิ พรชัย มีพระชนมายุย่งิ ยนื นาน และทรงเปน็ ม่งิ ขวัญของปวงชนชาวไทยตลอดไป 14 “ทง้ั ชีวิต อทุ ิศเพอื่ ราษฎร์”
น้�ำพระทัย บรรเทาทุกขภ์ ยั ทั้งแผน่ ดนิ
นำ้� พระทยั บรรเทาทุกขภ์ ัยทง้ั แผน่ ดนิ แรงบันดาลพระทัย และต้นแบบ ของ ศาสตราจารย์ ดร.สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่ทรงอุทิศพระองค์เพ่ือช่วยเหลือราษฎร ไทยมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน เริ่มตั้งแต่ เมื่อคร้ังยังทรงพระเยาว์ ได้ทรงติดตาม พ ร ะ ร า ช บิ ด า แ ล ะ พ ร ะ ร า ช ม า ร ด า เสด็จพระราชด�ำเนินไปเยี่ยมราษฎรท่ัวทุก ภูมภิ าคของประเทศ จากเหนือจรดใต้ จาก ตะวันตกจรดตะวันออก จึงเป็นโอกาสที่ พระองค์ได้โดยเสด็จไปทั่วทุกสารทิศของ ประเทศ ท�ำให้ทรงเข้าพระทัยปัญหาอย่าง ลกึ ซ้ึงไมว่ า่ จะเป็นปัญหาความยากจนแรน้ แค้น ปัญหาคุณภาพชีวิต ตลอดจนปญั หาความเดือดร้อนในชีวติ ความเปน็ อยู่ ที่มีอยู่รอบด้านของพสกนิกร โดยเฉพาะปัญหาโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดจากการขาดแคลนแพทย์และบริการสาธารณสุข ดว้ ยพืน้ ฐานองค์ความรกู้ อปรกบั พระประสบการณ์ของพระองค์ ท�ำให้ทรงตระหนักดวี ่า ส่วนหนง่ึ ของการแก้ปญั หา เหลา่ น้ี คือ การสง่ เสริมการศกึ ษาสาขาวิทยาศาสตร์ เคมี การแพทย์ การสาธารณสขุ และการพยาบาลอย่างจรงิ จัง ดงั นั้น เพอ่ื ให้บรรลจุ ดุ มุง่ หมายน้ี จงึ ทรงก่อต้ัง “กองทุนจุฬาภรณ”์ ขน้ึ และต่อมาในวนั ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พระราชทานเงินทนุ จุฬาภรณ์ จ�ำนวน 1 ลา้ นบาท เปน็ ทุนจดทะเบียนจดั ตงั้ “มลู นธิ จิ ุฬาภรณ”์ ด้วยทรงมงุ่ หวงั ทจี่ ะ น�ำความกา้ วหนา้ และการพฒั นาทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยมี าประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของราษฎร 16 “ทัง้ ชีวติ อทุ ศิ เพ่ือราษฎร์”
มูลนิธิจุฬาภรณ์ ช่วยเหลือปวงประชา ตลอดระยะเวลา 30 ปี มูลนิธิจุฬาภรณ์ มงุ่ ด�ำเนนิ งานสบื สานพระปณธิ านรว่ มแกไ้ ขปญั หา ของแผ่นดิน ด้วยการช่วยเหลือดูแลชาวไทย ด้อยโอกาสในด้านที่เกี่ยวกับคุณภาพชีวิต อาทิ ให้บริการทางการแพทย์ และการเงินแก่ผู้ป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยมะเร็งยากไร้ และผู้ป่วยที่เป็น โรครักษายากต่างๆ ท่ัวประเทศ สนับสนุน งานหน่วยแพทย์พระราชทานโดยดูแลผู้ป่วยใน พระอนเุ คราะห์ จดั หาเวชภัณฑส์ �ำหรบั หนว่ ยแพทย์ พระราชทาน ตลอดจนมอบอุปกรณ์การแพทย์ พระราชทานทท่ี นั สมยั เพอ่ื ประสิทธภิ าพของการ ใหบ้ รกิ ารรกั ษาทด่ี ขี องโรงพยาบาลตา่ งๆ อาทิ เครอ่ื งดมยาสลบทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู และชว่ ยในการหายใจขณะผา่ ตดั ส�ำหรับคนและสัตว์ เครื่องควบคุมการให้สารละลายและเลือดโดยอัตโนมัติ ส�ำหรับผู้ป่วยที่ต้องได้รับสารอาหาร หรอื ยาทางหลอดเลือดด�ำในปรมิ าณที่เหมาะสมกบั ระยะเวลา เปน็ ตน้ ซ่งึ เปน็ ประโยชน์อย่างย่งิ ตอ่ ผปู้ ่วย ในยามวิกฤตจากเหตภุ ัยธรรมชาติ องคป์ ระธานมูลนธิ จิ ฬุ าภรณไ์ ดพ้ ระราชทานความชว่ ยเหลอื โดยเรง่ ดว่ น แก่ผปู้ ระสบภัยพิบตั ติ า่ งๆ ท่ัวประเทศ พระราชทานถงุ ยังชพี และทรงน�ำหนว่ ยแพทย์พระราชทานลงพน้ื ที่ปฏบิ ัตงิ าน ใหบ้ ริการรกั ษาโรคในทันที ส่วนในดา้ นของความชว่ ยเหลือประชาชนในระยะยาว ไดท้ รงสง่ เสริมให้ประชาชนมชี วี ิต ความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น โดยสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืนในสภาพแวดล้อมที่ดี มีการฝึกอาชีพควบคู่ไปกับ การฝึกให้รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และส�ำหรับเยาวชนไทยยากไร้ มูลนิธิจุฬาภรณ์ได้มอบโอกาสและอนาคตทาง การศกึ ษา โดยอปุ การะใหไ้ ดเ้ ลา่ เรยี นจนจบการศกึ ษา โดยเฉพาะบตุ รหลานของผปู้ ว่ ยทขี่ ดั สน และตอ้ งพง่ึ พระบารมี ในการรักษาตน มูลนิธจิ ุฬาภรณ์ช่วยดูแลประชาชน เพือ่ ให้ก�ำลังคนของประเทศเปน็ พลงั ทแ่ี ข็งแรง มีสขุ ภาพดี และ มีชวี ิตความเป็นอยู่ทด่ี ี นอกจากนนั้ องคป์ ระธานมลู นธิ จิ ฬุ าภรณไ์ ดท้ รงน�ำมลู นธิ จิ ฬุ าภรณเ์ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการดแู ล และใหบ้ รกิ าร ด้านสุขภาพและสังคมสงเคราะห์แก่ราษฎรในชนบทท่ีกันดารด้วย โดยสนับสนุนการด�ำเนินงานด้านการแพทย์และ สาธารณสุขของมูลนิธิแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พอ.สว.) สืบสานพระราชกรณียกิจของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร และสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี ในการ “ท้ังชีวติ อุทศิ เพ่อื ราษฎร”์ 17
พระราชทานความช่วยเหลือโดยตรงแก่ราษฎรที่เจ็บป่วย เดือดร้อนเป็นทุกข์เพราะโรคภัย และหากครอบครัวของ ผเู้ จบ็ ปว่ ยพลอยไดร้ ับผลกระทบ กจ็ ะได้รบั พระราชทานความ ชว่ ยเหลอื ดา้ นการเงนิ ดว้ ย หรอื ในรปู ของคา่ ใชจ้ า่ ยในการศกึ ษา เลา่ เรียนของบตุ รหลาน การด�ำเนินกิจกรรมการกุศลทั้งหมดเพื่อช่วยเหลือ ประชาชนดังกล่าว ล้วนจ�ำเป็นต้องใช้ทุนทรัพย์มหาศาล มูลนิธิจุฬาภรณ์ด�ำเนินการได้เป็นอย่างดีมาถึง 30 ปีแล้ว มี ความกา้ วหน้า และสามารถให้ความช่วยเหลือตา่ งๆ ทพ่ี ่ีนอ้ ง ชาวไทยต้องการไดอ้ ย่างราบร่ืน ทง้ั ๆ ที่จ�ำนวนผยู้ ากไรท้ ตี่ อ้ ง เก้ือการุณย์เพิ่มขึ้นอยู่เสมอตามจ�ำนวนประชากร แต่ด้วย พระบารมีปกเกล้าฯ อยา่ งแท้จริง ตงั้ แตแ่ รกเร่มิ ของการกอ่ ต้ัง จนกระท่ังถึงปัจจุบันน้ี องค์ประธานมูลนิธิจุฬาภรณ์นอกจาก จะพระราชทานก�ำเนิดแก่มูลนิธิจุฬาภรณ์แล้ว ยังทรง เป็นองค์อุปถัมภ์มูลนิธิฯ แต่เพียงพระองค์เดียวตลอดมา ทรงเอาพระทัยใสก่ �ำกับดูแลการปฏบิ ตั งิ านในทกุ ๆ ด้าน และ อกี ประการหน่งึ ที่ส�ำคญั ยิง่ เช่นเดยี วกัน คือ มีพระวริ ยิ ะอย่างสงู ที่จะทรงเพียรพยายามหาทุนทรัพย์ให้มูลนิธิจุฬาภรณ์อยู่เสมอ เพราะมูลนิธิจุฬาภรณ์ด�ำรงอยู่ได้ด้วยการสนับสนุน จากมหาชนทม่ี ศี รทั ธาและความเชอื่ มน่ั วา่ พระองคม์ แี ตท่ รง “ให”้ แกป่ ระชาชน และพระภารกจิ ใดๆ อนั เกย่ี วขอ้ ง กบั มลู นิธจิ ุฬาภรณ์ คอื เพอ่ื ประโยชน์ เพ่ือความสขุ ของพ่นี ้องชาวไทยดว้ ยกัน ฉะนน้ั เจตจ�ำนงของบคุ คลผ้มู จี ิตกุศล ท่ีบริจาคให้กับมูลนิธิฯ คือ เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินงานท้ังหลาย และช่ืนชมพระกรณียกิจในฐานะองค์ประธาน มูลนธิ ิจฬุ าภรณ์ องค์ประธานมูลนิธิจุฬาภรณ์ทรงพากเพียร พยายามแสวงหาโอกาสตา่ งๆ ท่จี ะชว่ ยเพม่ิ พนู กองทนุ ของมลู นธิ ฯิ เพอ่ื ราษฎรทท่ี กุ ขล์ �ำเคญ็ เพราะความยากจน เพ่ือราษฎรท่ีเจ็บป่วยจนต้องรอเมตตาจากส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ เพอ่ื ผปู้ ว่ ยมะเรง็ ทเ่ี จบ็ ปวดทรมานและสนิ้ หวัง เพอื่ ราษฎร เหล่าน้ี ทรงถักเรียงร้อยสร้อยมุกยามค่�ำคืน ทรงแสดง ดนตรีการกุศล ทรงสร้างสรรค์ประพันธ์เพลง เพ่ือหา รายได้ ทรงมานะฝกึ ฝนกูเ่ จิง เพอื่ ทรงแสดงในงานการ แสดงดนตรีและวัฒนธรรม “สายสัมพันธ์สองแผ่นดิน” เช่ือมสัมพันธไมตรีไทย-จีน ทรงสนับสนุนให้มีการ จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ “ดร.น้�ำจิต” ทรงเชิญชวนชาวไทย ในประเทศตา่ งๆ ร่วมสร้างบุญกศุ ล และทรงสร้างสรรค์ กจิ กรรมอกี หลากหลาย เพอ่ื ประโยชนข์ องชาวไทยทง้ั มวล ความมุ่งมั่นและพากเพียรของพระองค์ท�ำให้ กองทุนของมูลนิธิจุฬาภรณ์มีความมั่นคง เอ้ืออ�ำนวย ให้การด�ำเนินงานเจริญก้าวหน้า และได้ช่วยเหลือ สงเคราะหป์ ระชาชนท่ีขดั สนทั่วประเทศ กองทนุ มลู นิธิ จฬุ าภรณ์ได้รับการสนบั สนุนจากมหาชนดว้ ยดีเสมอมา 18 “ทัง้ ชีวิต อทุ ิศเพอ่ื ราษฎร์”
บ้างบริจาคเป็นทรัพย์ บ้างสนับสนุนผลิตภัณฑ์ต่างๆ ภายใต้โครงการในพระด�ำริ หรือมิฉะน้ันก็เป็นเหล่าพสกนิกร ที่เป็นผู้ไม่เดือดร้อนด้านทุนทรัพย์ แต่เคยพึ่งพาพระบารมีด้านการรักษาโรคภัย เช่น มารักษาตนหรือสมาชิก ในครอบครวั ทโ่ี รงพยาบาลจฬุ าภรณ์ และไดร้ บั บรกิ ารทดี่ แี ละมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ ส�ำนกึ ในพระกรณุ าธคิ ณุ และตระหนกั วา่ องคป์ ระธานมลู นธิ จิ ฬุ าภรณม์ พี ระประสงคช์ ว่ ยเหลอื ประชาชนใหห้ า่ งไกลโรค และอยดู่ มี สี ขุ โดยแทจ้ รงิ จงึ มคี วาม ตั้งใจมั่นท่ีจะสนับสนุนบริจาคสมทบทุนกับมูลนิธิจุฬาภรณ์ เพื่อให้มูลนิธิจุฬาภรณ์ด�ำเนินงานเพ่ือสังคมสืบต่อไป อีกยาวนาน ด้วยพระบารมี พระเมตตา พระวิริยอุตสาหะในการทุ่มเทก�ำลังพระทัยและพระวรกาย มูลนิธิจุฬาภรณ์ จงึ เป็นความหวงั ในชีวิตอีกสิง่ หน่งึ ส�ำหรับชาวไทยผยู้ ากไรท้ ั้งมวล พิบัติภัยพ่ายน้�ำพระทัยเจ้าฟ้า งานชว่ ยชาตโิ ดยสรา้ งก�ำลงั คนของชาติ เป็นงาน เพ่ือผลในระยะยาว ในฐานะเจ้าฟ้าของแผ่นดินและ องคป์ ระธานมลู นธิ จิ ฬุ าภรณ์ การดแู ลประชาชนบอ่ ยครงั้ มเิ พยี งเพอื่ ประโยชนใ์ นวนั ขา้ งหนา้ เทา่ นน้ั แตย่ งั รวมไปถงึ ความชว่ ยเหลอื แบบเรง่ ดว่ นทพี่ ระราชทานใหป้ ระชาชน ทันทีท่ีเกิดวิกฤตเดือดร้อนหรือไม่คาดคิดขึ้น ไม่ว่าจะ ในกรงุ เทพฯ และปรมิ ณฑล หรอื จงั หวดั ตา่ งๆ โดยเฉพาะ เม่ือเป็นเหตุการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติแบบฉับพลัน ทีไ่ ม่อาจเตรยี มการป้องกนั ได้ ดงั เชน่ ในชว่ งฤดหู นาวของทกุ ปี หลายจงั หวดั ในภาคเหนอื และภาคอสี านตอ้ งประสบกบั ภยั หนาว ทรงเมตตา หว่ งใยราษฎรทต่ี อ้ งเผชญิ กับความหนาวเหนบ็ เป็นประจ�ำทุกปี โดยเฉพาะเด็ก คนชรา และคนพิการ ไดพ้ ระราชทาน ผา้ หม่ กันหนาวแกร่ าษฎร เพื่อความอบอุน่ ทั้งกายและใจ เปน็ ที่ปลาบปล้มื แกร่ าษฎรย่งิ สิง่ อน่ื ใด ภัยธรรมชาติแบบอื่นเป็นส่ิงที่มิอาจห้ามได้เช่นกัน บางครง้ั กท็ รงประสบดว้ ยพระองคเ์ อง ดงั เชน่ เหตกุ ารณอ์ ทุ กภยั ครง้ั ใหญ่ ในปลายปี พ.ศ. 2554 พน้ื ทก่ี รงุ เทพฯ และหลายจงั หวดั ในภาคกลาง ต้อง “จมน�้ำ” เป็นแรมเดือน แม้พระต�ำหนัก ที่ประทับในจังหวัดปทุมธานีก็ถูกน้�ำท่วมสูงด้วยเช่นกัน ในช่วงเวลาวิกฤตเช่นน้ี ทรงมีความห่วงใยและพระราชทาน ความชว่ ยเหลอื แกร่ าษฎรทเ่ี ดอื ดรอ้ นในทกุ พน้ื ทท่ี นั ที ถงุ ยงั ชพี พระราชทานถูกส่งไปเป็นล�ำดับแรกเพ่ือแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และบรรเทาทุกข์เบ้ืองต้น ในครั้งน้ันพระองค์ประทับเรือ “ทัง้ ชีวติ อุทิศเพ่ือราษฎร”์ 19
ออกไปเยี่ยมถึงบ้านเรือนของราษฎร เพื่อ พระราชทานก�ำลงั ใจและถงุ ยงั ชพี ดว้ ยพระองคเ์ อง นอกจากนั้น ยงั ทรงน�ำหน่วยแพทย์พระราชทาน ไปตั้งฐานให้บริการตรวจรักษาผู้เจ็บป่วยในพ้ืนที่ อทุ กภยั ต่างๆ ด้วย และทรงตระหนักดีวา่ ราษฎร ย่อมขวัญเสียมาก จึงทรงปลอบขวัญให้ราษฎรมี พลงั ยนื หยดั ตอ่ สู้และแกไ้ ขปญั หาตอ่ ไป และไมม่ ี ความรู้สึกว่าถูกทอดท้ิงให้ผจญกับความโชคร้าย ตามล�ำพงั ที่พระต�ำหนักจักรีบงกช ภายหลังท่ีเหตุการณ์บรรเทาและระดับน้�ำลดลง แต่การคมนาคมยังไม่สะดวกนัก ทุกๆ วนั จันทร์จะทรงเปิดพระต�ำหนกั ในส่วนท่ีนำ�้ ท่วมไม่ถึง เพือ่ ใหห้ นว่ ยแพทย์พระราชทานโรงพยาบาลจฬุ าภรณ์ หน่วยแพทย์มูลนิธิ พอ.สว. และหน่วยสัตวแพทย์ ตั้งหน่วย บริการตรวจรักษาและสงเคราะห์ช่วยเหลือประชาชนและ สัตว์เลี้ยง พรอ้ มทัง้ พระราชทานถงุ ยงั ชีพ อาหาร และน้�ำดื่ม แก่ประชาชน ควบคู่ไปกับการแจกจ่ายอาหารกล่องในพื้นท่ี จังหวดั ปทุมธานีอกี วนั ละ 1,000 กล่อง ทกุ วนั เปน็ เวลากว่า 2 เดอื น จนกระทงั่ เหตุการณก์ ลับเข้าส่สู ภาวะปกติ เม่ือเกิดวิกฤตน้�ำท่วมใหญ่ที่สุดอีกครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของภาคใต้ เม่ือต้นปี พ.ศ. 2560 ได้เสด็จไป ทรงเยี่ยมผู้ประสบภัยหลายคร้ัง นอกจากถุงยังชีพท่ีได้พระราชทานส�ำหรับคนและสัตว์เล้ียงแล้ว โปรดเกล้าฯ ให้ หน่วยแพทยพ์ ระราชทานโรงพยาบาลจฬุ าภรณ์ หนว่ ยแพทย์มลู นธิ ิ พอ.สว. หนว่ ยสัตวแพทยอ์ าสาจฬุ าภรณ์ และ มลู นธิ จิ ฬุ าภรณ์ รว่ มกนั ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ราษฎรกวา่ 7 แสนคนไดร้ บั ผลกระทบอยา่ งรนุ แรง สรา้ งความเสยี หาย อยา่ งหนกั ตอ่ ชวี ติ ทรพั ยส์ นิ บา้ นเรอื น สาธารณปู โภค และเสน้ ทางคมนาคม ผปู้ ระสบภยั เดอื ดรอ้ นขาดนำ้� ขาดอาหาร และมีท้ังผู้เสียชีวิต (25 ราย) และผู้สูญหาย (2 ราย) บางรายถึงกับเป็นโรคซึมเศร้า หลายรายต้องพ่ึงพระเมตตา ซ่ึงทรงรับไว้เป็นผู้ป่วยในพระอนุเคราะห์ เพ่ือให้ได้รับการรักษาท่ีต่อเนื่อง พร้อมทั้งพระราชทานเงินช่วยเหลือจาก มูลนิธจิ ฬุ าภรณ์ ส�ำหรับใชใ้ นการเดินทางไปรกั ษาตัวยังโรงพยาบาลต่างๆ 20 “ทง้ั ชีวติ อุทิศเพอื่ ราษฎร”์
ที่ผ่านมาในอดีต เคยเกิดเหตุวิกฤตรุนแรงทางธรรมชาติอีกหลายครั้งในภาคใต้ ซึ่งก็ทรงได้โอบอุ้มราษฎร ตั้งแต่ระยะของความช่วยเหลือเร่งด่วน จนถึงระยะฟื้นฟูเพื่อชีวิตใหม่ เช่น ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งได้รับ ผลกระทบมากท่ีสุดจากอุทกภัยร้ายแรงท่ีสุดคร้ังหน่ึง ใน พ.ศ. 2531 อนั เปน็ ทีม่ าของการโปรดเกล้าฯ ใหจ้ ัดตั้ง หมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 1 - 4 เพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ ได้รับผลกระทบ และใน พ.ศ. 2547 ที่จังหวัดพังงามี ผู้เสียชีวิตและเสียหายมากที่สุดจากเหตุธรณีพิบัติภัย หรือคลื่นยักษ์สึนามิ โปรดเกล้าฯ ให้ช่วยเหลือราษฎร โดยจัดต้ังโครงการชุมชนบ้านน�้ำใสขึ้น เช่นเดียวกับ โครงการทับทิมสยาม 8 โครงการ ท่ีจังหวัดสระแก้ว สรุ นิ ทร์ ศรสี ะเกษ และตราด ซงึ่ เคยเป็นเขตเสอื่ มโทรม แนวชายแดนไทย - กัมพชู า เม่ือมรสุมชีวิตครั้งใหญ่ผ่านไป ราษฎรหลายชีวิตกลับมามีชีวิตใหม่อีกครั้ง ความสูญเสียกลับเป็นพลังให้ ราษฎรยืนหยัดและก้าวเดินต่อไปอย่างช้าๆ แต่ม่ันคง เพราะด้วยน้�ำพระทัยและพระเมตตาที่พระราชทานให้ในรูป ของความชว่ ยเหลอื นานาประการ พระกรุณาธคิ ุณล้วนบงั เกิดผลใหร้ าษฎรยากจน มีความร่มเย็นเปน็ สขุ และ สามารถพ่ึงพาตนเองได้จนถึงทุกวันนี้ เหล่าราษฎรล้วนปลาบปล้ืมปิติ และส�ำนึกในพระกรุณาธิคุณสูงสุดนี้ ตลอดชว่ั ชวี ิตของตน โครงการในพระด�ำริ พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน “วัตถุประสงค์หลักของสถาบันวิจัย จฬุ าภรณ์ คอื การนำ� วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชน ใหเ้ ป็นรปู ธรรมโดยเร็วทส่ี ดุ ” พระด�ำรสั ใน ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี องค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ เน่ืองในวัน สถาปนาสถาบนั วจิ ยั จฬุ าภรณ์ เมอื่ วนั ท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2530 นบั จากวนั นนั้ ดว้ ยพระปณธิ านอนั แนว่ แน่ ขององค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ในอันท่ีจะ บรรเทาทุกขบ์ �ำรุงสขุ แกร่ าษฎร โปรดเกล้าฯ ให้น�ำ “ทัง้ ชีวติ อุทิศเพื่อราษฎร”์ 21
ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพฒั นาสภาพแวดลอ้ ม และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ใน พน้ื ทต่ี ่างๆ ของประเทศ เพื่อใหร้ าษฎรโดยเฉพาะหมู่ ผู้ยากไรม้ ีสภาพแวดลอ้ มของการด�ำรงชวี ิตทด่ี ี และมี ระดับคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์โดย ส�ำนักกิจกรรมพิเศษได้น้อมเกล้าฯ รับด�ำเนินการให้ ส�ำเร็จดังพระประสงค์ โดยด�ำเนินการตามแผนงาน พัฒนาสภาพแวดล้อมและพัฒนาคุณภาพชีวิต และจัดท�ำโครงการหลัก 2 โครงการ คือ โครงการ จุฬาภรณพ์ ัฒนา และโครงการทบั ทมิ สยาม โครงการจุฬาภรณ์พัฒนา มีทั้งสิ้นรวม 12 โครงการ อยูใ่ นพ้นื ท่ีภาคใต้ มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมและชีวิตความเป็นอยู่ของ ราษฎรท่ปี ระสบอทุ กภัย ในจงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี และนครศรธี รรมราช และยังมีโครงการในพนื้ ท่ี 3 จังหวัดชายแดน ไทย - มาเลเซีย คือ ทจี่ ังหวัดปตั ตานี ยะลา และนราธวิ าส เพือ่ เสริมสรา้ งความสามคั คี ความรักชาติ และความมนั่ คง ในพื้นท่ี ตลอดจนการกนิ ดีอยดู่ ีของราษฎรด้วยเช่นกนั โครงการทบั ทิมสยาม มีท้งั สิ้นรวม 8 โครงการ ในพื้นทีภ่ าคตะวนั ออก ได้แก่ จงั หวัดสระแก้ว และตราด ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ไดแ้ ก่ จังหวดั สุรนิ ทร์ และศรสี ะเกษ เป็นโครงการเพ่ือฟ้ืนฟสู ภาพแวดลอ้ ม และพฒั นา คณุ ภาพชวี ติ ของราษฎรตามแนวชายแดนไทย - กมั พชู า ซง่ึ อยอู่ าศยั ในพน้ื ทซี่ ง่ึ เคยเปน็ คา่ ยอพยพของผลู้ ภี้ ยั สงคราม ชาวกมั พูชา ในการด�ำเนนิ โครงการจฬุ าภรณพ์ ฒั นาและโครงการทบั ทมิ สยาม สถาบนั วจิ ยั จฬุ าภรณไ์ ดจ้ ดั สรรบา้ นพกั อาศยั พร้อมด้วยที่ดินท�ำกินแก่ราษฎรที่ยากจน ให้มีที่อยู่อาศัยเป็นหลักแหล่ง และสามารถใช้ท่ีดินในการท�ำมาหากินได้ นอกจากน้ี ได้จดั ท�ำสาธารณปู โภค เชน่ ไฟฟ้า น้�ำประปา สถานอี นามยั ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก หอ้ งสมดุ ฯลฯ เพื่อให้ ราษฎรผู้ด้อยโอกาสที่ห่างไกลจากความเจริญได้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน สิ่งส�ำคัญคือได้ช่วยเหลืออบรมให้ความรู้ เพื่อให้ราษฎรมีอาชีพ มีรายได้เล้ียงครอบครัว และสามารถอยู่ร่วมกันกับป่า รู้จักการรักษาสภาพแวดล้อม และ มคี ุณภาพชวี ติ ที่ดีอยา่ งยง่ั ยนื โดยไม่ท�ำลายธรรมชาติ เม่ือด�ำเนินโครงการไปได้ระยะหน่ึงแล้ว สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ได้ส่งมอบโครงการให้อยู่ในความดูแลของ จังหวัด แต่องค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ก็มิได้ทรงละทิ้งโครงการท้ังสอง โปรดให้สถาบันฯ ยังคงให้ความ ช่วยเหลือด้านวิชาการ และถ่ายทอดเทคโนโลยีท่ีทันสมัยอย่างสม่�ำเสมอ เพ่ือประโยชน์ในการประกอบอาชีพของ ราษฎร อาทิ 22 “ท้งั ชวี ิต อทุ ิศเพื่อราษฎร”์
โครงการเพาะเล้ียงกล้วยไม้ และไม้ดอกไม้ประดับ สนับสนุนให้ราษฎรเพาะเล้ียงกล้วยไม้ และ ไม้ดอกไม้ประดับที่ตลาดต้องการ ประเภทกล้วยไม้ฟาแลนนอปซีสปริ้นเซสจุฬาภรณ์ กล้วยไม้ตระกูลหวาย ดอกหน้าวัว และตน้ สบั ปะรดสี ฯลฯ โครงการอนรุ กั ษแ์ ละสนบั สนนุ ราษฎรใหป้ ลกู พชื สมนุ ไพรไทยทเี่ ปน็ ทตี่ อ้ งการของตลาด โดยใหไ้ ด้ ผลผลิตที่ได้มาตรฐาน เช่น ชาปัญจขนั ธ์ ขมิ้นชัน ฟา้ ทะลายโจร ไพล ฯลฯ โครงการศิลปาชีพ สนับสนุนราษฎรท�ำงานฝีมือและส่ิงประดิษฐ์ต่างๆ จากวัสดุท้องถิ่น เช่น จักสาน ตะกรา้ หวาย หมอน กระเป๋าสตรจี ากใบเตยหนาม จักสานกระต๊ิบข้าวเหนียวจากไม้ไผ่ ทอเสื่อจากต้นกก พรอ้ มกับ จัดหาตลาดจ�ำหนา่ ยสินค้าให้แก่ราษฎร โครงการเซรามกิ ฝกึ อบรมงานเซรามกิ ในพนื้ ทท่ี ม่ี ดี นิ เหมาะสมแกก่ ารท�ำเซรามกิ ออกแบบเปน็ เซรามกิ ทม่ี ีรูปลกั ษณ์เฉพาะตัว โดยการเลียนแบบธรรมชาติ พรอ้ มกบั จดั หาตลาดจ�ำหน่ายให้ราษฎรไดม้ รี ายได้ “ทง้ั ชีวติ อุทศิ เพือ่ ราษฎร์” 23
นอกจากโครงการจฬุ าภรณพ์ ฒั นา และโครงการ ทับทิมสยามแล้ว ยังได้จัดตั้งโครงการชุมชนบ้านน�้ำใส ในพื้นท่ีจังหวัดพังงา ซึ่งเป็นพ้ืนท่ีประสบธรณีพิบัติภัย สนึ ามิ ด�ำเนนิ การชว่ ยเหลอื ราษฎรทไี่ ดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น โดยจดั สรา้ งบา้ นพกั อาศยั พรอ้ มทงั้ สรา้ งอาชพี ใหร้ าษฎร ช่วยเหลอื ตนเองได้ ในด้านของการอนุรกั ษ์สภาพแวดล้อม ไดจ้ ดั ตัง้ โครงการอุทยานใต้ทะเล จุฬาภรณ์ 36 เพื่ออนุรักษ์ ปะการงั ในทอ้ งทะเลไทยบรเิ วณหมเู่ กาะสมิ ลิ นั เกาะบอน เกาะตาชัย และหมเู่ กาะสุรินทร์ ด้วยพระประสงคท์ ี่จะให้ ทรัพยากรธรรมชาติใต้ทะเลโดยเฉพาะปะการังได้รับ การอนุรักษ์ให้ยั่งยืนถาวร เพ่ือเป็นแหล่งท่ีพักอาศัยของ สตั วใ์ ตน้ ำ�้ และเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วส�ำคญั ของประเทศไทย ตลอดไป นอกจากน้ี ยงั จดั ใหม้ กี ารฝกึ อบรมนกั ด�ำนำ�้ เพอื่ การอนุรักษ์ จดั ฝกึ อบรมให้ความรู้แกเ่ ยาวชน เพื่อปลูกฝงั ให้มีจิตส�ำนึกหวงแหน และช่วยกันรักษาธรรมชาติใน ท้องทะเลไทย จากพระปณิธานอันแน่วแน่ และจากการทรงงานอันยาวนาน ท่ีทรงมุ่งเน้นถึงความส�ำคัญของ ทรัพยากรมนุษย์ และทรัพยากรธรรมชาติ ปรากฏผลให้ราษฎรท่ียากไร้และด้อยโอกาสที่ได้เข้ามาอาศัย ใต้ร่มพระบารมีในโครงการต่างๆ มีท่ีอยู่อาศัย ที่ท�ำกิน สามารถประกอบอาชีพหารายได้เล้ียงครอบครัวใน สภาพแวดลอ้ มทด่ี ี และมสี ขุ อนามยั ทด่ี ี ความเปน็ อยโู่ ดยรวมจงึ ดขี น้ึ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ราษฎรทกุ คนในโครงการ ล้วนซาบซ้ึงในพระกรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น และได้ปฏิญาณตนในการจะท�ำความดี และเป็นพลเมืองท่ีดีของ ประเทศชาติตลอดไป 24 “ทัง้ ชีวิต อุทศิ เพื่อราษฎร์”
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สู่คุณภาพชวี ติ คนไทย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สู่คุณภาพชวี ติ คนไทย ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงมีพระปณิธาน ในการน�ำวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยมี าใชเ้ พอื่ การพฒั นาประเทศอยา่ งยง่ั ยนื ทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม และทรงตระหนกั ถงึ ความส�ำคญั ของความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ ในการแลกเปลย่ี นทางวทิ ยาการกบั นกั วทิ ยาศาสตร์ ช้ันน�ำของโลก เพ่ือน�ำความรู้ใหม่ๆ ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับประชาชนไทย พระอัจฉริยภาพทางด้านเคมี และพระกรณียกิจที่มุ่งส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศในทางวิทยาศาสตร์ เร่ิมเป็น ที่ประจักษ์แก่ประชาคมโลกตั้งแต่ก่อนที่จะทรงก่อต้ังสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ดังเห็นได้จาก ใน พ.ศ. 2529 ทรงได้รับ การทลู เกล้าฯ ถวายเหรียญทองอลั เบริ ์ต ไอนส์ ไตน์ (Albert Einstein Gold Medal) จากองคก์ ารศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ในการที่ได้ทรงสนับสนุนความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์ในเอเชีย และแปซิฟิก และทรงเป็นชาวเอเชียคนแรกท่ีได้รับเชิญให้เข้าเป็นสมาชิกกิตติมศักด์ิของราชสมาคมเคมีแห่ง สหราชอาณาจกั ร (Royal Society of Chemistry, U.K.) ใน พ.ศ. 2530 เพื่อให้พระปณิธานข้างต้น บรรลผุ ล ทรงเหน็ ความจ�ำเปน็ อยา่ งยงิ่ ทป่ี ระเทศไทย ต้องมีสถาบันวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่มีบุคลากรและ เครอื่ งมอื วสั ดอุ ปุ กรณท์ ท่ี นั สมยั ทส่ี ามารถท�ำการวจิ ยั ได้อย่างมีคุณภาพ ผลของการวิจัยสามารถน�ำมาใช้ ส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของไทย อีกท้ัง นักวิทยาศาสตร์ของไทยได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถยง่ิ ขนึ้ ดงั นนั้ จงึ ทรงกอ่ ตง้ั “สถาบนั วจิ ยั จุฬาภรณ์” เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2530 ในโอกาสมหามงคลสมยั เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 26 “ทัง้ ชวี ิต อทุ ศิ เพ่อื ราษฎร”์
ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อด�ำเนินการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่มีความทันสมัยทัดเทียมกับสถาบันวิจัยในประเทศที่พัฒนาแล้ว และน�ำผลการวิจัยมาประยุกต์ใช้ ในการพฒั นาและยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชากร ดว้ ยพระวสิ ยั ทศั นท์ ก่ี วา้ งไกล ศาสตราจารย์ ดร.สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี ทรงเห็นว่าทรัพยากรของประเทศมีจ�ำกัด จึงมีพระนโยบายให้สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ด�ำเนินงานในสาขาที่จ�ำเป็น ตอ่ ประเทศโดยตรง การวจิ ยั จงึ เนน้ การคน้ ควา้ วจิ ยั ทางเคมี ดา้ นการศกึ ษาสมนุ ไพร การสงั เคราะหส์ ารเคมเี ลยี นแบบ ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ และการสงั เคราะห์สารเคมีเพอ่ื คน้ หายาทจี่ ะน�ำมาใช้รักษาโรคตา่ งๆ นอกจากดา้ นเคมีแลว้ ยังมีด้านวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีชีวภาพ ท่ีมีการด�ำเนินงานในสถาบันวิจัย จุฬาภรณ์ ทรงเป็นนักอินทรีย์เคมีที่ ได้รับการยกย่องระดับโลก งานวิจัยด้านเคมีที่ ศาสตราจารย์ ดร. สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี มีความสนพระทัยในระยะเริ่มแรก มุ่งเน้นเร่ืองการ ศึกษาสารออกฤทธ์ิที่สกัดแยกได้จากพืชสมุนไพร ด�ำเนินการโดยห้องปฏิบัติการวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ซึ่งองค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ทรงด�ำรงต�ำแหน่ง ผอู้ �ำนวยการหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารฯ มกี ารศกึ ษาสกดั แยกสารบรสิ ทุ ธ์ิ จากพชื สมนุ ไพรรวมแลว้ มากกวา่ 50 ชนดิ คน้ พบและสกดั แยกสารชนดิ ใหมไ่ ดม้ ากกวา่ 100 ชนดิ และตอ่ มาไดข้ ยาย ไปสกู่ ารศกึ ษาในส่งิ มชี วี ติ ชนดิ อื่นๆ เช่น จุลินทรีย์ เชอ้ื รา และสง่ิ มีชีวิตจากทะเล เชน่ ฟองนำ�้ หรือสัตวไ์ ม่มกี ระดกู สนั หลงั จากทะเล (Marine invertebrates) ชนดิ อนื่ ๆ เปน็ ตน้ เพื่อต้องการค้นหาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่มีศักยภาพ ในการพัฒนาต่อยอดให้เป็นยารักษาโรค โดยเฉพาะโรค ท่ีเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยในขณะนั้น เช่น โรคมาลาเรยี วณั โรค โรคเอดส์ และโรคมะเรง็ เปน็ ตน้ หรอื เปน็ วตั ถดุ บิ ในการผลติ ผลติ ภณั ฑด์ า้ นเครอื่ งหอม และวสั ดุ ทางการแพทย์ เช่น วัสดุปิดแผล จากพืชท่ีมีน�้ำมันหอม ระเหยเปน็ องคป์ ระกอบส�ำคญั ซง่ึ นอกจากจะมกี ล่ินหอม แล้ว ยังมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย และต้านอนุมูลอิสระ อีกด้วย นอกจากการศึกษาวิจัยในผลิตภัณฑ์ธรรมชาติแล้ว องค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ทรงสนพระทัยและ สนบั สนนุ การวิจัยดา้ นการสังเคราะหท์ างอินทรยี ์เคมี เพื่อให้ได้สารส�ำคัญทน่ี า่ สนใจตา่ งๆ อกี จ�ำนวนมาก โดยเนน้ สารท่ีจะน�ำมาใช้เป็นยารักษาโรคในประเทศเขตร้อน หรือยาท่ีประเทศไทยมีความต้องการใช้สูง จากการศึกษาวิจัย ได้ค้นพบวิธีการสังเคราะห์สารอัลคาลอยด์ที่มีประสิทธิภาพ ใช้เวลาและข้ันตอนในการสังเคราะห์ที่ไม่ซับซ้อน เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม (Green Chemistry) และมีฤทธ์ิทางชีวภาพเหมือนหรือใกล้เคียงกับสารที่สกัดได้จากพืชสมุนไพร นอกจากนี้ ผลงานวิจัยการสังเคราะห์สารที่มีฤทธิ์ต้านมะเร็งของสารกลุ่มลาเมลลาริน ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร วชิ าการนานาชาติ คอื Angewandte Chemie International Edition ซึ่งมชี อ่ื เสียงระดบั โลกของ German Chemical Society “ท้ังชวี ิต อทุ ิศเพอื่ ราษฎร์” 27
จากการทรงงานวิจัยทางด้านเคมีและทรงมีประสบการณ์มาเป็นระยะเวลายาวนานน้ัน จึงทรงได้รับการ ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลทางวิชาการจากนานาประเทศ อาทิ เหรียญรางวลั เอ็น ดี เซลินสกี้ จากสถาบันอินทรยี ์เคมี เอ็น ดี เซลินสกี้ สหพันธรัฐรัสเซีย ด้วยทรงมีผลงานยอดเยี่ยมด้านเคมี และทรงน�ำผลการวิจัยมาประยุกต์ใช้เป็น ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาประเทศ โดยเหรยี ญรางวลั นม้ี อบใหเ้ ฉพาะผทู้ ม่ี ผี ลงานยอดเยยี่ มในการสง่ เสรมิ วทิ ยาศาสตร์ ด้านเคมี วิศวกรรมศาสตร์และการศึกษา นอกจากนี้ ยังทรงเป็นนักวิทยาศาสตร์พระองค์แรกที่ได้รับรางวัลสตรี ผทู้ รงเกยี รตทิ มี่ บี ทบาทดเี ดน่ สาขาวชิ าเคมขี องโลก จากสมาพนั ธน์ านาชาตเิ คมบี รสิ ทุ ธแิ์ ละเคมปี ระยกุ ตใ์ นโอกาส เฉลิมฉลองปเี คมสี ากลและในโอกาสครบรอบ 100 ปี ของการรับรางวัลโนเบล สาขาเคมี ของมาดาม มารี ครู ี ทรงเปน็ นักวิทยาศาสตร์สตรีในจ�ำนวน 23 คนจากทั่วโลกที่ได้รับการคัดเลือก โดยทรงเป็นนักวิทยาศาสตร์ท่ีมีผลงาน ดเี ด่นดา้ นวจิ ัยเคมี และดา้ นการพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละการศกึ ษา ใน พ.ศ. 2554 งานวิจัยที่สะท้อนความห่วงใยในสุขภาพประชาชน โรคมะเรง็ นอกจากความสนพระทัยด้านเคมีแล้ว ปัญหา สุขภาพของประชาชนก็เป็นอีกสิ่งหน่ึงท่ี ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อคั รราชกมุ ารี ทรงมคี วามหว่ งใยและตง้ั พระทยั ทจี่ ะใหค้ วาม ช่วยเหลือหรือหาทางแก้ไขปัญหาอยูต่ ลอดเวลา ทรงด�ำเนนิ การวิจัยในฐานะผู้อ�ำนวยการห้องปฏิบัติการวิจัยการเกิด มะเรง็ จากสารเคมี ด้วยทรงมคี วามหว่ งใยในอบุ ตั กิ ารณข์ อง โรคมะเรง็ ซงึ่ ขณะนเี้ ปน็ สาเหตกุ ารตายอนั ดบั หนงึ่ ของคนไทย มะเร็งตับและมะเร็งท่อน�้ำดีเป็นปัญหาส�ำคัญ เนื่องจาก มีอบุ ัติการณ์สูงที่สดุ ในภาคอสี านของประเทศไทย จึงทรงเริ่มท�ำการวิจยั หาสาเหตุ ปจั จยั เสีย่ งของการเกดิ โรคมะเร็ง ศึกษากลไกระดับโมเลกุลของการเกิดมะเร็งน้ี และทรงแสวงหาความร่วมมือการวิจัยกับ International Agency for Research on Cancer (IARC) สาธารณรฐั ฝรงั่ เศส และ The German Cancer Research Center สหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนั ใน พ.ศ. 2534 เพื่อร่วมกันค้นคว้าวิจัยด้านมะเร็งและสนับสนุนการฝึกอบรมนักวิจัยของสถาบันฯ จนถึงปัจจุบัน สถาบันฯ ยังคงด�ำเนินการวิจัยเรื่องมะเร็งตับและท่อน�้ำดีในประเทศไทย โดยมีความร่วมมือกับทั้งหน่วยงานใน ประเทศไทย ไดแ้ ก่ สถาบนั มะเรง็ แหง่ ชาติ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น และโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ โดยมีสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์เป็นแกนน�ำ และหน่วยงานต่างประเทศ คือ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา (The United States National Cancer Institute – NCI) ในโครงการชื่อ 28 “ท้งั ชวี ิต อุทิศเพอ่ื ราษฎร์”
Thailand’s Initiative in Genomics and Expression Research for Liver Cancer หรือ TIGER-LC ซ่ึงมี การลงพระนาม - ลงนามความรว่ มมอื ระหว่างหน่วยงาน เม่อื พ.ศ 2553 จากผลการวจิ ยั เบอ้ื งตน้ ท�ำใหท้ ราบวา่ มะเรง็ ชนดิ เซลล์ตับในคนไทย ประกอบดว้ ย 3 กลมุ่ ย่อย สว่ นมะเรง็ ท่อน�้ำดี ประกอบด้วย 4 กลุ่มย่อย และพบว่ามะเร็ง ในกลุ่มย่อยท่ี 1 ของมะเร็งทั้งสองชนิด มีรูปแบบการ แสดงออกของยีนที่คล้ายกัน และมีอัตราการรอดชีวิตต่�ำ แต่การแสดงออกดังกล่าวไม่พบในผู้ป่วยในยุโรปและ อเมริกา ท�ำให้จ�ำเป็นต้องศึกษาโรคมะเร็งตับในผู้ป่วย คนไทยท่ีอาจมีต้นก�ำเนิดของโรคและรูปแบบทางระบาด วทิ ยาทตี่ ่างจากผู้ป่วยในประเทศอ่นื ผลการวิจัยสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้และพัฒนาวิธีป้องกันการเกิดมะเร็งตับ วิธีวินิจฉัยโรคในระยะ เรม่ิ ต้น และเพมิ่ ประสิทธิภาพในการรกั ษา การศกึ ษาวจิ ัยโรคมะเร็งของสถาบนั ฯ ยังไดม้ ีการน�ำเทคนิคโปรตีโอมิกส์ มาใช้ในการศึกษาการแสดงออกของโปรตีนชนิดต่างๆ ในเซลล์มะเร็ง ท�ำให้ค้นพบโปรตีนท่ีมีความจ�ำเพาะของ การแสดงออกในโรคมะเร็งแต่ละชนิด และสามารถน�ำมาพัฒนาเพื่อใช้เป็นตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของมะเร็งชนิดต่างๆ ได้ เช่น โปรตีน Lipocalin และ Cathepsin B มปี ริมาณสงู ในเซลล์มะเร็งท่อนำ�้ ดี และมะเรง็ ตอ่ มไทรอยด์ ตามล�ำดบั เป็นตน้ รวมท้งั การศึกษาในหลอดทดลอง โดยใช้เซลล์มะเรง็ ชนิดต่างๆ ท�ำให้ค้นพบกลไกการท�ำงานระดับโมเลกลุ ของสารที่มีฤทธิ์ต้านมะเร็งชนิดต่างๆ เช่น สารวานิลลิน และสารไครซิน ท่ีมีฤทธิ์ยับยั้งการแพร่กระจายของ เซลลม์ ะเรง็ แต่ด้วยกลไกท่ีแตกตา่ งกัน และอยูร่ ะหว่างการศกึ ษากลไกการฆ่าเซลล์มะเรง็ ของสารวานลิ ลนิ นอกจากน้ี ยังศึกษากลไกการออกฤทธ์ิยับย้ังการเจริญเติบโตในเซลล์มะเร็งตับและท่อน้�ำดีของสารสกัด สมุนไพรฟ้าทะลายโจร พบว่าสารสกัดฟ้าทะลายโจรท�ำให้เกิดการตายแบบ apoptosis ของเซลล์มะเร็งท่อน้�ำดี ซ่งึ อาจน�ำมาประยุกต์ใช้ในการรกั ษาโรคตอ่ ไปได้ สิง่ แวดลอ้ มกบั สขุ ภาพอนามยั ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ยังทรงสนพระทัย ศึกษาวิจัยด้านมลพิษในส่ิงแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะสารเคมีในส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นอันตราย หากได้รับสัมผัสนานๆ อย่างต่อเนื่อง ซ่ึงอาจเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคเรื้อรัง เช่น การได้รับสารจากไอเสีย และฝุ่นละอองที่ปล่อยออกมาจากยานยนต์ประเภทต่างๆ การสูดดมควันธูป หรือการได้รับสารหนูที่ปนเปื้อน ในสงิ่ แวดลอ้ ม อาจส่งผลใหเ้ กิดโรคมะเร็งได้ “ท้ังชีวติ อทุ ิศเพอื่ ราษฎร”์ 29
จึงทรงศึกษาวิจัยเพ่ือประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพอนามัย ท่ีเกิดจากการได้รับมลพิษทางอากาศใน กรงุ เทพมหานคร ในกลมุ่ คนทมี่ คี วามเสย่ี งจากการปฏบิ ตั งิ าน เชน่ ต�ำรวจจราจร ผขู้ ายของรมิ ถนน ประชาชนทอี่ าศยั อยู่ในบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่น เป็นต้น ข้อมูลการวิจัยสามารถน�ำไปสู่การวางแนวทางการป้องกันโรคใน กล่มุ เสีย่ งตา่ งๆ ตลอดจนการพฒั นาคณุ ภาพอากาศเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพทีด่ ี เนือ่ งจากทรงเหน็ วา่ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของประชาชน เช่น การ จุดธูปก็ท�ำให้เกิดมลพิษในอากาศหลายชนิด เน่ืองจากการเผาไหม้ของธูป ท�ำให้มีการปลดปล่อยสารก่อมะเร็งออกมาในควันธูป เช่นเดียวกับที่พบใน ควันทอ่ ไอเสียรถยนต์ ไดแ้ ก่ ฝุ่นละอองขนาดเล็ก กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ ไนโตรเจนออกไซด์ มเี ทน สารก่อมะเร็ง และสารอนิ ทรยี ์ระเหยงา่ ย ซ่ึงสาร กอ่ มะเรง็ เหลา่ นี้เปน็ พษิ ตอ่ สารพนั ธุกรรมและสามารถน�ำไปส่กู ารเกิดมะเรง็ ในคน ด้วยเหตุนี้ จึงทรงท�ำการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพของการได้รับ ควันธปู ในคนงานทไี่ ดร้ บั ควันธปู จากการปฏบิ ัตงิ านภายในวดั ผลการศกึ ษา พบว่า คนงานที่ได้รับควันธูปจะได้รับสารก่อมะเร็งสูงกว่าคนงาน ในหน่วยงานท่ีไม่มีการจุดธูป ซึ่งสอดคล้องกับความผิดปกติของสาร พันธกุ รรม โดยพบระดบั การแตกหกั ของ ดี เอ็น เอ ในเมด็ เลอื ดขาวของคนงาน ท่ีได้รับควันธูปสูงกว่าคนงานในหน่วยงานท่ีไม่มีการจุดธูปประมาณ 2 เท่า นอกจากนี้ คนงานที่ได้รับควันธูปยังมีความสามารถในการซ่อมแซมความ ผดิ ปกติของสารพันธุกรรม ดี เอน็ เอ ลดลง ดว้ ยเหตุนี้คนทีไ่ ด้สัมผสั ควันธปู เป็นประจ�ำจึงมีความเส่ียงตอ่ การเกดิ โรคต่างๆ เพิม่ ขึ้น เช่น โรคมะเร็ง เป็นตน้ ผลงานวจิ ยั นไี้ ดร้ บั การตพี มิ พใ์ นวารสาร Chemico - Biological Interactions และไดร้ บั การลงคะแนน เป็นข่าวเด่นด้านวิทยาศาสตร์ของประเทศไทย อันดับ 3 ใน พ.ศ. 2551 อีกด้วย งานวิจัยเร่ืองควันธูป มีผล อย่างสูงต่อการป้องกันการเกิดมะเร็งปอด โดยมีศาสนสถานภาครัฐและเอกชนหลายแห่งเร่ิมให้ความส�ำคัญและ มีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนหลีกเลี่ยงการได้รับควันธูป จะเห็นไดว้ ่าหวั ขอ้ ทที่ รงเลือกมาวจิ ัยน้ี มปี ระโยชน์โดยตรงกบั ประชาชนคนไทย เพราะเก่ียวข้องกบั วถิ ีชวี ิตทีเ่ ปน็ อยใู่ นปัจจุบัน ซงึ่ อาจน�ำไปส่ผู ลเสียต่อสุขภาพอนามยั ในอนาคตได้ งานวิจัยที่ทรงให้ความส�ำคัญ และมีคุณประโยชน์ต่อประชาชาติ ที่ไม่เฉพาะกับคนไทยเท่านั้น ได้แก่ การศกึ ษาการรับสัมผสั สารหนู และการเปล่ยี นแปลงที่จะนำ� ไปส่กู ารเกิดโรคในอนาคต สารหนูเป็นธาตกุ ่ึงโลหะทปี่ นเป้ือนในสงิ่ แวดลอ้ ม จดั เป็นสารกอ่ มะเรง็ ชนดิ หนงึ่ การศึกษาวจิ ยั และตดิ ตาม เฝ้าระวังมารดาและทารกแรกคลอดที่ได้รับสัมผัสสารหนูเป็นระยะเวลานาน ในอ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัด นครศรีธรรมราช ต้ังแต่ พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบันพบว่า เด็กเหล่านี้ได้รับสารหนูเข้าสู่ร่างกายในปริมาณสูง โดย 30 “ท้งั ชีวิต อุทศิ เพ่อื ราษฎร์”
เริ่มต้นได้รับสารหนูจากมารดาระหว่างตั้งครรภ์ และสัมพันธ์กับปริมาณสารหนูท่ีพบในน�้ำที่ใช้อุปโภคในชีวิตประจ�ำวัน ด้วย รวมทัง้ พบการเปล่ยี นแปลงการแสดงออกของหน่วยพนั ธุกรรม การถกู ท�ำลายของดี เอ็น เอ และความผดิ ปกติ ในการซ่อมแซมดี เอ็น เอ ของเด็กกลุ่มดังกล่าว ข้อมูลที่ได้ใช้เป็นแนวทางในการติดตามพัฒนาการของเด็ก การเฝ้าระวงั การเกดิ อันตรายตอ่ สขุ ภาพ หรอื การเกิดโรคในเดก็ นอกจากการเฝ้าติดตามปัญหาของเด็กในประเทศไทยแล้ว ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจา้ ฟา้ จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี ทรงไดข้ ยายงานวจิ ยั โดยรว่ มมอื กบั The National Institutte of Occupational and Environmental Health (NIOEH) สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เพ่ือร่วมกันศึกษาปัญหาสุขภาพเด็ก ซ่ึงเกิดจากการได้รับสารหนูจากมารดาระหว่างอยู่ ในครรภ์ โดยเปน็ โครงการวิจยั ร่วมกับมหาวิทยาลยั และสถาบันวจิ ัยของสหรฐั อเมริกา ไดแ้ ก่ Columbia University, Massachussetts Institute of Technology, National Institute of Environmental Health Sciences (NIEHS) และสถาบันวิจัยของ สาธารณรฐั เกาหลี คอื Gwangju Institute of Science and Technology ซึ่งแสดงถึงความสนพระทัยท่ีจะ ช่วยแก้ไขปัญหาสุขภาพให้กับมวลมนุษยชาติ และ ประเทศเพ่ือนบ้านท่ีประสบปัญหาที่คล้ายคลึงกับ ประเทศไทยอกี ด้วย ใน พ.ศ. 2558 รฐั บาลโดยกระทรวงสาธารณสขุ ได้ขอพระราชทานพระอนุญาตก�ำหนดให้วันที่ 4 กรกฎาคม ของทุกปี ซ่ึงตรงกับวันคล้ายวันประสูติของ ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ให้เป็น “วันอนามัยสิ่งแวดล้อมไทย” เนื่องจากทรงมุ่งมั่นในการวิจัยและพัฒนางานด้านอนามัย สงิ่ แวดลอ้ ม อกี ทง้ั ทรงตระหนกั ถงึ ปญั หาการขาดแคลนบคุ ลากรดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ซงึ่ เปน็ ปจั จยั ส�ำคญั ในการพัฒนาประเทศอย่างย่งั ยนื เพือ่ ความกนิ ดีอย่ดู ีของอาณาประชาราษฎร์ รวมท้ังทรงเปน็ แบบอยา่ งของผ้นู �ำใน การขับเคลื่อนงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมซ่ึงต้องมีวิสัยทัศน์ ท�ำงานเชิงรุก และมีนโยบายการท�ำงานท่ีชัดเจนและ ตอ่ เนื่อง เพ่ือเปน็ การเทิดพระเกยี รตทิ ่ีทรงเปน็ “เจ้าฟ้าฯ นกั พัฒนาอนามยั สิ่งแวดล้อม” และสร้างความตระหนกั แกส่ งั คมและหนว่ ยงานทกุ ภาคสว่ นใหม้ สี ว่ นร่วมในการด�ำเนินงานเพ่ือการพัฒนาอนามัยส่ิงแวดล้อมของประเทศ อันจะน�ำไปสู่การมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตท่ีดีของประชาชนชาวไทย ตลอดจนการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ต่อไป “ทัง้ ชวี ิต อทุ ศิ เพือ่ ราษฎร”์ 31
ทรงเป็นผู้น�ำด้านการพัฒนาบุคลากรระดับสูงในภูมิภาค เป็นท่ีประจักษ์ในระดับนานาชาติ ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงตระหนักดีว่า ในการน�ำวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยไี ปใชเ้ พอื่ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของราษฎรนน้ั ทรพั ยากรบคุ คลทมี่ คี ณุ ภาพเปน็ ปัจจัยส�ำคัญอย่างย่ิงต่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ประเทศในภูมิภาคและประเทศก�ำลังพัฒนาล้วนขาดแคลน ทรัพยากรบุคคลระดับสูงโดยเฉพาะอย่างย่ิงในด้านพิษวิทยา อนามัยส่ิงแวดล้อม และความปลอดภัยของสารเคมี จงึ ทรงต้ังศนู ย์พิษวิทยาสง่ิ แวดล้อมและอุตสาหกรรมนานาชาติขน้ึ ใน พ.ศ. 2531 ซึ่งตอ่ มา ใน พ.ศ. 2533 ไดร้ ับ การแต่งตั้งจากโครงการส่ิงแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) ให้เป็นศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านพิษวิทยา สิ่งแวดล้อมและอุตสาหกรรมนานาชาติ (UNEP Center of Excellence in Environmental and Industrial Toxicology) เพอ่ื เปน็ ศนู ยก์ ลางระดบั ภมู ภิ าคและนานาชาติ มงุ่ พฒั นาทรพั ยากรบคุ คลของประเทศดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในสาขาที่ขาดแคลน ซ่ึงเป็นท่ีต้องการของทั้งภาครัฐและภาคเอกชนและเร่ิมจัดการฝึกอบรม ดา้ นพษิ วทิ ยา รวมทง้ั การประเมนิ ความเสย่ี งของสารเคมตี อ่ สง่ิ แวดลอ้ มและสขุ ภาพเปน็ ครงั้ แรกในประเทศไทย ทง้ั น้ี ยงั ทรงมพี ระนโยบายใหด้ �ำเนนิ งานครอบคลมุ ทง้ั การฝกึ อบรมระยะสน้ั การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การประชมุ วชิ าการ ระดบั ประเทศ ภมู ภิ าค และนานาชาตขิ นึ้ เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรของประเทศไดร้ บั ความรแู้ ละถา่ ยทอดเทคโนโลยจี ากประเทศ ท่ีพฒั นาแล้ว ต่อมาศนู ย์ไดข้ ยายขอบเขตการด�ำเนนิ งานและปรับชือ่ เป็น “ศนู ยอ์ นามัยส่งิ แวดลอ้ มและพิษวิทยา นานาชาติ” ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก (WHO Collaborating Center) ทางดา้ นนี้ เมือ่ พ.ศ. 2548 โครงการด้านการศึกษาระยะยาว ได้แก่ โครงการ บัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโทและเอก สาขาพิษวิทยา สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (หลักสูตรนานาชาติ) โดยร่วมมือกับสถาบันเทคโนโลยีแห่ง เอเชีย และมหาวิทยาลัยมหิดล เปิดการเรียนการสอนใน พ.ศ. 2542 และมีนักศึกษาต่างชาติเข้าร่วมศึกษาจาก จีน อินโดนีเซีย มองโกเลีย ศรลี ังกา บังกลาเทศ เนปาล ลาว พม่า ฟิลิปปินส์ และฟนิ แลนด์ 32 “ทั้งชีวติ อทุ ิศเพือ่ ราษฎร์”
ส�ำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่าง ประเทศ (สพร.) และองค์การระหว่างประเทศ อาทิ โครงการ สิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) โครงการเพื่อการ พัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) และมูลนิธิอาเซียน (ASEAN Foundation) ตา่ งมคี วามเชอ่ื มน่ั ในพระวสิ ยั ทศั นข์ อง องคป์ ระธานสถาบนั วจิ ยั จฬุ าภรณ์ และศกั ยภาพของสถาบนั ฯ ได้ให้ทุนสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาบุคลากรของประเทศไทย และประเทศก�ำลังพัฒนา นับเป็นความร่วมมือท่ีส�ำคัญยิ่งที่ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ได้รับการสนับสนุนดังกล่าว และได้ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนแก่ประเทศ เพ่ือนบ้านท่ีประสบปัญหาขาดแคลนงบประมาณและบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถด้านพิษวิทยาส่ิงแวดล้อม จนถึงปัจจุบัน ได้จัดการฝึกอบรมระยะสั้นหลักสูตรต่างๆ ไปมากกว่า 90 คร้ัง มีผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมมากกว่า 4,900 คน จาก 45 ประเทศ และไดจ้ ัดการฝกึ อบรมในภูมิภาคเอเชยี แปซิฟกิ มาแลว้ 23 ครง้ั ใน 8 ประเทศ ไดแ้ ก่ บรไู นดารสุ ซาลาม ราชอาณาจกั รกัมพูชา สาธารณรัฐอนิ โดนเี ซีย สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว มาเลเซีย สหภาพพม่า สาธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม และราชอาณาจักรภูฏาน จากการทที่ รงท่มุ เทพระวรกายใหก้ บั งานพฒั นาบคุ ลากรอย่างตอ่ เนอื่ งนบั ตง้ั แต่กอ่ ตงั้ สถาบนั ฯ และผลงาน ได้รับการยอมรับในมาตรฐานและคุณภาพเป็นท่ีประจักษ์ในระดับนานาชาติ ท�ำให้องค์กรที่มีช่ือเสียงระดับโลก ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลพระเกียรติยศแก่องค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ในฐานะผู้ทรงวางนโยบายและทรงเป็น องคผ์ นู้ �ำท่เี ขม้ แขง็ อาทิ รางวัล Tree of Learning Award จาก IUCN-The World Conservation Union ใน พ.ศ. 2533 รางวัล IFCS Special Recognition Award จาก Intergovernmental Forum on Chemical Safety (IFCS) ใน พ.ศ. 2549 และรางวลั IUTOX 2013 Merit Award จาก International Union of Toxicology (IUTOX) ใน พ.ศ. 2556 ท�ำให้สถาบันวิจยั จุฬาภรณเ์ ป็นท่ีร้จู ักและยกย่องจากองคก์ ารระหวา่ งประเทศ ดังน้ี “ศูนย์แห่งความเป็นเลศิ ด้านพิษวิทยาสิง่ แวดลอ้ มและอตุ สาหกรรมนานาชาติ” (UNEP Center of Excellence in Environmental and Industrial Toxicology) จากโครงการส่ิงแวดล้อมแหง่ สหประชาชาติ ใน พ.ศ. 2533 “ศนู ยค์ วามรว่ มมอื ดา้ นการพฒั นาศกั ยภาพของประเทศดา้ นบคุ ลากร และงานวจิ ยั ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ อนามัยส่ิงแวดล้อมและพิษวิทยา” (WHO Collaborating Center for Capacity Building and Research in Environmental Health Science and Toxicology) จากองคก์ ารอนามัยโลก ใน พ.ศ. 2548 “ศูนย์กลางการฝึกอบรมของ WHO-SEARO ด้านความปลอดภัยของสารเคมีในภูมิภาคเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใต้” (WHO - SEARO Regional Training Center for Chemical Safety in the South-East Asia Region) จากองค์การอนามยั โลก ส�ำนกั งานภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ใน พ.ศ. 2556 “ทง้ั ชวี ิต อุทศิ เพอ่ื ราษฎร์” 33
ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจา้ ฟา้ จุฬาภรณวลัยลกั ษณ์ อคั รราชกุมารี ทรงเปน็ ผนู้ �ำองคก์ รทม่ี พี ระปณธิ านแนว่ แนใ่ นอนั ทจี่ ะทรงน�ำ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวิตของราษฎร อีกท้ังพระปรีชา สามารถท่ีทรงก�ำหนดวิสัยทัศน์ของสถาบันวิจัย จุฬาภรณ์ ตั้งแต่เร่ิมก่อต้ังสถาบันฯ ตราบจนถึง ปัจจุบัน ประกอบกับพระวิริยอุตสาหะที่ทรงทุ่มเท ทรงงานหนักอยา่ งตอ่ เนือ่ ง งานวชิ าการด้านพัฒนา บุคลากรของสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์จึงก่อให้เกิด ประโยชน์แก่ประเทศไทยและประเทศในภูมิภาค อย่างยิ่ง ทั้งยังได้รับการกล่าวขานและความเชื่อถือ ในระดับนานาชาติ นับว่าเป็นคุณูปการแก่วงการ วิทยาศาสตร์และประเทศชาติอยา่ งมหาศาล ทรงเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจา้ ลกู เธอ เจ้าฟา้ จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกุมารี ทรงม่งุ มนั่ สนับสนุนการ พัฒนาบุคลากรระดับสูงอย่างต่อเนื่อง ทรงแสวงหาความร่วมมือและเชิญนักวิทยาศาสตร์และนักวิชาการระดับ ชน้ั น�ำของโลกมาร่วมให้ความรู้และแลกเปลย่ี นประสบการณ์กบั นักวิทยาศาสตรไ์ ทย เพื่อเพิ่มขดี ความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ โดยจัดการประชุมวิชาการท้ังระดับประเทศ ภูมิภาค และนานาชาติขึ้น และเป็นการเผยแพร่ ข้อมูลและผลงานวิจยั ใหมๆ่ ท่ที ันสมัยด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การประชุมวิทยาศาสตร์นานาชาติเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ (Princess Chulabhorn International Science Congress) เป็นการประชุมวิชาการในระดับนานาชาติท่ีจัดทุก 3 - 5 ปี เพ่ือเฉลิมพระเกียรติในมหามงคลสมัย ต่างๆ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลท่ี 9 โดยเน้ือหาจะเปล่ียนไปตามความเหมาะสม ให้สอดคล้องกับความก้าวหน้า ทางวทิ ยาการ และสามารถน�ำวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยมี าประยุกตใ์ ช้ให้เป็นประโยชน์ เพือ่ ยกระดับคุณภาพชวี ิต ของประชาชนและเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้และประสบการณ์ของนักวิจัยและนักวิชาการในสาขาที่มีความส�ำคัญเร่งด่วน 34 “ทั้งชวี ติ อุทศิ เพื่อราษฎร”์
ส�ำหรับประเทศไทย ที่ผ่านมามีการจัดการประชุมแล้ว 8 คร้ัง โดยมีวิทยากรจากสถาบันช้ันน�ำจากนานาประเทศ รวมทงั้ นกั วทิ ยาศาสตรท์ ี่ได้รับรางวลั โนเบล ให้เกียรตมิ าบรรยายพเิ ศษมากกว่า 700 คน และมผี ้เู ข้าร่วมการประชมุ รวมมากกว่า 7,000 คน ส�ำหรับการประชุมคร้ังท่ี 8 จัดข้ึนเม่ือ วันที่ 13 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ในหัวข้อ “Environmental Health: Inter - linkages among the Environment, Chemicals and Infectious Agents” (อนามัยสิ่งแวดล้อม : ความเช่ือมโยง ระหว่างสิ่งแวดล้อม สารเคมี และเช้ือท่ีก่อโรค) เพ่ือเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จเถลงิ ถวัลยราชสมบัติครบ 70 ปี ในวันท่ี 9 มถิ ุนายน พ.ศ. 2559 และเฉลมิ พระเกยี รติ สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลท่ี 9 เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ ในวนั ที่ 12 สงิ หาคม พ.ศ. 2559 การประชุมวิชาการน้ี ได้รับความชื่นชมจากผู้เข้าร่วมการประชุมทั้งในด้านความเป็นเลิศทางวิชาการและ การต้อนรับที่แสดงถึงวฒั นธรรมประเพณที ด่ี ีงามของประเทศไทย ท�ำให้เป็นประโยชนท์ ้ังดา้ นการเผยแพร่วฒั นธรรม และการทอ่ งเทยี่ วของประเทศ ด้วยน�้ำพระทัยที่เปี่ยมล้นด้วยพระเมตตาท่ีจะยกระดับคุณภาพชีวิตของพสกนิกรชาวไทย นับต้ังแต่ก่อตั้ง สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงมี พระวิสัยทัศน์และพระปณิธานอันแน่วแน่ในการน�ำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อยกระดับคุณภาพ ชวี ติ ของประชาชน และนำ� ไปสกู่ ารพฒั นาประเทศอยา่ งยงั่ ยนื ผลงานวจิ ยั และวชิ าการทม่ี มี าอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอด 3 ทศวรรษ ได้ผลิดอกออกผลให้ประจักษ์แก่สายตาชาวไทย รวมถึงวงการนักวิทยาศาสตร์นานาชาติ จึงทรง ได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลและเหรียญเกียรติยศทางวิชาการระดับนานาชาติมากมาย สะท้อนให้เห็นถึง การเสียสละความสุขส่วนพระองค์เพื่อทรงงานหนักมาเป็นระยะเวลายาวนาน และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์แก่ ประชาคมโลก ทรงน�ำพาให้สถาบนั วจิ ยั จฬุ าภรณ์กา้ วสูค่ วามเป็นเลิศ และเป็นแกนน�ำขับเคล่ือนวงการวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไทยไปสู่การแข่งขันในระดับเวทีโลก เป็นที่ยอมรับของนานาอารยประเทศ สมดังพระสมัญญานาม “เจา้ ฟ้านกั วทิ ยาศาสตร”์ ของวงการวทิ ยาศาสตร์ไทย ทป่ี วงชนชาวไทยทกุ คนเทิดทนู และภาคภูมใิ จอย่างยิง่ “ทัง้ ชีวติ อทุ ศิ เพือ่ ราษฎร์” 35
รางวัลนานาชาติเฉลิมพระเกียรติเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ รางวัล UNESCO’s Albert Einstein Gold Medal จากองค์การศึกษาวิทยาศาสตรแ์ ละวัฒนธรรม แหง่ สหประชาชาติ เพอ่ื เชิดชเู กยี รตินักวิทยาศาสตร์ทเ่ี ปน็ บุคคลตวั อย่างทางวิชาการ และการส่งเสริมงาน ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ทรงเปน็ บคุ คลท่ี 3 ในโลก และเปน็ นกั วทิ ยาศาสตรส์ ตรพี ระองคแ์ รกของโลกทไ่ี ดร้ บั รางวลั (พ.ศ. 2529 ณ สาธารณรัฐฝร่ังเศส) รางวัล Tree of Learning Award จาก สหภาพสากลว่าด้วยการอนุรักษ์ (IUCN – The World Conservation Union) เพ่ือยกย่องที่ทรง ท�ำคณุ ประโยชนต์ อ่ สง่ิ แวดลอ้ มโลก โดยการพฒั นา บุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับสารเคมีและสิ่งแวดล้อม ใ ห ้ ต ร ะ ห นั ก ถึ ง คุ ณ ค ่ า แ ล ะ ค ว า ม ส�ำ คั ญ ข อ ง ทรัพยากรธรรมชาติ และการพัฒนาแบบย่ังยืน (พ.ศ. 2533 ณ เครือรฐั ออสเตรเลีย) รางวลั EMS- Hollaender International Fellow Award จากสมาคม Environmental Mutagen Society (EMS) แห่งสหรัฐอเมริกา ในฐานะนักวิทยาศาสตร์ผู้มี ผลงานดเี ดน่ ของโลก ในสาขาสารเคมกี อ่ ให้เกดิ มะเร็งและ พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม เคมี และผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (พ.ศ. 2545 ณ สหรัฐอเมรกิ า) รางวัล IFCS - Special Recognition Award ของ Intergovernmental Forum on Chemical Safety (IFCS) ซ่งึ กอ่ ตั้งโดยสหประชาชาติ ในฐานะที่ ทรงด�ำเนินกิจกรรมและให้การสนับสนุนส่งเสริมงาน ความปลอดภัยของสารเคมีแก่ประเทศก�ำลังพัฒนา และประเทศในภูมิภาค และจากการด�ำเนินงาน อย่างต่อเน่ืองในด้านการศึกษา ฝึกอบรม และการ แลกเปลี่ยนทางวิทยาศาสตร์ของสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ (พ.ศ. 2549 ณ สาธารณรฐั ฮงั การ)ี 36 “ทัง้ ชวี ติ อทุ ิศเพ่อื ราษฎร์”
รางวลั Nagoya Medal Special Award จากมหาวทิ ยาลัยนาโกยา่ ประเทศญ่ีปนุ่ ในฐานะผ้ทู �ำ คุณประโยชน์สูงสุดแก่วงการอินทรีย์เคมี และงานด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ อินทรีย์เคมีสังเคราะห์ มะเร็ง พิษวิทยา วิทยาศาสตรส์ ่งิ แวดล้อมและสขุ ภาพ (พ.ศ. 2549 ณ ประเทศญป่ี นุ่ ) รางวลั Albert Hofmann Centennial Gold Medal Award ของสถาบนั อินทรยี เ์ คมี มหาวิทยาลัย ซรู กิ สมาพนั ธรฐั สวสิ ในฐานะทที่ รงมบี ทบาทส�ำคญั ในการสง่ เสรมิ ความกา้ วหนา้ ดา้ นเคมผี ลติ ภณั ฑธ์ รรมชาติ อินทรีย์เคมีสังเคราะห์และสารเคมีจากสมุนไพรเพื่อค้นหาตัวยาใหม่ส�ำหรับการรักษาโรค (พ.ศ. 2550 ณ สมาพนั ธรฐั สวิส) รางวัล Windaus Medal ของสถาบนั อนิ ทรียเ์ คมี และชีวโมเลกลุ มหาวิทยาลยั เกออ็ จ เอากุสท์ เก้ิททิงเง่ิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ระดับโลกที่มีผลงานดีเด่นในด้าน อนิ ทรยี เ์ คมี (พ.ศ. 2552 ณ สหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมนี) รางวลั Ramazzini Award 2009 จาก สถาบันคอลลีเจียม รามาซซีนี่ สาธารณรัฐ อิตาลี ในฐานะที่ทรงเป็นนักวิทยาศาสตร์ท่ีมี บทบาทส�ำคัญในงานวิจัยด้านเวชศาสตร์ อาชีวะและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเกิดจากผลกระทบ ของสารเคมี (พ.ศ. 2552 ณ สาธารณรฐั อิตาล)ี “ท้ังชวี ติ อทุ ศิ เพอ่ื ราษฎร์” 37
รางวลั N.D. Zelinsky Award ของ สถาบนั อนิ ทรียเ์ คมี เอน็ ดี เซลนิ สกี้ สหพันธรฐั รัสเซีย ส�ำหรับผลงานยอดเยี่ยมด้านเคมีของ พระองค์ และทรงน�ำไปประยุกต์ใช้พัฒนา ประเทศ (พ.ศ. 2554 ณ สหพันธรฐั รัสเซยี ) รางวัลสตรีผู้ทรงเกียรติที่มีบทบาทดีเด่น สาขาวิชาเคมีของโลก ของสมาพันธ์นานาชาติเคมี บริสุทธ์ิและเคมีประยุกต์ ในโอกาสการฉลองปีเคมี สากล และครบ 100 ปี การได้รบั รางวัลโนเบล สาขา เคมี ของมาดามมารี คูรี ด้วยทรงมีผลงานดเี ด่นด้าน งานวิจัยเคมี การพัฒนาวิทยาศาสตร์ และการศึกษา (พ.ศ. 2554 ณ เครอื รฐั เปอรโ์ ตรโิ ก) รางวัล Special Prize 2010 ของ สมาคมส่งเสริมสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม แห่งเกาหลี ส�ำหรับผลงานวิจัยของพระองค์ที่ สร้างคุณประโยชน์ต่อการศึกษา วงการวิจัย การประดิษฐ์และนวัตกรรมของโลก (พ.ศ. 2554 ณ สาธารณรัฐเกาหลี) รางวัล International Order of Merit of the Inventors – IOMI “INVENT AND SERVE” ของสหพันธ์สมาคม นักประดิษฐ์นานาชาติ ส�ำหรับผลงาน อันโดดเด่นเปน็ พเิ ศษด้านการวิจยั ในฐานะ นักวิจัยผู้สร้างกระบวนการที่ท�ำให้เกิดการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกระดับ และสามารถเชอื่ มโยงกับงานวจิ ัยระดับนานาชาติ (พ.ศ. 2554 ณ สาธารณรฐั เกาหลี) รางวัล IUTOX 2013 Merit Award ของ สหภาพพิษวิทยานานาชาติ ส�ำหรับผลงานวิจัยที่ โดดเด่นระดับนานาชาติทางด้านพิษวิทยา อนามัย สิ่งแวดล้อมและโรคมะเร็ง รวมท้ังความส�ำเร็จใน โครงการฝึกอบรมด้านพิษวิทยาและการประเมิน ความเส่ียงจากสารเคมีในภมู ภิ าคเอเชยี -แปซฟิ กิ ท่ไี ด้ ทรงด�ำเนินการมามากกว่า 2 ทศวรรษ (พ.ศ. 2556 ณ สาธารณรัฐเกาหลี) 38 “ท้ังชีวิต อุทศิ เพือ่ ราษฎร์”
ชวี ติ ใหม่ ใต้รม่ พระบารมี
ชวี ิตใหม่ ใต้รม่ พระบารมี ตลอดระยะเวลาการทรงงานในฐานะเจา้ ฟา้ ผทู้ รงดแู ลอาณาประชาราษฎร์ ศาสตราจารย์ ดร.สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจ้าฟ้าจฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ์ อัครราชกมุ ารี ทรงพบเหน็ ชวี ิตท่ที กุ ข์ยากล�ำบากของราษฎรมาเป็นจ�ำนวนมาก จึงทรงม่งุ ม่นั ท่ีจะช่วยเหลือและบ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขทุกด้านให้แก่ราษฎรเสมอมา โดยเฉพาะในด้านการแพทย์และสาธารณสุข ด้วยเหตุที่ประชาชนจ�ำนวนมากในถ่ินทุรกันดารยังห่างไกลจากบริการด้านการสาธารณสุขท่ีดี และมีผู้ป่วยจ�ำนวนมาก ไร้ทุนทรัพย์ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บของตน ความช่วยเหลือที่ได้พระราชทานตลอดมา คือ โปรดเกล้าฯ ให้น�ำ หน่วยแพทย์พระราชทานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ออกไปดูแลรักษาโรคแก่ประชาชนทั้งใน ยามปกติ และยามวกิ ฤตทม่ี สี าเหตจุ ากพบิ ตั ภิ ยั ทางธรรมชาตติ า่ งๆ ตลอดจนผนกึ ก�ำลงั ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั หนว่ ยแพทย์ มลู นธิ แิ พทยอ์ าสาสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี (พอ.สว.) เพอ่ื ดแู ลใหก้ ารรกั ษาโรคและการบรกิ ารสาธารณสขุ กระจายไปอย่างท่ัวถึง ส�ำหรับราษฎรในทุกจังหวัดของประเทศ โดยมีมูลนิธิจุฬาภรณ์ร่วมปฏิบัติงานสงเคราะห์ ดา้ นการเงินทจี่ �ำเป็นแก่ผปู้ ่วยยากไรเ้ หล่าน้ันดว้ ย 40 “ทงั้ ชวี ติ อุทิศเพ่ือราษฎร”์
ภาพท่ีพระองค์ประทับท่ามกลางคณะแพทย์พยาบาล หน่วยสัตวแพทย์ หน่วยอาสาสมัครสาธารณสุข และเหล่าราษฎรที่เรียงรายเฝ้ารับเสด็จ พร้อมกับทรงยื่นพระหัตถ์พระราชทานความช่วยเหลือแก่บรรดาไพร่ฟ้า เป็นภาพท่ีตรึงตราอยู่ในใจประชาชนเสมอ เพราะปรากฏให้เห็นกันทั่วในสื่อสาธารณะต่างๆ ปีแล้วปีเล่า จวบจน กระท่ังถงึ ทกุ วันนี้ การท่ีทรงพบปะกับราษฎรอย่างใกล้ชิดอยู่เสมอ ท�ำให้ทรงทราบปัญหาความทุกข์ด้านอ่ืนๆ ซึ่งเป็นผลกระทบ จากการที่มีผู้ป่วยอยู่ในครอบครัว โดยเฉพาะถ้าผู้ป่วยเป็นโรคท่ีรักษายาก หรือต้องรักษาต่อเนื่อง เช่น โรคมะเร็ง ชนิดต่างๆ โรคไต โรคลมชัก น่ันหมายถึงค่าใช้จ่ายท่ีสูงเกินก�ำลัง และแม้แต่ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปรักษาตัว ก็อาจเป็นปัญหาเช่นกัน ดังนั้น เพ่ือช่วยเหลือผู้ป่วยยากจนเหล่าน้ี ทรงพระเมตตารับไว้ในพระอนุเคราะห์ เพื่อให้มีโอกาสได้รับการรักษา อยา่ งดที สี่ ดุ ในโรงพยาบาลตา่ งๆ ขณะเดยี วกนั พระกรณุ าธคิ ณุ ปกแผโ่ อบอมุ้ ไปถึงครอบครัวของผู้ป่วย โดยทรงให้มูลนิธิจุฬาภรณ์ดูแลช่วยเหลือ ในดา้ นอ่ืนๆ เพมิ่ เตมิ ตามความจ�ำเปน็ ของครอบครวั เช่น คา่ ใช้จา่ ยในการ เดินทางพาผู้ป่วยไปรักษาท่ีโรงพยาบาล อุปถัมภ์ให้บุตรหลานได้ศึกษา เล่าเรียน หรืออุปการะเลี้ยงดูบุตร ในกรณีท่ีผู้ป่วยไม่สามารถท�ำงาน หาเลี้ยงชพี ต่อไปได้ หรือเสียชวี ติ ในปหี นง่ึ ๆ มผี ปู้ ว่ ยทท่ี รงรบั ไวใ้ นพระอนเุ คราะหจ์ �ำนวน มากราย ความช่วยเหลือทีพ่ ระราชทานทั้งทางตรงและทางอ้อม เปรยี บเสมือนนำ�้ หลอ่ เลยี้ งชีวิตผู้ป่วยเหลา่ น้นั ท�ำให้มพี ลังตอ่ สกู้ ับ โรคภยั ไขเ้ จบ็ ตอ่ ไป ดงั เชน่ ชาวบา้ นรายหนงึ่ ปว่ ยเปน็ โรคมะเรง็ ล�ำไส้ ระยะสุดท้าย และมีเพียงบุตรชายซึ่งอายุยังน้อยเพียงคนเดียว ทรงต่อชีวิตแม่ด้วยการส่งไปรักษาท่ีโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ และ ทรงชุบชีวิตบุตรชายโดยทรงรับไว้เป็นบุตรบุญธรรม ทันทีท่ี ทรงทราบว่าผู้ป่วยเป็นทุกข์อย่างมากว่า หากต้องจากไปด้วย โรครา้ ย จะไม่มีผใู้ ดดแู ลบตุ รของตนต่อไป ดว้ ยพระกรณุ าธิคุณเป็นลน้ พน้ ยงั ความปลาบปลมื้ ปีตสิ ูงสุดสู่ทง้ั สองชวี ิต ผู้ยากไร้ “ทั้งชีวิต อุทศิ เพอื่ ราษฎร์” 41
โรงพยาบาลเพื่อปวงชน ปัจจุบันอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง นับเป็นสาเหตุ การเสียชีวิตล�ำดับต้นๆ ของประชากรไทย ศาสตราจารย์ ดร. สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ จฬุ าภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกมุ ารี ได้ทรงตระหนักถึงมหันตภัยของโรคมะเร็งดังกล่าวท่ีมีผลกระทบ ตอ่ ทง้ั สงั คมและเศรษฐกจิ ของประเทศ โดยเฉพาะความทกุ ขย์ าก ของผู้ป่วยมะเร็งและครอบครัว ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะ ช่วยเหลือประชาชนชาวไทยทั้งหลายที่ต้องทนทุกข์จากโรคมะเร็ง จงึ มพี ระด�ำรจิ ัดตง้ั “ศนู ย์วจิ ยั ศึกษาและบำ� บัดโรคมะเรง็ ” ข้ึน เพื่อเฉลมิ พระเกียรตสิ มเด็จพระนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ในรัชกาลที่ 9 เน่อื งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ และเม่ืออาคารโรงพยาบาลแล้วเสรจ็ พร้อมเปดิ เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางดา้ นโรคมะเรง็ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานนามใหมว่ า่ “โรงพยาบาลจฬุ าภรณ์” และเสดจ็ เป็นประธานเปิดโรงพยาบาลจฬุ าภรณ์อยา่ งเปน็ ทางการในวันที่ 29 ตลุ าคม พ.ศ. 2552 โรงพยาบาลจฬุ าภรณเ์ ปน็ โรงพยาบาลเฉพาะทางดา้ นโรคมะเรง็ ทม่ี กี ารวจิ ยั ควบคไู่ ปกบั การรกั ษา เพอื่ สรา้ ง นวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ด้านการป้องกัน วินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็ง ผู้ป่วยมะเร็งทุกรายท่ีเข้ารับการรักษา ณ โรงพยาบาลจฬุ าภรณ์ จะไดร้ บั การประเมนิ ผลการตรวจวนิ จิ ฉยั เบอื้ งตน้ โดยคณะกรรมการผเู้ ชยี่ วชาญก�ำหนดแผนการ รักษา (Tumor Board) ซ่ึงประกอบด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากสหสาขาต่างๆ เพื่อร่วมกันพิจารณาตัดสินแนวทาง การรักษาทีเ่ หมาะสมและดที สี่ ุดส�ำหรับผ้ปู ว่ ยแตล่ ะราย เพ่อื ให้ผปู้ ่วยมะเร็งมโี อกาสรอดชีวิตและมคี ณุ ภาพชีวิตท่ดี ี 42 “ท้งั ชีวิต อุทิศเพื่อราษฎร”์
ส�ำหรบั แนวโนม้ การรกั ษาโรคมะเรง็ ในปจั จบุ นั ทวั่ โลกมงุ่ เนน้ ไปทก่ี ารปอ้ งกนั และการตรวจคดั กรองโรคมะเรง็ ต้ังแตร่ ะยะเรมิ่ แรก เน่อื งจากมผี ลต่อการรกั ษาและผู้ปว่ ยมีโอกาสหายขาด ศาสตราจารย์ ดร.สมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี จึงมีพระประสงค์ให้ประชาชนชาวไทยมีโอกาสได้รับความรู้และ เขา้ ถงึ การปอ้ งกนั โรคในแนวใหม่นี้ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์จึงจัดกิจกรรมสาธารณประโยชน์ท่ีเป็นการให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไปทั้งในเรื่อง โรคมะเร็ง การป้องกนั และการประเมนิ ความเส่ียง เพอ่ื สรา้ งความตระหนกั เกี่ยวกบั โรคมะเร็งวา่ “กนั ดีกว่าแก”้ และ ผเู้ ปน็ โรคมะเรง็ มโี อกาสหายขาดได้ หากตรวจพบและไดร้ บั การรกั ษาตง้ั แตร่ ะยะเรมิ่ แรก โดยกจิ กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ แก่ประชาชน ซึ่งโรงพยาบาลจัดอยู่เป็นประจ�ำ ได้แก่ การให้ความรู้ผ่านสื่อต่างๆ หรือการให้ความรู้แก่หน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน การเสวนาประชาชน ตลอดจนออกหน่วยให้บริการเคล่ือนที่เก่ียวกับการประเมินความเสี่ยง และการให้ความรูแ้ กป่ ระชาชนทัว่ ไป นอกจากน้ี กิจกรรมสาธารณประโยชน์ยังประกอบด้วย หน่วยแพทย์พระราชทานโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ณ พระต�ำหนกั จกั รีบงกช ซึง่ เป็นที่ประทับ ณ จงั หวดั ปทุมธานี เพอ่ื ให้บริการตรวจรกั ษาดแู ลสุขภาพของประชาชน ทอ่ี าศัยอยใู่ นบริเวณพืน้ ทใ่ี กลเ้ คยี งพระต�ำหนัก ส�ำหรับในวันส�ำคัญหรอื ในโอกาสพเิ ศษตา่ งๆ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หน่วยแพทย์พระราชทานออกให้บริการแก่หน่วยงานและชุมชนบริเวณใกล้เคียงกับโรงพยาบาล นอกจากนี้ เม่ือใดก็ตามที่เกิดเหตุภัยพิบัติต่างๆ ข้ึน ไม่ว่าจะเป็นแห่งใดในประเทศไทย หน่วยแพทย์พระราชทานจะไปปฏิบัติงาน ช่วยเหลือประชาชน ณ ที่นัน้ เสมอ เนื่องในโอกาสวนั คลา้ ยวนั ประสตู ิ 4 กรกฎาคม ของทกุ ปี ดว้ ยนำ�้ พระทยั ทเี่ ปย่ี มไปดว้ ยพระเมตตาทมี่ ตี อ่ พสกนกิ รชาวไทย ศาสตราจารย์ ดร.สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงบ�ำเพ็ญ พระกุศลโดยพระราชทานโครงการท่ีทรงคุณประโยชน์ ท้ังต่อผู้ป่วยและประชาชนท่ัวไปทุกปี โดยโปรดเกล้าฯ พระราชทาน “โครงการบ�ำเพ็ญพระกุศล” เหล่าน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือคัดกรองและตรวจค้นหาโรคมะเร็ง ในระยะเรมิ่ แรกให้แกป่ ระชาชน ซงึ่ หากตรวจพบ ผูป้ ว่ ยก็ จะได้รับการรักษาแต่เน่ินๆ ส่งผลให้สามารถช่วยชีวิต ผปู้ ว่ ยไดเ้ ปน็ จ�ำนวนมาก รวมทงั้ สามารถตอ่ ยอดสผู่ ลงานวจิ ยั ทไ่ี ดร้ บั การตพี มิ พท์ ง้ั ในวารสารระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ โดยโครงการบ�ำเพ็ญพระกุศลโครงการแรก คือ “โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งล�ำไส้ใหญ่” ซึ่งเร่ิมในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2552 เนื่องในโอกาสวนั คล้ายวันประสูติ และเน่ืองในโอกาสเสดจ็ เปิดโรงพยาบาลอยา่ งเปน็ ทางการ จากการท่ีเสด็จไปปฏิบัติพระภารกิจร่วมกับหน่วยแพทย์พระราชทานโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ และหน่วยแพทย์ มูลนิธิ พอ.สว. ทรงพบว่าหลายพ้ืนที่ในชนบทมีจ�ำนวนผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งสูงกว่าชุมชนอ่ืนๆ ของประเทศไทย จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหโ้ รงพยาบาลจฬุ าภรณร์ ว่ มกบั สถาบนั วจิ ยั จฬุ าภรณล์ งพน้ื ทดี่ �ำเนนิ งานวจิ ยั เชงิ ส�ำรวจ ในชมุ ชน เพือ่ เกบ็ ตวั อย่างดา้ นอาหารและสง่ิ แวดลอ้ ม น�ำมาวิจยั คน้ หาสาเหตุและลดปจั จัยเสีย่ งเพื่อลดอุบัติการณ์ การเกดิ โรคมะเรง็ ดงั เชน่ ทจ่ี งั หวดั นา่ น มกี ารจดั ท�ำ “โครงการคดั กรองและเฝา้ ระวงั โรคมะเรง็ เซลลต์ บั และทอ่ นำ�้ ดี ในพื้นทีอ่ �ำเภอบ้านหลวง จงั หวดั นา่ น” ภายใต้โครงการการเข้าถึงการรกั ษาที่มคี ณุ ภาพของโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ “ทงั้ ชวี ิต อุทิศเพื่อราษฎร”์ 43
และที่อ�ำเภอพนมไพรและกิ่งอ�ำเภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด มีโครงการความร่วมมือต่างๆ อาทิ “โครงการตรวจ คัดกรองมะเรง็ ล�ำไสใ้ หญแ่ ละทวารหนัก จงั หวัดรอ้ ยเอด็ ” “โครงการเฝ้าระวังและคดั กรองโรคมะเรง็ เซลลต์ บั ในผู้ป่วยโรคไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรัง จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นต้น รวมทั้งมีการจัดตั้ง “ศูนย์ความร่วมมือเพ่ือการ ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งของโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ณ จังหวัดรอ้ ยเอด็ ” เพื่อเปน็ ตน้ แบบในการให้บริการ ปอ้ งกันและรกั ษาโรคมะเร็งในระดับชมุ ชนต่อไป ด้วยพระบารมีและพระวิริยอุตสาหะในการเสด็จเยือนสถาบันการแพทย์ช้ันน�ำต่างๆ ทั่วโลก อาทิ ท่ี สหรฐั อเมริกา สหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี รฐั อิสราเอล และประเทศญป่ี ุน่ ท�ำใหโ้ รงพยาบาลจฬุ าภรณ์มเี ครือข่าย ความร่วมมือกับสถาบันเหล่านั้น ท้ังในด้านการวิจัย การแลกเปลี่ยนบุคลากรผู้เชี่ยวชาญ และงานทางวิชาการ นอกเหนือจากความร่วมมือกับสถาบันช้ันน�ำทางการแพทย์ในประเทศ อาทิ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ โรงพยาบาลราชวิถี เป็นต้น จากการอุทิศพระวรกายเพื่อทรงน�ำความเจริญก้าวหน้ามายังโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ท้ังทางด้านวิทยาการ ความรแู้ ละเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ท�ำใหโ้ รงพยาบาลจฬุ าภรณเ์ จรญิ กา้ วหนา้ ไปอยา่ งรวดเรว็ เปน็ ทศี่ รทั ธาของประชาชน ทง้ั หลายว่า “โรงพยาบาลของเจา้ ฟา้ จฬุ าภรณ”์ เป็นโรงพยาบาลช้ันน�ำดา้ นการรกั ษาโรคมะเรง็ และใหบ้ รกิ ารเปน็ ทปี่ ระทบั ใจแกป่ ระชาชนทกุ ระดบั และทสี่ �ำคญั ในดา้ นจติ ใจของผปู้ ว่ ยทกี่ �ำลงั รกั ษาตวั อยใู่ นโรงพยาบาล ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลยั ลักษณ์ อคั รราชกุมารี จะทรงติดตามผลการรักษาและเสด็จเยี่ยมผู้ป่วย โรคมะเรง็ เปน็ ระยะๆ อย่างใกลช้ ิดโดยไม่ถือพระองค์ พร้อมทง้ั ทรงให้ก�ำลังใจในการต่อสู้กับโรคร้าย ทรงเน้นเร่ืองขวัญและ ก�ำลังใจ และครอบครัว เพราะทรงทราบดีว่า ปัญหาโรคมะเร็ง ไม่เพียงกระทบกบั ผู้ป่วยผูเ้ ดยี ว แต่ท�ำให้เดอื ดร้อนท้ังครอบครวั รวมถึงความเดือดร้อนทางเศรษฐกิจ เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการ รักษาโรคมะเร็งจะสูงมาก ฉะน้ัน ความทุกข์ทรมานของมะเร็ง มใิ ชเ่ พยี งทกุ ขจ์ ากความเจบ็ ปว่ ยจากโรคเทา่ นนั้ หากแตเ่ ปน็ เรอ่ื ง ของความทุกข์ทางจิตใจของครอบครัวและสังคมด้วย คร้ังหน่ึง ขณะท่ีทรงเยย่ี มผู้ปว่ ยมะเรง็ มพี ระด�ำรสั วา่ “...ส�ำหรบั ผปู้ ่วยโรคมะเรง็ อกี สง่ิ หนง่ึ ท่สี ำ� คัญพอๆ กบั ยา คอื “กำ� ลังใจ” ถา้ มีกำ� ลังใจก็จะอยไู่ ด้นาน เราอยาก ให้ผู้ป่วยรู้ว่า ก�ำลังใจเป็นส่ิงส�ำคัญ ถ้าต้ังใจว่าจะต้องหาย มันกจ็ ะเบาลง จะช่วยยดื อาย”ุ พระด�ำรัสปลอบประโลม และนำ�้ พระทยั หว่ งใยราษฎร ทีเ่ จบ็ ปว่ ย เปรยี บเสมอื นน�ำ้ ทพิ ย์ชโลมใจทชี่ ุบชีวิตผู้ยากไร้อยา่ ง แท้จรงิ 44 “ทงั้ ชวี ิต อทุ ศิ เพื่อราษฎร”์
ก้าวสู่ศูนย์การแพทย์ครบวงจร ในวนั น้ี โรงพยาบาลจุฬาภรณ์มีจ�ำนวนผ้ปู ่วยเพิ่มข้ึนอยา่ งรวดเร็ว จาก 40,000 ราย ใน พ.ศ. 2552 เป็น 110,000 ราย ในขณะทผี่ ู้ป่วยในเพิ่มจาก 1,000 ราย เป็น 4,000 ราย และมีแนวโนม้ ท่ีจะเพ่ิมขึน้ อยา่ งต่อเน่ือง อีกทั้ง ผปู้ ว่ ยรายเกา่ เรมิ่ มภี าวะแทรกซอ้ นจากการแพรก่ ระจายของโรค ท�ำใหก้ ารรกั ษาจ�ำเปน็ ตอ้ งใชแ้ พทยผ์ เู้ ชย่ี วชาญจาก ทุกสาขาให้การดูแล โรงพยาบาลจฬุ าภรณจ์ ึงจ�ำเปน็ ตอ้ งส่งต่อผูป้ ว่ ยเหลา่ นไ้ี ปยงั โรงพยาบาลอืน่ ๆ เพือ่ ให้ได้รบั การ รักษาที่ครบวงจร ซงึ่ ท�ำให้ผปู้ ่วยและญาตเิ สยี เวลา และเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทางระหวา่ ง 2 - 3 โรงพยาบาล ดว้ ยพระเมตตา ศาสตราจารย์ ดร.สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี ทรงปรบั แนวพระนโยบายของโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ให้เพ่ิมการรักษาแบบท่ัวไปด้วย เพื่อให้ครอบคลุมโรคต่างๆ มากขึ้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสร้าง “ศูนย์การแพทย์ภัทรมหาราชานุสรณ์” โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ซึ่งเป็น โครงการเฉลมิ พระเกยี รติ 90 ปี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ใน พ.ศ. 2560 ศูนยก์ ารแพทย์แห่งใหม่นี้เปน็ โรงพยาบาลขนาด 400 เตียง และเป็นสว่ นตอ่ ขยายของโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ซงึ่ ไดร้ บั ความร่วมมือในการก่อตั้งทั้งจากภาครัฐและเอกชน สถานที่ต้ังอยู่ในพื้นท่ีของศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ ใกล้กับ โรงพยาบาลจฬุ าภรณ์ ศูนย์การแพทย์ภัทรมหาราชานุสรณ์ จะให้บริการตรวจรักษาโรคทั่วไปนอกเหนือจากโรคมะเร็ง โดยเป็น พระภารกิจท่ีเพิ่มขึ้นในการดูแลทุกข์สุขของประชาชน อันสืบเนื่องมาจากพระประสงค์ท่ีจะดูแลผู้ป่วยอ่ืนๆ อย่าง ครบวงจร ไมเ่ ฉพาะแตผ่ ปู้ ว่ ยโรคมะเรง็ เทา่ นนั้ เพราะราษฎรทที่ รงพบเหน็ ในถน่ิ ทรุ กนั ดาร นอกเหนอื จากโรคมะเรง็ แลว้ ยังเจ็บป่วยด้วยโรคอ่ืนๆ อีกเป็นจ�ำนวนมาก ศูนย์การแพทย์ฯ แห่งใหม่นี้ จะให้การตรวจวินิจฉัยและรักษาอย่าง ครบวงจร ด้วยทมี แพทยแ์ ละพยาบาลผู้เชี่ยวชาญ ตลอดจนอปุ กรณ์ทางการแพทย์ทท่ี นั สมัย “ทงั้ ชวี ิต อทุ ิศเพอื่ ราษฎร”์ 45
นอกจากนี้ ด้วยพระวิสัยทัศน์และสายพระเนตรที่ยาวไกลว่าควรมีการผลิตและพัฒนาบุคลากรท่ีมี ประสิทธิภาพ และมจี �ำนวนพอเพยี ง ฉะนั้น การทรงงานพฒั นาเพื่อ “กา้ วไปขา้ งหน้า” อีกประการหนง่ึ คือ การจัดตง้ั “วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยเ์ จา้ ฟา้ จฬุ าภรณ”์ ใน พ.ศ. 2559 ซงึ่ เปน็ หนว่ ยงานภายใตร้ าชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ์ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ พฒั นาและถา่ ยทอดองคค์ วามรใู้ นสาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ และสหเวชศาสตร์ ดว้ ยเทคนคิ การเรยี นการสอนทท่ี นั สมยั ฉะนั้น เป็นท่ีคาดหวังได้ว่า ประสิทธิภาพของการเรียนการสอน และการวิจัยของวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ การแพทยเ์ จา้ ฟา้ จฬุ าภรณ์ จะสง่ ผลดเี กอื้ หนนุ สมั ฤทธผ์ิ ลของงานรกั ษาพยาบาลของศนู ยก์ ารแพทยภ์ ทั รมหาราชานสุ รณ์ คณุ ประโยชนอ์ ยา่ งเดน่ ชดั ทางการแพทย์ ซง่ึ เกดิ มขี น้ึ ไดด้ ว้ ยพระบารมขี อง “เจา้ ฟา้ ของปวงชน” พระองคน์ ้ี ในอนาคต อนั ใกล้ จึงเปน็ ความโชคดีของประชาชนอย่างแทจ้ รงิ 46 “ท้งั ชีวติ อุทศิ เพ่ือราษฎร์”
ดวงประทปี แหง่ การศกึ ษา
ดวงประทีปแห่งการศกึ ษา ศาสตราจารย์ ดร.สมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ เจา้ ฟา้ จุฬาภรณวลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี ทรงใหค้ วามส�ำคญั ตอ่ การศึกษาเป็นอย่างมาก เพราะการศึกษาเป็นรากฐานที่ส�ำคัญของการพัฒนาคนไปสู่การพัฒนาประเทศให้ย่ังยืน กา้ วหน้าท้ังด้านสังคม การเมือง และเศรษฐกจิ ทุกครั้งที่เสด็จเยยี่ มราษฎรทั่วทกุ ภูมิภาคของประเทศไทย เมอ่ื ทรงพบเดก็ นักเรียนหรือนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ จะทรงสนับสนุนให้เยาวชนเหล่านั้นมีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียนต่อ โดยพระราชทานเงินจากมูลนิธิจุฬาภรณ์ให้เป็น “ทุนการศึกษา” โอกาสทางการศึกษาจึงเป็นของขวัญล�้ำค่าท่ี พระราชทานแก่เยาวชนให้มีความรู้เพียงพอท่ีจะประกอบอาชีพที่ม่ันคงต่อไป ตลอดจนสามารถมีส่วนร่วมในการ พฒั นาชุมชนและสังคมในวนั ข้างหน้า นอกจากน้ี ยงั มี “ทนุ อดุ หนนุ การวิจยั ” ทพี่ ระราชทานแก่นกั วจิ ยั ไทย เพื่อให้ งานวิทยาศาสตร์และการแพทย์ของประเทศมีความก้าวหน้ายิ่งข้ึน ด้วยพระประสงค์ให้ทรัพยากรมนุษย์ของ ประเทศไทยมศี ักยภาพ เปน็ สมองและพลังส�ำคญั ในการพัฒนาชาติใหร้ งุ่ เรือง 48 “ทง้ั ชีวติ อทุ ศิ เพ่ือราษฎร”์
ทรงมงุ่ มนั่ สง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ดา้ นความเปน็ อยแู่ ละการศกึ ษาของประชาชน โดยเฉพาะในทอ้ งถน่ิ หา่ งไกล มีพระประสงค์ให้โอกาสแก่เยาวชนทม่ี ีความสนใจและมคี วามสามารถดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดลอ้ ม ได้ฝกึ ฝนความร้คู วามสามารถเฉพาะทางเปน็ พิเศษต้งั แตเ่ ยาว์วัย ด้วยส�ำนึกในพระกรุณาธิคุณที่ทรงมีต่องานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม ประกอบกับ ทรัพยากรบุคคลด้านวิทยาศาสตร์ยังมีจ�ำนวนน้อย กระทรวงศึกษาธิการจึงสนองพระปณิธานจัดตั้งโรงเรียน เฉลิมพระเกียรติด้านวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา จ�ำนวน 12 แห่ง ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย เนื่องในโอกาส ทรงเจรญิ พระชนั ษา 3 รอบ ในวนั ท ่ี 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 โดยพระราชทานนามวา่ “โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวทิ ยาลยั ” เปิดรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ รวมท้ังนักเรียนกลุ่มด้อยโอกาส และขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อพัฒนานักเรียนเหล่าน้ีสู่ความเป็นนักวิจัย นักประดิษฐ์ นักคิดค้นด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่จะมสี ่วนช่วยพัฒนาประเทศชาตใิ ห้สามารถด�ำรงอยู่และแขง่ ขนั ในประชาคมโลกได้ นอกจากน้ี ได้พระราชทานโอกาสใหน้ กั เรยี นของโรงเรยี นจุฬาภรณราชวิทยาลยั เขา้ เยยี่ มชมห้องปฏบิ ตั ิการ อนั ทนั สมัยของสถาบนั วิจัยจฬุ าภรณ์ เพือ่ สร้างแรงบันดาลใจในการศึกษาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ในระดบั สงู ตอ่ ไป พระกรณยี กจิ ในฐานะ “ทลู กระหมอ่ มอาจารย”์ ยงั เปน็ อกี บทบาทหนง่ึ ทท่ี รงรกั และทมุ่ เทพระวรกายอยา่ ง เตม็ พระก�ำลงั เพอื่ ใหก้ ารศกึ ษาเปน็ รากฐานทม่ี น่ั คงของการพฒั นาประเทศ ใน พ.ศ. 2538 ทรงรบั ราชการเปน็ อาจารย์ ประจ�ำภาควชิ าชวี เคมี ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นอนชุ วี วทิ ยาของโรคมะเรง็ และพษิ วทิ ยา ของคณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ทรงสอนหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตแก่นักศึกษาแพทย์ต้ังแต่รุ่น 104 จนถึงปัจจุบัน ทรงเอาพระทยั ใสใ่ นการเรยี นของนกั ศกึ ษาแพทยท์ กุ คน ทกุ รายวชิ าทที่ รงสอนจะทรงอธบิ ายอยา่ งละเอยี ด แตเ่ อกสาร ประกอบการบรรยายซงึ่ ทรงเตรียมไว้อย่างครบถว้ น จะพระราชทานให้ภายหลงั การบรรยาย ซง่ึ เป็นเทคนิคการสอน ส่วนพระองค์ เพอ่ื ใหน้ ักศึกษาได้ตัง้ ใจฟงั เสียกอ่ นในชัน้ เรยี น รวมถงึ ยงั ทรงค้นคว้าเน้ือหาวิชาที่กา้ วหนา้ และทนั สมยั เพ่ือน�ำมาถา่ ยทอดแกล่ กู ศษิ ยอ์ ยูเ่ สมอ และยังพระราชทานพระอนุญาตใหส้ ามารถโทรศพั ทป์ รกึ ษาเร่อื งการเรียนได้ “ทง้ั ชวี ิต อทุ ศิ เพ่ือราษฎร”์ 49
นอกจากน้ี ยงั ทรงใหค้ วามส�ำคัญกบั วฒั นธรรมการรับน้อง ทรงมีพระเมตตาเสด็จไปร่วมพิธีรับน้องข้ามฟากโดยมิถือพระองค์ สร้างความประทับใจแก่ลกู ศษิ ยอ์ ย่างมริ ลู้ ืม ด้วยส�ำนึกในพระกรุณาธิคุณ สภาอาจารย์ ศริ ริ าช คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหิดล มมี ติทลู เกล้าฯ ถวาย “รางวลั อาจารยด์ เี ด่น” ประจ�ำปี พ.ศ. 2554 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ระดับปรีคลินิกและระดับคลินิก เมื่อวันท่ี 9 มีนาคม พ.ศ. 2555 ตลอดระยะเวลาที่ทรงตั้งพระทัยทรงงาน ในฐานะอาจารย์ ทรงทุ่มเทพระวรกายและใส่พระทัย ถา่ ยทอดความรแู้ กเ่ หลา่ ลกู ศษิ ยท์ กุ รนุ่ เพอื่ หลอ่ หลอม สกู่ ารเปน็ แพทยท์ ด่ี มี คี ณุ ภาพ พรอ้ มทจี่ ะดแู ลชว่ ยเหลอื ประชาชนไดอ้ ย่างเต็มความสามารถต่อไป แสงสวา่ งน�ำทางที่พระราชทานเพ่ือความกา้ วหน้าทางการศึกษาวทิ ยาศาสตรน์ ี้ ตอ่ มาภายหลังไดส้ ่องสวา่ ง ไปจนถงึ ระดับบัณฑิตศึกษา เมือ่ ทรงกอ่ ตง้ั สถาบันบัณฑิตศึกษาจฬุ าภรณ์ ใน พ.ศ. 2548 สถาบันการศึกษา ผลิตนักวิทยาศาสตร์ระดับสูง ศาสตราจารย์ ดร.สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟ้าจฬุ าภรณวลัยลักษณ์ อคั รราชกมุ ารี ทรงเปน็ นกั วทิ ยาศาสตร์ ทไี่ ดร้ บั การยกยอ่ งและมผี ลงานดเี ดน่ ในระดบั นานาชาติ ทรงมพี ระวสิ ยั ทศั นท์ จี่ ะสรา้ งสถาบนั บณั ฑติ ศกึ ษาจฬุ าภรณ์ ให้เป็นสถาบันท่ีมีความเป็นเลิศทางการศึกษา และมีบทบาทในการขับเคล่ือนประเทศไปสู่การแข่งขันระดับสากล โดยใช้การวิจัยน�ำในการผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับสูง ในสาขาที่มีความจ�ำเป็น อย่างเร่งด่วนส�ำหรับประเทศไทย และประเทศอ่ืนๆ ในภูมิภาคน้ี เพ่ือให้มีความรู้และสามารถถ่ายทอดความรู้ ออกเปน็ รปู ธรรมและน�ำมาประยุกต์ใชใ้ นการพัฒนาประเทศได้ 50 “ทั้งชวี ิต อุทศิ เพื่อราษฎร”์
Search