Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทฤษฎีใหม่

ทฤษฎีใหม่

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-08-11 11:09:26

Description: ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลพบุรี
หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษา

Search

Read the Text Version

แวดวงเกษตร ฤษฎีใหม่ แหง่ แรกของประเทศไทย ที่วดั มงคลชัยพฒั นา ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาการเกษตรลพบรุ ี ในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ได้มีพระราชกระแสให้เจา้ หน้าท่ีมลู นธิ ิชัยพฒั นา ไปหาซอ้ื ทดี่ นิ ตดิ กบั วัดมงคล ซ่งึ ตัง้ อยู่ในเขต 2 ตำ� บล คือ ต�ำบลห้วยบง และต�ำบลเขาดนิ พฒั นา อำ� เภอเมอื ง จังหวดั สระบุรี ซึ่งตอ่ มาได้รับ พระราชทานนามวา่ “วดั มงคลชยั พฒั นา”และปจั จบุ นั ตง้ั อยใู่ นเขตตำ� บลเขาดนิ พฒั นาอำ� เภอเฉลมิ พระเกยี รติจงั หวดั สระบรุ ี เมื่อวนั ท่ี 26 กรกฎาคม 2531 นายสมจิตร ท้าวครุฑ และนางบุญเรอื ง ราวีศรี ได้ขายและถวายทด่ี นิ รวม 16 ไร่เศษ ซง่ึ ตอ่ มาทางราชการโดยกรมชลประทาน กรมพฒั นาท่ดี นิ กรมวิชาการเกษตร ตลอดจนนายอ�ำเภอและผูว้ ่าราชการจงั หวดั สระบรุ ี ได้รว่ มมอื กันด�ำเนินการขดุ บอ่ น�้ำโดยใช้เงินของมลู นธิ ิชยั พัฒนาสว่ นหน่ึงและใช้เงินของราชการส่วนหนึ่ง ซงึ่ นับว่า เป็นการโชคดมี ากเม่ือขดุ แลว้ สามารถพบน้าํ จงึ นำ� นำ้� นนั้ มาใช้เพอ่ื การเพาะปลกู น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 84 ฉบับท่ี 6 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2554 53

พื้นทนี่ าขา้ ว ตอ่ มาในปีพุทธศักราช 2535 ได้จดั ซ้ือทดี่ ินท่อี ยู่ ใหเ้ ปน็ ศนู ยศ์ กึ ษา อยากทดลองวา่ ถา้ ทำ� อยา่ งนช้ี าวบา้ น ติดกันเพิม่ อกี 1 แปลง รวมทัง้ มีผถู้ วายเพิ่มเติมเปน็ พืน้ ท่ี ท�ำได้ไหม ราชการจะช่วยอะไรบ้าง เชน่ ขดุ สระใหใ้ น อกี 15.5 ไร่เศษ ทรงมอบให้มูลนธิ ิชัยพฒั นาทดสอบการ พน้ื ท่ี 3,000 ไร่ ทำ� ได้ 200 บอ่ แตต่ อ้ งดพู น้ื ทที่ เี่ หมาะสม ด�ำเนินการตามแนวทฤษฎใี หม่ โดยพระราชทานแนวทาง ดว้ ย ตอนแรกกป็ ลูกข้าวกอ่ น ทีหลังก็ปลกู ไม้ผล ตกลง การด�ำเนินงานไวด้ ว้ ย เรากส็ นับสนนุ ได้ พระราชด�ำ ริ ตกลงเอาแปลงที่ 3 เพอื่ พสิ จู นว์ า่ ราษฎรทำ� ไดไ้ หม ให้วัด โรงเรยี น ราชการ และมูลนิธิร่วมกัน โครงการ วันท่ี 25 มกราคม 2536 เวลาประมาณ 15.20 น. พัฒนาพ้ืนท่ีบริเวณวัดมงคลชัยพัฒนาอันเน่ืองมาจาก พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ไปบำ� เพญ็ พระราชกศุ ล พระราชดำ� ริ จังหวดั สระบุรี นีเ้ ปน็ โครงการทสี่ ามารถ ถวายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่วัดมงคลชยั พฒั นาและ ผนกึ กำ� ลัง ตอ้ งไม่ลงทนุ มากนกั ท�ำเหมอื นชาวบ้านท�ำ ทอดพระเนตรการด�ำเนินงานโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีบริเวณ ยอมใหเ้ สยี ไปบา้ ง ถา้ ลงทนุ ทำ� มากไป หลวงจะทำ� ได้ แต่ วัดมงคลชัยพฒั นาอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ เม่ือคราว ชาวบ้านทำ� ไม่ได้” นน้ั ทรงมีพระราชด�ำรวิ า่ ไมผ้ ล “ถ้าท�ำโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณวัดมงคลชัย พฒั นาอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ จังหวดั สระบรุ ี นี้ให้ สระน้ำ� และเล้ยี งสตั ว์ แบง่ พ้นื ที่ 15 ไร่ ออกมาสกั 3 ไร่ แล้วขุดสระนาํ้ เก็บกกั นํา้ ไว้ชว่ ยในการปลูกข้าวจะทำ� ให้ไดผ้ ลทุกปี ได้ 40 ถัง ซ่งึ จะได้ 10 เท่า ของปที ี่ได้ผลไมด่ ี หรือท�ำนา 15 ไร่ จะเท่ากับท�ำนา 120 ไร่ ในปที ไ่ี ด้ผลผลิตไม่ดี ทฤษฎีนีด้ ูประหลาด แต่มันเปน็ จริงอยา่ งน้ัน และ ยังไดป้ ลาอกี ปลกู อย่างอื่นเป็นรายได้ ปลกู พืชนํา้ ก็ได้ การปลูกพืชบนน้ีเขาก็เอาน้ําจากสระมารดได้ จะเป็น รายไดอ้ กี ทางหนง่ึ บรเิ วณพนื้ ทใี่ หมน่ ใี้ หป้ ลกู ขา้ วเปน็ หลกั ปลกู ไมย้ นื ต้น ไม้ผลแซมบ้าง เพื่อให้ชาวบ้านมีข้าวกนิ กอ่ นไม่ต้องซ้อื ประชาชนมพี ้ืนท่เี ฉล่ียประมาณ 15 ไร่ ลองทำ� ให้ เหมอื นของเขา พน้ื ทแี่ หง้ แลง้ ขาดนา้ํ แตล่ ะแปลงใหม้ นี า้ํ ของเขา แลว้ สบู นา้ํ มาใช้ พนื้ ทข่ี องชาวบา้ นถา้ ทำ� คลา้ ยๆ โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณวัดมงคลชัยพัฒนาอันเน่ือง มาจากพระราชด�ำริ จังหวัดสระบุรี เขาจะอยู่ได้ ไมต่ อ้ ง 54 น.ส.พ. กสกิ ร ปที ี่ 84 ฉบับท่ี 6 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2554

หลกั การสำ�คญั ของทฤษฎใี หม่ 15.5 ไร่ ออกเปน็ 4 สว่ น ไดแ้ กส่ ระนา้ํ แปลงนา แปลงพชื ไร่ พชื สวน และทอ่ี ยอู่ าศยั คดิ เปน็ สดั สว่ น 16-35.5-24.5-24 “ทฤษฎีใหม่” ตามแนวพระราชด�ำริ เป็นแนวทาง ซ่ึงมีอัตราส่วนแตกต่างจากท่ีพระบาทสมเด็จพระราชทาน หนงึ่ ในการพฒั นาทางการเกษตรสำ� หรบั เกษตรกรทยี่ ากจน แนวทางเอาไวค้ อ่ นขา้ งมาก เนอื่ งจากเปน็ แปลงแรกทพ่ี ระองค์ มที ดี่ นิ ทำ� กนิ นอ้ ย และขาดแคลนนา้ํ โดยมหี ลกั การทสี่ ำ� คญั ทรงให้ท�ำการศึกษาทดลองถึงความเป็นไปได้ ก่อนท่ีจะ คอื พระราชทานพระราชด�ำริ “ทฤษฎีใหม”่ ในปี พ.ศ. 2536 1) เป็นระบบการผลิตเศรษฐกิจแบบพอเพียงที่ ผลผลติ ข้าวสว่ นที่เหลือนำ� ไปจำ� หนา่ ย เกษตรกรสามารถเลย้ี งตวั เองได้ ปลกู ขา้ วโพดฝกั สดหลังนา 2) ข้าวเป็นปัจจัยหลักท่ีทุกครัวเรือนต้องบริโภค ครอบครวั หน่งึ ท�ำนาประมาณ 5 ไร่ จะท�ำใหม้ ขี า้ วพอกนิ ท่อี ยอู่ าศยั ตลอดปี 3) ต้องมีน้ําเพื่อการเพาะปลูกส�ำรองไว้ใช้ในฤดู แล้ง หรือระยะฝนท้ิงช่วงไดอ้ ยา่ งพอเพยี ง ดงั นน้ั จึงจ�ำเปน็ ต้องกนั ทด่ี ินสว่ นหนึ่งไวข้ ดุ สระนา้ํ 4) จัดแบ่งแปลงท่ีดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยแบง่ ออกเป็น 4 ส่วน คอื สระนา้ํ นาขา้ ว พืชไรพ่ ืชสวน และที่อยู่อาศัย โดยมีอัตราส่วน 30-30-30-10 เป็น เกณฑป์ รบั ใช้ ทฤษฎีใหม่ ทำ�ไมใหม่ 1. มีการบริหารและจัดแบ่งที่ดินแปลงเล็กออก เปน็ สดั ส่วนทช่ี ัดเจน เพอ่ื ประโยชน์สงู สุดของเกษตรกร ซึง่ ไมม่ ใี ครเคยคิดมากอ่ น 2. มกี ารคำ� นวณโดยหลกั วชิ าการเกยี่ วกบั ปรมิ าณนา้ํ ทจ่ี ะกกั เกบ็ ไวใ้ หพ้ อเพยี งตอ่ การเพาะปลกู ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ตลอดปี 3. มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบส�ำหรับเกษตรกร รายย่อย โดยมี 3 ข้นั ตอน คอื ทฤษฎีใหม่ขน้ั ตน้ ทฤษฎใี หม่ ขั้นท่ีสอง และทฤษฎใี หม่ข้ันท่สี าม วัตถุประสงคข์ องโครงการ 1. เพ่ือพัฒนาพื้นท่ีขนาดเล็กท่ีมีสภาพแห้งแล้งให้ เปน็ พ้นื ที่ทีม่ คี วามชมุ่ ช้นื มศี ักยภาพในการทำ� การเกษตร 2. เป็นตัวอย่างในการด�ำเนินการตามแนวทฤษฎี ใหมแ่ กเ่ กษตรกรให้สามารถนำ� ไปปฏิบัตไิ ด้ 3. เพ่ือให้เป็นศูนย์กลางบริการประสานความร่วม มอื ระหวา่ ง บา้ น วดั และราชการ ซ่ึงเรียกย่อๆ วา่ “บวร” ให้มีความสมคั รสมานสามัคคี การด�ำ เนินการทฤษฎีใหมข่ นั้ ต้น ทฤษฎใี หม่ ท่ีโครงการ ฯ ดำ� เนินการ คือ ทฤษฎีใหม่ ขน้ั ตน้ เปน็ การจดั สรรทอี่ ยอู่ าศยั และทที่ ำ� กนิ โดยแบง่ พนื้ ที่ น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 84 ฉบับที่ 6 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2554 55

การจัดแบ่งแปลงท่ีดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดน้ี พนื้ ท่ีส่วนทสี่ าม พนื้ ท่ี 3.8 ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 24.5 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคำ�นวณและคำ�นึงจาก ใช้ปลูกไม้ใช้สอย ไม้ผล และผักหวานป่า ส�ำหรับใช้เปน็ อัตราการถอื ครองเฉลีย่ ครวั เรอื นละ 15 ไร่ หากเกษตรกร อาหารประจำ� วัน หากเหลือจากการบริโภคกน็ ำ� ไปจ�ำหน่าย มพี น้ื ทม่ี ากหรอื นอ้ ยกวา่ น้ี กส็ ามารถใชอ้ ตั ราสว่ น 30-30- 30-10 ได้ อยา่ งไรกต็ ามอัตราส่วนดังกล่าวเปน็ หลกั การ พ้ืนทสี่ ่วนทส่ี ่ี พืน้ ที่ 3.7 ไร่ คิดเปน็ ร้อยละ 24 เป็นท่ี โดยประมาณเท่านั้น สามารถปรับได้ตามความเหมาะสม อยอู่ าศัย ถนน โรงเรือนเล้ียงไก่พนื้ เมอื ง เปด็ เทศ บ่อเล้ยี ง ของสภาพพน้ื ท่ี ปลา พืชสมนุ ไพร และ พืชผักสวนครัว เช่น ผักบงุ้ คะน้า มะเขือเปราะ ถ่ัวฝกั ยาว พริก กะเพรา โหระพา ตะไคร้ พืน้ ทีส่ ่วนที่หนงึ่ ใชข้ ุดสระเกบ็ กักนาํ้ พืน้ ที่ 2.5 ไร่ มะนาวในวงบอ่ การปลกู พืชผักสวนครัวเพื่อใช้บริโภคและ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16 มขี นาดกวา้ ง 55 เมตร ยาว 71 เมตร ลกึ จำ� หนา่ ยเป็นรายได้เสริม 4.8 เมตร จนุ าํ้ ไดป้ ระมาณ 18,000 ลูกบาศก์เมตร โดยมี วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ กักเก็บนํา้ ไวใ้ หแ้ ก่แปลงนาขา้ วในระยะท่ี พ้นื ทีไ่ ม้ผลและไม้ใช้สอย ฝนทงิ้ ชว่ งและใชใ้ นการปลกู พชื กอ่ นและหลงั นา นอกจากนี้ ยงั เลยี้ งปลาในสระนา้ํ เพอ่ื เปน็ อาหาร สว่ นบรเิ วณขอบสระนา้ํ ปลกู หญา้ แฝกเพื่อป้องกันดินพังทลาย การมีสระกักเก็บนํ้า เพื่อให้มีนํ้าใช้อย่างสมํ่าเสมอ ตลอดท้งั ปี โดยไดพ้ ระราชทานพระราชดำ�ริเป็นแนวทางวา่ ต้องมีนํ้า 1,000 ลูกบาศก์เมตรต่อการเพาะปลูก 1 ไร่ ดงั นนั้ เมื่อทำ�นา 5 ไร่ และทำ�พืชไรห่ รอื ไมผ้ ลอกี 5 ไร่ รวมเป็น 10 ไร่ จะต้องมีนํ้า 10,000 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ปี พน้ื ท่ีสว่ นทส่ี อง พน้ื ท่ี 5.5 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 35.5 ใชป้ ลกู ขา้ วหอมมะลิ 105 เฉพาะขา้ วนาปีเทา่ นัน้ เนอ่ื งจาก ขา้ วเปน็ อาหารหลกั ทที่ กุ ครวั เรอื นตอ้ งบรโิ ภค โดยประมาณ ว่าครอบครวั หนึง่ ท�ำนา 5 ไร่ จะท�ำให้มขี ้าวพอกินตลอดปี ไมต่ อ้ งซื้อหาในราคาแพง ท�ำให้สามารถพง่ึ ตนเองได้ หลงั เกบ็ เกย่ี วขา้ ว ทำ� การปลกู พชื ไรห่ รอื พชื ผกั เพอื่ ใช้ที่ดินและน้ําท่ีเก็บกักไว้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยระบบ การปลกู พืชในปี พ.ศ. 2554 คอื ถ่วั เหลอื งฝกั สด-ขา้ ว- ข้าวโพดฝักสด 56 น.ส.พ. กสกิ ร ปที ี่ 84 ฉบับที่ 6 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2554

แสดงระบบทฤษฎีใหมท่ ีส่ มบรู ณ์ พชื หลงั นา ทฤษฎีใหม่บริเวณโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณ ถ่ายทอดเทคโนโลยี มงคลชยั พัฒนาอันเน่อื งมาจากพระราชด�ำริ จดั เปน็ ระบบ ทฤษฎใี หมท่ ี่สมบรู ณ์ เพราะมีระบบการจัดการน�้ำจากอ่าง ใหญ่ ส่อู า่ งเลก็ และส่งตอ่ ไปยงั สระเก็บนา้ํ ของโครงการ และของเกษตรกร คอื มนี ํา้ จากเขือ่ นปา่ สกั ชลสทิ ธิ์ ไปเตมิ อา่ งเก็บนา้ํ ห้วยหินขาว ซึ่งอยู่ในพ้ืนท่ี จากนัน้ จึงสง่ นํา้ ไปยงั สระน้ําในแปลงเกษตรกร ทำ� ใหม้ นี ํา้ ใช้เพื่อการเพาะปลกู ในฤดูแล้งอยา่ งพอเพยี ง นอกจากทฤษฎีใหมแ่ ล้ว ในโครงการฯ ยังมีพน้ื ที่ อกี 16.5 ไร่ เปน็ แปลงตน้ แบบระบบการปลูกพชื แบบผสม ผสาน มกี ิจกรรมตา่ งๆ คือ การปลูกไมผ้ ลยกรอ่ ง การปลกู พืชไรพ่ นั ธดุ์ ีของกรมวิชาการเกษตร สวนไม้ตระกูลมะ สวน พรรณไมห้ อมเฉลมิ พระเกยี รติ การเลย้ี งหมปู า่ จากเศษวสั ดุ การเกษตรในโครงการ ฯ และยังให้บริการสขี ้าวด้วยเครื่อง สีข้าวขนาดเลก็ แกเ่ กษตรกรรอบๆ โครงการฯ การถา่ ยทอดเทคโนโลยี ในแตล่ ะปมี ผี ู้สนใจ ท้ังเกษตรกร นักเรยี น นกั ศกึ ษา พระภกิ ษุ ประชาชนทั่วไป หนว่ ยงานราชการตา่ งๆ และชาว ตา่ งประเทศ มาเยย่ี มชมทโี่ ครงการฯ ปลี ะประมาณ 10,000 คน และทางโครงการฯ ยงั ไปร่วมจัดนทิ รรศการทฤษฎีใหม่ ในงานตา่ งๆ ทำ� ใหใ้ หผ้ ทู้ ม่ี าเยย่ี มชมไดท้ ราบและเขา้ ใจถงึ แนวพระราชด�ำริ และหลกั การของทฤษฎใี หม่อย่างถกู ต้อง เพื่อให้สามารถน�ำไปปฏิบัติหรือปรับใช้ให้เหมาะสมกับ สภาพพ้นื ที่ของตนเองและเกดิ ประโยชน์สงู สดุ ปัจจุบนั มีเกษตรกรจำ� นวนมากท่นี ำ� ทฤษฎใี หม่ ไป ปรับใชใ้ นพน้ื ที่ทำ� การเกษตรของตนเอง จนประสบความ ส�ำเร็จ พร้อมกันนั้นได้น�ำแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการด�ำเนินชวี ิต จึงทำ� ให้มีรายได้ที่เพียงพอส�ำหรบั เล้ยี งครอบครวั และอยูอ่ ย่างมคี วามสขุ น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 84 ฉบับท่ี 6 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2554 57

แวดวงเกษตร นยศ์ ึกษาการพฒั นา.. ตOาnมe พStรoะpรSาeชrดviำ� cรeิ วรเชษฐ์ สุริยะหนอ่ คำ� ชยั 58 น.ส.พ. กสิกร ปีที่ 84 ฉบบั ที่ 6 พฤศจกิ ายน - ธนั วาคม 2554

การบริการรวมที่จุดเดียว เปน็ รปู แบบการบรกิ ารแบบ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจาก เบด็ เสรจ็ หรอื One Stop Services ทเ่ี กิดข้นึ เป็นคร้งั พระราชด�ำริ เกดิ ขึ้นเม่อื พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ได้ แรกในระบบบริหารราชการแผน่ ดินของประเทศไทย โดย เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเย่ียมโครงการหมู่บ้านสหกรณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนา สนั ก�ำแพง และทรงเยย่ี มราษฎรอ�ำเภอสันกำ� แพง จังหวดั อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริเป็นต้นแบบในการบริการรวม เชียงใหม่ ทจ่ี ดุ เดยี ว เพอื่ ประโยชนต์ อ่ ประชาชนทม่ี าขอใชบ้ รกิ าร จะ ครน้ั เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ถงึ อา่ งเกบ็ นำ�้ หว้ ยฮอ่ งไคร้ ประหยดั เวลาและคา่ ใชจ้ า่ ย โดยมหี น่วยงานราชการต่างๆ ซง่ึ อยใู่ นเขตหมบู่ า้ นสหกรณท์ ่ี4ตำ� บลแมโ่ ปง่ อำ� เภอดอยสะเกด็ มารว่ มดำ� เนินการและใหบ้ ริการประชาชน ณ ทแ่ี ห่งเดยี ว ได้เสด็จเข้าพลับพลาเพ่ือทอดพระเนตรแผนท่ีแสดงงาน ดงั พระราชดำ� รสั ความตอนหนึ่งว่า โครงการหม่บู า้ นสหกรณส์ ันกำ� แพง และบริเวณโครงการ อ่างเก็บน้ำ� ห้วยฮ่องไคร้ ซง่ึ ส�ำนกั งานเร่งรดั พัฒนาชนบท “กรม กองตา่ งๆ ที่เก่ยี วขอ้ งกับชวี ิตประชาชน หรือ ร.พ.ช. ไดด้ ำ� เนนิ การกอ่ สร้างอา่ งเกบ็ นำ�้ ซงึ่ ค�ำนวณ ทกุ ดา้ น จะไดส้ ามารถแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ปรองดอง ว่าจะเก็บกักน้�ำได้ประมาณ 2 ล้านลูกบาศก์เมตร และ กัน ประสานกัน ตามธรรมดาแต่ละฝ่ายต้องมีศูนย์ จะสามารถส่งน�้ำให้พื้นที่โครงการเพาะปลูกได้ประมาณ ของตน แต่ว่าอาจจะมีงานถือว่าเป็นศูนย์ของตัวเอง 1,000 ไร่ ตลอดจนสามารถส่งน้�ำให้ราษฎรนอกเขต คนอน่ื ไมเ่ กย่ี วขอ้ ง และศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาเปน็ ศนู ยท์ ่ี โครงการไดด้ ว้ ย รวบรวมกำ�ลงั ทัง้ หมดของเจา้ หนา้ ทท่ี ุกกรม กอง ทั้ง ในดา้ นเกษตรหรือในด้านสงั คม ทั้งในดา้ นหางาน ซึ่ง แนวพระราชด�ำ ริ จะต้องใช้วิชาการทั้งหลายก็สามารถที่จะมาดู ส่วน เจ้าหน้าท่ีจะให้ความอนุเคราะห์แก่ประชาชนก็มา ในการเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ยคราวนน้ั พระบาทสมเดจ็ อย่พู รอ้ มกนั ในท่ีเดยี วกนั เหมอื นกัน ซึ่งเป็นสองดา้ น พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมพี ระราชดำ� รสั กบั คณะกรรมการโครงการฯ หมายถึงว่า ที่สำ�คัญปลายทางคือ ประชาชนจะได้ ว่า รับประโยชน์ และต้นทางของผู้เป็นเจ้าหน้าที่จะให้ “เนอ่ื งจากพนื้ ทโ่ี ครงการฯ มลี กั ษณะคอ่ นขา้ งแหง้ แลง้ ประโยชน”์ จงึ ควรท�ำการส�ำรวจล�ำหว้ ยต่างๆ ทสี่ ามารถจะกนั้ ฝาย เพ่อื น�ำน�้ำมาสนับสนุนอ่างเก็บน�้ำในโครงการฯ ตลอดจนส่ง นายจรญู ธาตุอินจันทร์ น�้ำไปใช้ในแปลงเพาะปลูกและทุ่งเล้ียงปศุสัตว์ โดยสร้าง บ่อพักนำ้� เปน็ ระยะๆ สำ� หรบั สำ� รองนำ้� ไว้จ่ายออกไปรอบ บ่อพักน้�ำ และยังเป็นวิธีการใช้น�้ำอย่างประหยัดอีกด้วย ส�ำหรบั พน้ื ที่ ทีไ่ มส่ ามารถจะใชป้ ระโยชน์ในทางเพาะปลกู ก็อาจปรบั ปรุงเป็นทุ่งหญ้าเลย้ี งปศุสัตว์” น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 84 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน - ธนั วาคม 2554 59

วนั ที่ 11 ธนั วาคม 2525 ไดพ้ ระราชทานพระราชดำ� ริ การขยายผลสปู่ ระชาชนอย่างยง่ั ยืน ให้จัดต้ังศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ ขึ้น โดยมี พระราชประสงค์ท่ีจะให้เป็นศูนย์กลางในการศึกษา เพ่ือ มกี ารน�ำผลการศกึ ษา ทดลอง วจิ ัย ทีป่ ระสบผล หารปู แบบการพฒั นาตา่ งๆ ในบรเิ วณพนื้ ทต่ี น้ นำ้� ทเี่ หมาะสม ส�ำเรจ็ ไปส่เู กษตรกรและประชาชนทั่วไป มีการด�ำเนนิ งาน และเผยแพรใ่ หร้ าษฎรนำ� ไปปฏิบตั ิตอ่ ไป ท่ีเป็นกระบวนการพัฒนาท่ีสอดคล้องกับความต้องการ การใช้น�้ำท่ีไหลมาจากยอดเขาลงสู่พ้ืนที่ตอนล่างให้ ของประชาชน และสามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการประกอบ ไดป้ ระโยชน์สงู สุด โดยการจดั ท�ำฝายต้นน้�ำ (Check Dam) อาชพี ของตนเองได้ และท�ำคูน้�ำระบบก้างปลาเพื่อรักษาและชะลอความชุ่มชื้น ของดินในฤดูแล้ง อนั อาจจะนำ� ประโยชนม์ าใช้ในการปลูก การบริหารจัดการท่ีดี ป่าไม้ และเป็นแนวปอ้ งกนั ไฟป่าเปยี ก (Wet Fire Break) ด้วยน้�ำท่ีไหลผ่านลงมาเบื้องล่างก็จะเก็บไว้ในอ่างเก็บน้�ำ มีการบริหารการพัฒนาที่เป็นระบบ แต่ละงาน เพ่ือน�ำประโยชน์ใช้สนบั สนนุ กิจกรรม การเพาะปลูก การ มีการพัฒนาที่เอื้ออ�ำนวยประโยชน์ต่อกัน เป็นการพัฒนา เลย้ี งสตั วแ์ ละการประมง แบบผสมผสานที่ทุกหน่วยงานเข้าร่วมกันพัฒนาในทุก สำ� หรบั การปลกู ปา่ ใหพ้ จิ ารณาปลกู ไมด้ งั้ เดมิ ทม่ี อี ยู่ ด้านในลักษณะสหวิทยาการและเป็นการบริหารงานแบบ แลว้ และไม้ชนดิ อน่ื ๆ ทจ่ี ะเป็นประโยชนท์ ง้ั ในการใช้สอย บรู ณาการเขา้ ร่วมกันในพน้ื ท่ีอยา่ งแท้จรงิ เป็นอาหารและเป็นเช้ือเพลิง โดยการปลูกสร้างเสริมป่า ประกอบกับการปรับปรุงพัฒนาไม้เดิมท่ีอยู่สันเขาเพื่อให้ การนำ�ไปสูว่ ถิ ีชวี ิตเศรษฐกจิ ที่พอเพียง เป็นแม่ไม้ในการโปรยเมล็ดพันธุ์ลงสู่พ้ืนดินเบื้องล่าง ซึ่ง จะทำ� ให้เกิดสภาพป่าทีห่ นาทบึ และสมบรู ณ์ขึน้ ได้ เน้นการพัฒนาให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ แบบพออยู่พอกิน มีรายไดท้ ี่แน่นอนจากการเกษตรมกี าร ปฏบิ ตั ิงานสนองพระราชด�ำ ริ ศึกษา และสุขภาพอนามยั แข็งแรง จนในทีส่ ดุ สามารถพ่ึง ตนเองได้บนพน้ื ฐานแห่งความพอเพียง กรมวชิ าการเกษตร โดยสำ� นกั วจิ ยั และพฒั นาการ เกษตรเขตท่ี 1 จังหวดั เชยี งใหม่ ไดเ้ ขา้ ไปดำ� เนินการเพอ่ื สนองพระราชด�ำริ ในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ ในดา้ นต่างๆ ดงั น้ี แหล่งเรยี นร้ดู า้ นการเกษตร มกี ารศกึ ษาทดลอง และสาธติ ใหเ้ หน็ ผลสำ� เรจ็ ของ การดำ� เนนิ งานพรอ้ มกนั ในทกุ ๆ ดา้ น ในลกั ษณะ “พพิ ธิ ภณั ฑ์ ธรรมชาตทิ ี่มชี วี ติ ” เพื่อให้ทกุ ภาคสว่ นราชการ องคก์ ร เอกชน และภาคประชาชนท่ีสนใจเข้ามาศึกษาและเรียนรู้ ไดด้ ้วยตนเอง 60 น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 84 ฉบับที่ 6 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2554

ขยายผล นายสทุ ศั น์ เข้าร่วมโครงการ เมื่อปี พ.ศ.2539 ในกจิ กรรม การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ ระยะเวลาทเ่ี ข้ารว่ ม นายสทุ ศั น์ หนวู งศค์ ำ� เปน็ หนง่ึ ในตวั อยา่ งเกษตรกร โครงการรวม 14 ปี มีรายได้จากการผลิตก้อนเชื้อเห็ด ผเู้ พาะเหด็ หอม และเหด็ หลนิ จอื บา้ นแมโ่ ปง่ ตำ� บลแมโ่ ปง่ และส่งผลผลิตเห็ดแปรรูป เพ่ือน�ำไปจ�ำหน่ายยังตลาดใน อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวดั เชยี งใหม่ มีจ�ำนวนทด่ี ิน ของ ตนเอง 3 งาน 80 ตารางวา และสามารถใชพ้ ้ืนท่ีที่มีอยู่ ท้องถนิ่ ดงั ตาราง อย่างจ�ำกัด เป็นพ้ืนท่ีอยู่อาศัยส่วนหน่ึง พื้นที่ส่วนท่ีเหลือ ท�ำเป็นโรงเพาะเห็ด ตารางท่ี 1 รายได้จากการร่วมกจิ กรรมเพาะเห็ด ของนายสทุ ัศน์ หนูวงศค์ ำ� จำ� แนกรายปี ปี รายได้จากการเพาะเหด็ (บาท) รายไดร้ วม หมายเหตุ (บาท) - 2539 เหด็ หอม (42,000 ) เหด็ นางรม (6,000) 48,000 - - 2540 เหด็ นางฟา้ (12,000) เหด็ ขอนขาว (28,000) 40,000 - - 2541 เหด็ หอม (32,000) เห็ดลม (23,000) 55,000 กู้เงิน 10,000 บาท - 2542 เหด็ หอม(30,000) เห็ดหลินจือ (25,000) 55,000 ขยายเพิ่ม 2 โรง หยุดพักท�ำเตานึ่งใหม่ 2543 เหด็ หอม (34,000) เห็ดหลนิ จอื (22,000) 56,000 - เห็ดเสีย 300 ก้อน 2544 เห็ดนางฟ้า (18,000) เห็ดหลินจอื (38,000) 56,000 - - 2545 เห็ดหอม(31,000) เห็ดหลนิ จือ(24,000) 55,000 - 2546 เห็ดหอม (34,000) เหด็ หลนิ จอื (10,000) เหด็ หวั ลงิ (21,000) 65,000 2547 เหด็ หลนิ จอื (38,000) 38,000 2548 เห็ดหอม (33,000) เหด็ หลินจือ(9,000) เห็ดหวั ลงิ (18,000) 60,000 2549 เห็ดหลินจอื (18,000) เห็ดหวั ลิง (22,000) 40,000 2550 เหด็ หลนิ จอื (20,000) เหด็ หวั ลิง (37,000) 57,000 2551 เห็ดหลินจอื (16,000) เหด็ หวั ลงิ (34,000) 50,000 2552 เหด็ หลนิ จอื (30,000) เห็ดหัวลิง (20,000) 50,000 นายสทุ ศั น์ หนวู งศค์ ำ� น.ส.พ. กสกิ ร ปีท่ี 84 ฉบบั ท่ี 6 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2554 61

นายจรญู ธาตอุ นิ จนั ทร์ เปน็ อกี หนง่ึ ตวั อยา่ งของ ที่ดินเป็นพื้นที่อยู่อาศัย จำ�นวน 0.25 ไร่ พื้นที่ขุดบ่อ เกษตรกรทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการฯ ซง่ึ มภี มู ลิ ำ�เนาอยบู่ า้ นเลขท่ี 62/3 เลี้ยงปลา จำ�นวน 0.25 ไร่ พื้นที่ปลูกผัก จำ�นวน 12.5 ไร่ หมทู่ ี่ 2 บา้ นป่าไมแ้ ดง ตำ�บลป่าปอ้ ง อำ�เภอดอยสะเก็ด เริ่มเข้าร่วมโครงการเมื่อปี พ.ศ. 2546 ในกิจกรรม ผัก จังหวัดเชยี งใหม่ มีท่ีดนิ ทำ�กนิ ของตนเอง 2.5 ไร่ ท่ีดินเช่า ปลอดสารพิษ ระยะเวลาทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ 7 ปี สามารถ 5 ไร่ ทด่ี ินดูแลให้คนอน่ื 6.5 ไร่ โดยแบง่ การใชป้ ระโยชน์ มอี าชีพเล้ียงตนเองและครอบครัวไดอ้ ย่างมน่ั คง ดังตาราง ตารางที่ 2 รายได้จากการรว่ มกิจกรรมผกั ปลอดสารพิษ ของ นายจรูญ ธาตุอินจนั ทร์ จ�ำแนกรายปี ปี รายไดจ้ ากการกิจกรรมการเกษตรผสมผสาน (บาท) รายได้รวม หมายเหตุ (บาท) - - 2546 มะเขือเทศ (30,000) พริก (40,000) บวบ (35,000) 160,000 - มะเขือยาว (25,000) ท�ำนา (30,000) - - 2547 มะเขอื เทศ (25,000) พริก(30,000) บวบ (40,000) 160,000 - มะเขอื ยาว (30,000) ท�ำนา (35,000) 2548 มะเขอื เทศ (30,000) พรกิ (35,000) บวบ (35,000) 170,000 มะเขอื ยาว (25,000) ทำ� นา (30,000) ไก่พืน้ เมือง(15,000) 2549 มะเขือเทศ (30,000) พรกิ (40,000) บวบ (38,000) 180,000 มะเขอื ยาว (32,000) ทำ� นา (28,000) แตงกวา (12,000) 2550 มะเขอื เทศ (40,000) พรกิ (45,000) บวบ (45,000) 220,000 มะเขอื ยาว (30,000) ทำ� นา (30,000) กะหล�่ำปลี (30,000) 2551 มะเขอื เทศ (44,500) พริก (50,000) บวบ (45,000) 250,000 มะเขือยาว (40,000) ท�ำนา (30,000) กะหล่ำ� ปลี (40,000) ไก่ (500) จากตวั อยา่ งของเกษตรทรี่ ว่ มโครงการทงั้ 2 รายนี้ แสดง นบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ลน้ เกลา้ ฯทพ่ี ระบาทสมเดจ็ ใหเ้ หน็ ว่า การบรกิ ารเบด็ เสรจ็ ที่จุดเดียว หรอื One Stop พระเจ้าอยู่หวั ทรงมีต่อพสกนิกร พระราชทานพระราชด�ำริ Service ตามแนวทางพระราชดำ� รินน้ั ท�ำใหเ้ กษตรกรได้ ทใ่ี ห้จดั ตั้งศูนย์ศกึ ษาการพฒั นา ทีร่ าษฎรสามารถจะเข้าไป เรยี นรู้ สามารถนำ� องคค์ วามร้ดู า้ นการเกษตรไปใชใ้ หเ้ กดิ เรียนรู้ได้อย่างครบวงจรและสามารถน�ำมาประกอบอาชีพ ศักยภาพ ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของทรพั ยากรธรรมชาติ เล้ียงครอบครวั ได้อยา่ งมนั่ คง และย่ังยนื และส่ิงแวดล้อม มคี วามเป็นอยูท่ ่ดี ขี ึน้ มที ่อี ยู่อาศยั ที่ท�ำกิน เป็นหลกั แหลง่ สามารถแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ทางดา้ นวชิ าการ เกษตร ขยายไปยังชุมชน กลุ่มเครือข่าย เกษตรกรตวั อย่าง สามารถพงึ่ พาตัวเอง สรา้ งเศรษฐกิจครอบครวั ชุมชน ให้ ยัง่ ยืนตอ่ ไป นายจรญู ธาตอุ นิ จนั ทร์ 62 น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 84 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2554

างทขอี่ภงพู พานอ่ บญุ เชดิ วิมลสุจรติ และกิตพิ ร เจริญสขุ พ้ืนท่ี 2,300 ไร่ ในเขตปรมิ ณฑลของศูนยศ์ ึกษาพฒั นาภพู าน ถูกก�ำหนดให้เป็นพื้นท่ีทจี่ ะใช้เป็นแหล่งศกึ ษา แหลง่ สาธติ การดำ� เนนิ งานดา้ นตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สภาพความเปน็ อยขู่ องชาวอสี าน นบั ตง้ั แตม่ พี ระราชดำ� รใิ หจ้ ดั ตง้ั ศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาภพู านอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จงั หวัดสกลนคร ในวนั ท่ี 25 พฤศจกิ ายน 2525 คณะทำ� งาน ได้ร่วมกันวางแผน และจดั สรรพ้นื ท่ีด�ำเนินงานตามความเหมาะสมกบั ภารกจิ ของแต่ละกจิ กรรม การศึกษาและพฒั นาทางด้านพืช มที ีมงานของกรมวิชาการเกษตรเป็นแกนน�ำ ช่วยกันหาพ้นื ทอี่ ยใู่ หพ้ ชื เศรษฐกิจ แตล่ ะชนดิ ครอบคลุมพ้ืนท่ีดำ� เนนิ การเกอื บ 200 ไร่ วาดหวงั ไวว้ า่ จะให้พ้นื ท่แี หง่ นเ้ี ป็นตกั ศลิ าแห่งการเกษตร ให้เป็นท่ี โจษจันกนั วา่ อสี านทแี่ ห้งแลง้ ดนิ ไร้สนิ้ ซงึ่ ความสมบูรณ์ กส็ ามารถทำ� การเกษตรไดด้ ีเชน่ กัน น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 84 ฉบบั ท่ี 6 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2554 63

เสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรกจิ กรรมยางพารา เมอ่ื 22 พ.ย. 2532 25 พฤศจิกายน 2527 ในขณะท่ีสายลมหนาวพัด นั่นเองท�ำให้พืน้ ทส่ี ว่ นหน่ึงของศนู ยฯ์ ภูพาน ได้ถูก ผา่ นเทอื กเขาภพู าน ในขณะที่แสงแดดอบอุ่นคอ่ ยๆ ลูบไล้ ปรบั มาเปน็ พน้ื ทสี่ ำ� หรบั ปลกู ยาง เปน็ ทด่ี อนทมี่ คี วามลาดชนั ตน้ ไมแ้ ละแผน่ ดนิ เชงิ ภพู านอยา่ งชา้ เชอื น และในขณะทแ่ี ต่ละ มีหว้ ยตาปาน ห้วยธรรมชาตขิ นาดเล็กไหลผา่ น สภาพดิน คนก�ำลังสาละวนอยกู่ บั พืชปลูกของตนเองอยนู่ น้ั ก็มีความ เปน็ ดินลกู รงั ทม่ี ีธาตุอาหารและอนิ ทรยี วัตถุในดินตํ่า และ เคลอ่ื นไหวหนึ่งเกิดขึ้นในพนื้ ที่ เมื่อขบวนเสด็จได้เคลือ่ น อยู่ในสภาพแวดล้อมที่นักวิชาการยางพาราพากันส่ายหัว มายังศูนย์ฯ ภพู าน และจดั ชนั้ ใหเ้ ปน็ ชน้ั แอล 4 ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ สภาพทไี่ มเ่ หมาะสม ในวันนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จ ต่อการปลกู ยาง พืน้ ทีส่ ่วนนีม้ ีทง้ั หมด 12 ไร่ พระราชดำ�เนนิ ไปยงั บรเิ วณทส่ี รา้ งอา่ งเกบ็ นา้ํ หว้ ยตาดไฮใหญ่ ส่วนอีกพื้นที่หน่ึงเป็นท่ีลุ่มอยู่ห่างจากพื้นท่ีแห่ง ทเ่ี ปรยี บเสมอื นเสน้ เลอื ดใหญท่ ห่ี ลอ่ เลย้ี งศนู ยฯ์ ภพู าน และ แรก 5 กิโลเมตร อยู่ในบริเวณท่เี รยี กวา่ ปา่ ภไู ม้รวก สภาพ หมู่บ้านรอบศูนย์ฯ ภูพาน จากนั้นได้เสด็จพระราชดำ�เนิน ดนิ เป็นดนิ ทรายเหมือนดินทัว่ ไปในภาคอสี าน มายงั บรเิ วณปรมิ ณฑลของศนู ยฯ์ ภพู าน ทา่ มกลางผตู้ ามเสดจ็ ฯ ในปี พ.ศ.2528 ท่เี นนิ ลูกรัง 12 ไร่นั้น ตน้ ยาง ทรงมพี ระราชดำ�รเิ กย่ี วกบั งานตา่ งๆ ของศนู ยฯ์ ภพู าน และ 1,250 ตน้ ก็มาปักธงอาณาจักรเลก็ ๆ ของตนเอง โดยมี ทรงตรัสถึงพืชหนึ่งที่ยังไม่เป็นท่ีรู้จักคุ้นเคยกับเกษตรกร การนำ� ยางพารา 3 สายพันธุ์ มาปลกู เปรยี บเทียบกัน มที ้ัง ในภาคอีสาน สายพันธ์ุ จที ี1, อาร์อารไ์ อเอ็ม 600 และพอี าร์ 255 โดย มีนักวิชาการฝีมือดีจากสถาบันวิจัยยางมาช่วยกันใช้ความรู้ “ใหพ้ จิ ารณาหาพน้ื ทท่ี ดลองการปลกู ยางซง่ึ ควร และประสบการณ์ของตน สร้างสวนยางพาราขึ้นที่เนินดิน อยใู่ นพื้นท่ปี า่ ท่ไี ม่ไปแย่งพน้ื ท่นี าโดยทดลองปลกู ท้ัง ลูกรงั นน้ั ในที่ลุ่มและที่ดอน เพื่อเปรียบเทียบดูว่าบริเวณใดจะ อกี 4 ปีต่อมา จากการทไ่ี ดร้ บั การดูแลรักษาเปน็ ให้ผลผลิตดกี วา่ กนั ” อย่างดี แม้จะอยใู่ นสภาพทไ่ี มเ่ หมาะสมตน้ ยาง 1,250 ตน้ ก็เจรญิ เตบิ โตจากดนิ ลูกรังมีความสูงเฉล่ีย 4 เมตร เป็นพืช พชื แซมยาง ทมี่ องเหน็ ดแู ปลกตาสำ� หรบั คนอสี าน ใครผา่ นไปมาบรเิ วณ นนั้ กอ็ ดถามไมไ่ ดว้ า่ ตน้ ไมท้ ขี่ น้ึ เรยี งรายอยบู่ นเนนิ ดนิ ลกู รงั เหล่าน้นั เปน็ พชื เผา่ พนั ธใุ์ ด รอยพระบาทบนสวนยาง ใครเลยจะคาดคิดว่าองค์พระประมุขของแผ่นดิน จะเสดจ็ ประทบั รอยพระบาทไวบ้ นแผน่ ดนิ น้ี เหลา่ ขา้ ราชการ ข้าราชบริพารที่ตามเสด็จฯ ก็ยังไม่คาดคิดว่าพระองค์จะ เสดจ็ พระราชดำ�เนนิ นำ�พวกเขาฝา่ พงหญา้ เขา้ สปู่ า่ แหง่ ภพู าน ผ่านฝายนํ้าล้นที่เป็นคานคอนกรีตที่แคบและลื่น ใครเลย 64 น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 84 ฉบับที่ 6 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2554

เสด็จฯ ทอดพระเนตรกจิ กรรมยางพารา เมื่อ 22 พ.ย. 2532 จะคาดคิดว่าพระองค์จะเสด็จฯ ด้วยสองพระบาทเข้ามาสู่ บรเิ วณทม่ี คี วามชน้ื สงู มปี รมิ าณนา้ํ ฝนมาก เชน่ ทจ่ี งั หวดั นครพนม และจังหวดั สกลนคร สว่ นในบรเิ วณอีสาน สวนยางที่ทรงมีพระราชดำ�ริให้ทดลองปลูกเมื่อ 5 ปีที่แล้ว ตอนใตน้ ัน้ เนื่องจากปรมิ าณนา้ํ ฝนนอ้ ย บางแห่งไมเ่ กิน 1,000 มิลลิเมตรตอ่ ปี ถา้ สง่ เสริมการปลกู ยางอาจจะ น่ันเป็นเหตกุ ารณป์ ระวัติศาสตร์ ทีพ่ ระบาทสมเดจ็ ไดผ้ ลไม่ดเี ทา่ ทค่ี วร” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความผูกพัน พระเจ้าอยหู่ วั เสด็จพระราชด�ำเนนิ มายงั ศนู ย์ฯ ภพู าน ใน กับปา่ มคี วามผกู พันกบั น้าํ เพราะสองสิ่งนค้ี อื แหลง่ กำ� เนิด วนั ท่ี 22 พฤศจิกายน 2532 ของสรรพส่ิง ทรงทราบดีว่า เม่ือมีป่าแล้วความชุ่มช้ืน หลังจากเสด็จฯ ทอดพระเนตรกิจกรรมระบบการ ความสมบรูณ์ก็จะตามมา ทรงรทราบดีว่าเม่ือมีนํ้าแล้วก็ ทำ� ฟารม์ แลว้ ทรงเสด็จพระราชด�ำเนนิ มายงั สวนยางพารา จะสามารถสร้างพื้นที่สีเขียวขึ้นมาได้ ในขณะที่ป่าไม้ของ ประเทศถกู ทำ� ลายอย่างมากมายดว้ ยนํ้ามือของมนุษย์ มอื ที่มีอายุ 4 ปนี น้ั นายประภาส ชูลกั ษณ์ ผู้อำ� นวยการ ของมนุษย์เองก็จะเป็นมือที่สร้างป่าขึ้นมา โดยธรรมชาติ สถานที ดลองพืชไร่ ไดก้ ราบบังคมทลู ฯ ถวาย รายงานใน ของยางพาราเปน็ พชื ทสี่ ามารถอยรู่ ว่ มกบั ปา่ และมสี ว่ นเรยี ก ส่วนของงานที่กรมวิชาการเกษตรได้ด�ำเนินการเกี่ยวกับ ความชุม่ ชน้ื ความสมบรู ณม์ าสปู่ ่าได้ ยางพาราท่ศี นู ยฯ์ ภพู าน ตัง้ แตป่ ี 2528 เม่ือเสด็จฯ มาถึงเนินลูกรังที่มีต้นยางอยู่เรียงราย ยางแซมปา่ เปน็ ชว่ งเวลาประมาณ 5 โมงเย็น ทแี่ สงแดดออ่ นๆ ได้ส่อง ผ่านลงมายังตน้ ยางเหล่าน้นั เกดิ เปน็ เงาเสน้ ยาวทาบลงบน พ้ืนท่ีป่าในบริเวณ 5 ไร่ ของภูพานจึงได้รับการ พน้ื ดนิ ดจุ ด่ังการค้อมลงรับเสดจ็ ฯ ของหมู่ตน้ ยาง ยามนนั้ ต้อนรับพืชต่างถิ่นอย่างยางพารานับต้ังแต่มีพระราชด�ำริ ทรงหยุดพระราชด�ำเนินหันพระพักตร์มายังผู้ตามเสด็จ ต้นยางพาราหลายร้อยต้นถูกน�ำมาปลูกแทรกในป่าแห่งนี้ ร่วม 30 คน และตรัสแกพ่ วกเขาว่า ดุจด่ังการนำ� สัตว์ปา่ มาปลอ่ ยคนื ถิน่ “การให้ปลูกยางพาราในศูนย์ศึกษาการพัฒนา ต้นยางเหล่านั้นจึงค่อยเจริญเติบโต เบียดเสียด ภูพานฯ นน้ั มีวัตถปุ ระสงคห์ ลักท่ีจะให้เป็นการปลกู หมไู่ ม้เจ้าของพื้นท่ีท่ีมีมากกว่า 30 ชนิด พืชท่ีมีมากท่ีสุด เสรมิ ปา่ ซ่งึ ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือนี้ สภาพปา่ ไม้ เหน็ จะเปน็ สะตอปา่ ท่มี ลี กั ษณะเหมือนสะตอทางภาคใต้ ถกู ทำ�ลายไปมาก จงึ ตอ้ งใหม้ กี ารปลกู ยางแซมในปา่ แต่เมล็ดจะมีกล่ินฉุนน้อยกว่า ชาวบ้านชอบท่ีจะน�ำเมล็ด มากกวา่ ท่ีจะปลูกเปน็ แถว เป็นแนว เพ่ือกรีดยางเปน็ มาจิ้มกินกบั แจ่ว ไมเ้ ตง็ ไม้เนือ้ แข็งทีพ่ บเห็นดาษด่ืนใน อาชพี เหมอื นอยา่ งภาคใต้ สว่ นการกรดี ยางเปน็ ผลพลอยได้ ป่าท่ัวไป ตน้ ก่อ ทส่ี ามารถเอาลูกของมนั มารบั ประทานได้ เนื่องจากยางที่ปลูกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาจ ตว้ิ ไมพ้ ุ่มขนาดเล็กทชี่ าวอีสานนยิ มน�ำใบออ่ นของมันมา กรดี นา้ํ ยางไดไ้ มม่ าก เนอ่ื งจากสภาพความชน้ื ไมเ่ หมาะสม รับประทานกับแจ่วและอาหารหลากหลายชนดิ และระยะเวลาที่กรีดยางได้ก็อาจจะน้อยกว่าทางภาคใต้ หลากหลายพันธุ์พืชยืนต้น อ้าแขนรับการมาอยู่ ดังนั้นจึงควรนำ�ต้นยางเข้าไปปลูกแซมในพื้นที่ป่าทั่วไป ร่วมของยางพารา ยางพาราต้นเลก็ ๆ ก็ค่อยๆ เติบโตขน้ึ มา ก็จะช่วยสร้างความชุ่มชื้นและถนอมป่าเก่าไว้ รวมทั้ง การสรา้ งปา่ เพ่มิ มากข้นึ ส่วนการส่งเสริมการปลกู ยาง ในพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือนั้นจะดำ�เนินการใน น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 84 ฉบบั ที่ 6 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2554 65

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ ทรงกรดี ยาง มีดกรีดยางชนิดดี ถูกลับอย่างประณีตบรรจงจนคมกริบ ดา้ มไม้ของมดี ถูกทาทบั ดว้ ยสีทองสดใส และนำ�ไปวางไว้ ภายใต้ร่มเงาของพชื เหลา่ นี้ ทำ� หน้าที่เป็นสว่ นหนึง่ ของปา่ บนพาน และเมื่อสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรม รกั ษาความชมุ่ ชนื้ ในปา่ รกั ษานเิ วศน์ของปา่ ภพู าน ต้นยาง ราชกุมารี เสด็จมายังต้นยางต้นน้นั ทรงหยิบมดี กรดี ยาง เหล่านี้ยังไม่ได้เปิดกรีดเอาน้�ำยางเหมือนยางพาราท่ีปลูก ขึ้นมาและใชพ้ ระหัตถล์ บู คมมดี เล่มนน้ั สรา้ งความตกใจ ในสวนทว่ั ไป แกผ่ ู้เฝ้ารบั เสด็จฯ ท่ีอยู่ ณ ทน่ี นั้ ด้วยเกรงวา่ คมมดี จะบาด ปจั จบุ นั กจิ กรรมปา่ ไมไ้ ดน้ ำ� ยางพาราไปปลกู ในปา่ ของ พระหัตถ์ นายเสมอ สมนาค ผู้อำ�นวยการศูนย์วิจัยยาง ศนู ย์ฯภพู าน ในพน้ื ท่กี วา่ 100 ไร่ มียางพารากว่า 6,000 ฉะเชงิ เทรา ถงึ กบั กราบทลู ฯ วา่ “มนั คมนะพทุ ธเจา้ คะ่ ” ต้น ขนึ้ ปะปนอยกู่ บั พนั ธุไ์ มป้ ่าอันหลากหลาย พระองคท์ รงแย้มพระสรวล มิไดต้ รสั อะไรแต่ทรง ในขณะเดยี วกนั ตน้ ยาง 1,250 ตน้ บนเนนิ ดนิ ลกู รงั ก็ ใช้มีดเล่มนั้นกรีดลงไปบนเปลือกยางเป็นทางยาวลงมา หยง่ั รากรลงไปในดนิ ทแี่ ขง็ และเหนยี วนนั้ เตบิ โตมาทา่ มกลาง และน้ํายางก็ค่อยๆ ไหลริน ความเอาใจใส่อย่างดีของเจ้าหน้าที่ พวกเขาน�ำพืชหลาย รอยทที่ รงกรีดไดบ้ นตน้ ยางตน้ นั้น ยงั คงปรากฏให้ ชนิดทั้งหวายและสมุนไพร ปลูกร่วมในแถวยาง เพอ่ื แสดง เหน็ เปน็ รอ่ งรอยเด่นชัดแมว้ า่ เวลาจะล่วงเลยมากวา่ 18 ปี ให้เห็นว่าภายใต้ร่มยางนั้นก็ยังมีพืชหลายชนิดสามารถ เป็นรอยกรีดรอยเดียวที่มีบนยางต้นนี้เป็นรอยแห่งความ อาศัยอย่รู ่วมด้วย โดยไม่มีผลกระทบตอ่ ตน้ ยางพารา ปิติ ทส่ี มเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ในบรรดาต้นยางพาราเหล่านั้นมียางพาราต้นหนึ่ง พระราชทานให้เหมือนด่ังจะให้ยางต้นนี้ เฝ้าดูต้นยางท้ัง ทเ่ี ตบิ โตมาพรอ้ มยางพาราทั้งหลายในพื้นที่ ตน้ ยางนเี้ ป็น หลายในพืน้ ท่ี ยางพาราพนั ธ์ุ จที ี 1 มลี กั ษณะรปู พรรณงดงามตรงตาม ต้นยางต้นน้ีเป็นต้นยางท่ีใหญ่และสมบรูณ์ที่สุดใน ลักษณะพันธุ์ มีเปลือกสีน�้ำตาลอ่อนไร้ต�ำหนิ ล�ำต้นเป็น พ้ืนท่ี ถึงแมใ้ นปี พ.ศ. 2540 จะมีพายแุ รงโหมกระหนํา่ เปลาระหงกลมกลึง เหยียดกายพุ่งสเู่ บอื้ งบนอย่างสง่างาม ท�ำให้ต้นไม้หลายต้นหักโค่นลง และท�ำให้ยางต้นน้ีฉีกหัก แตกกงิ่ ใบแผร่ ม่ เงาเหนอื ผนื ดนิ เปน็ ตน้ ยางทม่ี คี วามสมบรู ณ์ และแตกยอดใหม่เป็น 2 ยอด แตไ่ มท่ �ำให้ยางตน้ นเี้ สอื่ ม กว่าตน้ ยางใดในพน้ื ท่ี ราศลี งไปแม้แตน่ ้อย กลบั ยนื ต้นอย่างสง่างามบนชยั ภูมิท่ี ขณะน้นั ยางตน้ นี้มขี นาดลำ� ต้นกว่า 60 ซม. มคี วาม เหมาะสมอยา่ งยิง่ สมบูรณ์พร้อมที่จะเปิดกรีด นักวิชาการผู้เช่ียวชาญเก่ียว กับยางทั้งหลายกเ็ หน็ พอ้ งต้องกันวา่ ต้นยางทงี่ ดงามอยา่ ง ยางแซมปา่ นี้เหมาะสมแล้วทจ่ี ะให้ผู้มบี ารมีไดเ้ ปิดกรดี เพ่ือความเป็น ศิรมิ งคลแกส่ วนยาง ซึ่งในวันที่ 2 ธันวาคม 2537 สวนยางแห่งนี้ กลบั คกึ คกั ขน้ึ มาอกี ครง้ั เหลา่ ขา้ ราชการเจา้ หนา้ ทต่ี า่ งเตรยี ม พร้อมในการรับเสด็จฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี รอบๆ ยางตน้ นน้ั ไดร้ บั การตกแตง่ อยา่ งดี 66 น.ส.พ. กสิกร ปีที่ 84 ฉบบั ที่ 6 พฤศจกิ ายน - ธนั วาคม 2554

เกษตรกรฝึกอบรมการกรดี ยาง ณ กจิ กรรมยางพารา นายเสนีย์ หาญคำ� ภา กับแปลงยางทีเ่ ขาภาคภูมิใจ ตน้ ยางตน้ แรกของบา้ นลาดกะเฌอ เปน็ จดุ ทสี่ ามารถมองเห็นยางไดท้ ั้งสวน ท้ังต้นยาง ต้นยางทีส่ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรม ทงั้ หลายบนเนนิ ลกู รงั ตน้ ยางทงั้ หลายทอี่ ยบู่ นพน้ื ทดี่ า้ นหนา้ ราชกุมารี ทรงเปิดกรดี กไ็ ดร้ บั การตกแต่งรอบๆ โคนตน้ ของสวน และตน้ ยางทง้ั หลายทอ่ี ยตู่ รงฝง่ั ของลำ� หว้ ยตาปาน เปน็ อยา่ งดี มขี อ้ มูลท่เี ลา่ ถงึ การเสดจ็ ฯ มาที่จุดนี้ เพ่อื ให้ สวนยางแห่งนี้เป็นสวนยางที่ปลูกอย่างถูกต้องตาม ผมู้ าเยือนไดท้ ราบถึงความเป็นมา หลกั วิชาการ ปฏิบตั ิดูแลถกู ต้องตามหลักวิชาการ กรีดและ จึงมีผู้คนมากมายท้ังจากสกลนครและต่างจังหวัด แปรรูปยางแผ่นถูกต้องตามหลักวิชาการ เป็นสวนยางที่มี เดินทางมาศึกษาดูงานตลอดจนมาฝึกอบรมเรียนรู้การ องคค์ วามรคู้ รบถว้ นสมบรู ณท์ ส่ี ดุ ในสกลนคร ถงึ แมจ้ ะปลกู สร้างสวนยางแห่งนป้ี ีละหลายหมืน่ คน ในพื้นที่ไม่เหมาะสม แต่นักวิชาการกรมวิชาการเกษตร ก็ สามารถพสิ จู นใ์ หเ้ หน็ วา่ การจดั การทด่ี แี ละเหมาะสมกส็ ามารถ ศนู ย์เรียนรลู้ าดกะเฌอ ทำ�ใหย้ างเจรญิ เตบิ โตและใหผ้ ลผลติ ถงึ 209 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ เป็นผลผลิตที่สามารถทำ�ให้เกษตรกรกลายเป็นผู้มีอันจะ หนึง่ ในนั้นมี นายเสนีย์ หาญคำ� ภา หนุม่ ใหญแ่ หง่ กนิ ได้ใน พ.ศ.นี้ บา้ นลาดกะเฌอ สกลนคร ผ้เู คยใช้ชีวติ ชว่ งหน่งึ ไปทำ� งาน ส่วนยางท่ีปลกู ในป่าภูไม้รวก 15 ไร่ น้ัน เปน็ ยางที่ ทป่ี กั ษใ์ ต้ เคยเห็นและรจู้ ักกับตน้ ยางพาราที่น่ัน ในช่วั ชวี ิต เจริญเติบโตได้ดีกว่า เพราะอยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีดีกว่า น้ีไม่เคยคิดว่าพืชชนิดน้ีจะสามารถน�ำมาปลูกที่ภาคอีสาน จงึ สามารถไดผ้ ลผลติ ยางแผน่ ถงึ 250 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ได้ เขาจึงตืน่ เต้นดใี จปนกับความอศั จรรย์ใจท่ีเห็นตน้ ไม้ สวนยางทศ่ี นู ยฯ์ ภพู านจงึ เปน็ สวนยางทม่ี ปี ระวตั ศิ าสตร์ ชนดิ นีท้ สี่ กลนคร มคี วามคิดทจ่ี ะทดลองปลูกยางพาราใน มีเรื่องราวควบคกู่ ับศูนย์ฯ ภพู าน ในเวลาตอ่ มาเสน้ ทางท่ี พ้นื ทข่ี องตัวเองบา้ ง แตจ่ นใจทีไ่ มร่ จู้ ะหาพันธ์ยุ างทไ่ี หนมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ พวก ปลกู ที่สดุ ในปี พ.ศ.2536 เขาไดม้ าพบกบั สมมติ ร ทบั ทมิ เขากท็ ำ� เปน็ เสน้ ทางประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็ เสน้ ทางเลก็ ๆ ทป่ี ทู บั นักวิชาการของกรมวิชาการเกษตร หน่ึงในคณะท�ำงาน ดว้ ยดนิ ลูกรงั ทอดยาวไปตามเส้นทางเสดจ็ ฯ จากถนนเขา้ ของศูนย์ฯ ภูพาน ได้น�ำโครงการสนับสนุนพันธุ์ยางให้ ส่ปู า่ มาสสู่ วนยางและน�ำไปสู่ฝายนํ้าลน้ ท่เี ปน็ ภาพพระราช เกษตรกร แตไ่ มม่ เี กษตรกรรายไหนสนใจทจ่ี ะรว่ มโครงการ กรณียกิจท่ีคุ้นตาส�ำหรับทุกคน เพราะได้รับการเผยแพร่ เพราะไม่รู้ว่าจะปลูกพืชที่กินไม่ได้นี้เพ่ืออะไร แต่เสนีย์ ตามสื่อท่ัวไป เคยเห็นและรจู้ กั กบั ยางมาแลว้ จงึ ไมร่ รี อ ทจ่ี ะทำ� โครงการ รว่ มกบั ศนู ยฯ์ ภูพาน และเร่ิมปลูกยางพารา 480 ต้น ใน พ้ืนท่ี 5 ไร่ ของหมบู่ า้ นลาดกะเฌอ โดยกเู้ งนิ จาก ธกส. มา กอ้ นหน่ึงเพ่ือลงทุนในการปลกู ยาง น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 84 ฉบบั ท่ี 6 พฤศจกิ ายน - ธนั วาคม 2554 67

ลาดกะเฌอเป็น 1 ในจ�ำนวน 22 หม่บู ้านรอบศูนย์ฯ แปลงยางบ้านลาดกะเฌอของ นายเสนีย์ หาญค�ำภา ภพู าน ทป่ี ระชากรสว่ นใหญม่ อี าชพี เกษตรกรรม บรรพบรุ ษุ ดั้งเดิมอพยพมาจากเมืองลาวเข้ามาจับจองท�ำกินในพื้นท่ี หยดลงสู่ก้นถ้วยด้วยความดีใจ แต่สายตาของเพ่ือนบ้าน ตงั้ แต่ พ.ศ. 2450 ประชากรจะมีรายได้มาจากการขายของ หลายคมู่ องดูดว้ ยความฉงน และไม่เขา้ ใจวา่ หลงั จากนนั้ จะ ป่า และขายผลผลติ ทางการเกษตร มรี ายไดเ้ ฉลี่ย 35,252 จดั การอย่างไรกับน้ํายาง สีขาวนี้ บาทตอ่ คน เวลาตอ่ มา เมื่อแผ่นยางทยอยขนออกจากสวนไปสู่ เมอื่ กจิ กรรมยางพาราไดม้ าขยายอาณาเขตการปลกู มอื พ่อค้าแลกกบั เงินจำ� นวนหนึง่ ซงึ่ มากพอทจี่ ะท�ำใหเ้ สนยี ์ ยางรว่ มกบั นายเสนีย์ ท่ีลาดกะเฌอ ชาวบ้านผู้คนเดนิ ผ่าน ค่อยๆ ปลดหน้ีสนิ ท่มี อี ย่จู นสามารถใชห้ นี้สนิ หมด ในเวลา ไปมาได้เห็นการเปลี่ยนแปลงเล็กๆ ท่ีเกิดขึ้นในหมู่บ้าน ต่อมาเขาจึงมีเงินเหลือพอท่ีจะซ้ืออุปกรณ์ท�ำยางแผ่นเป็น ของพวกเขา เห็นและแอบดูการพัฒนาการของยางพารา ของตัวเองแทนทจ่ี ะยมื จากกจิ กรรมยางพารา มเี งนิ เหลือท่ี ในสวนของนายเสนีย์มาตลอด แรกๆ พวกเขามองดูด้วย จะซ้ือท่ีดินเพอ่ื ปลูกยางพาราเพมิ่ อกี จนปจั จบุ นั เขามพี ้ืนท่ี ความดูแคลนว่าไอ้พืชแปลกๆ ชนิดน้ี มันจะปลูกได้ดีใน ปลกู ยางพาราท้ังหมด 28 ไร่ หมูบ่ า้ นหรอื มันจะใหผ้ ลผลติ ไดห้ รือ และมันจะมีรายได้ เพ่ือนบ้านจึงหันมาให้ความสนใจ สวนยางของ พอเลีย้ งตัวได้หรอื นายเสนีย์อย่างจรงิ จงั เขา้ มาทักถามรายละเอยี ด ซ่ึงเสนีย์ เสนยี ไ์ มส่ นใจตอ่ สายตาและคำ�ถามเหลา่ นน้ั ตง้ั หนา้ เองไม่เคยปิดบังความรู้และประสพการณ์ท่ีได้เรียนรู้มา ต้ังตาดูแลแปลงยางตามคำ�แนะนำ�ของนักวิชาการศูนย์วิจัย ดีใจเสยี ดว้ ยซ้ําท่ีเพื่อนบ้านจะหันมาปลูกยางแทนการปลูก ยางฉะเชงิ เทราทเ่ี ขา้ มาเยย่ี มบอ่ ยๆ และเขา้ ไปศกึ ษาหาความ มันส�ำปะหลัง หมู่บ้านจะได้มีรายได้เข้ามาช่วยพัฒนาให้ รู้เพ่ิมและฝกึ อบรมหลกั สตู ร ท่ีจดั ขน้ึ ในกจิ กรรมยางพารา ลาดกะเฌอเป็นหม่บู ้านที่มกี ารพัฒนากว่าปจั จุบนั ของศูนย์ฯ ภูพาน ทั้งการปลูกสร้างสวนยาง การกรีดยาง เมื่อศูนย์ฯ ภพู าน ไดเ้ ปลีย่ นรปู แบบการขยายผล การทำ�ยางแผ่น หรือแม้แต่การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จาก โดยก�ำหนดให้มีศูนย์เรียนรู้ในหมู่บ้านรอบศูนย์ เพื่อเป็น ยางพารา แหล่งศึกษาดูงานของเพื่อนบ้านและผู้สนใจท่ัวไป โดยท่ี ในปี พ.ศ. 2544 ยางต้นแรกของสวนเติบโตพอที่ ไม่ตอ้ งเสยี เวลาไปดงู านทศี่ นู ยฯ์ ภพู าน เสนยี ์ กไ็ ดร้ บั การคดั จะเปดิ กรีดได้ เพ่ือนบ้านหลายคนเขา้ มาดดู ว้ ยความสนใจ เลอื กให้เป็นหัวหน้าศูนย์เรียนรู้ลาดกะเฌอโดยมีกิจกรรม ในขณะท่ีเจ้าของสวนมองดูสายน้ํายางสายแรกท่ีรินไหล ทีโ่ ดดเด่นคือ การปลกู ยางพารา หนา้ ทขี่ องหวั หนา้ เสนยี ์ นอกจากจะชว่ ยศนู ยฯ์ ภพู าน แปลงศกึ ษาพันธ์ุยาง ศูนยฯ์ ภพู าน ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์แก่สมาชิกด้วยกระบวนการ ฝกึ อบรมและการเสวนาแลว้ เสนยี ย์ งั ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ผปู้ ระสานงาน 68 น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 84 ฉบับที่ 6 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2554

ที่แสดงให้เห็นถึงความห่วงใยของท้ังสองพระองค์ที่ทรงมี ตอ่ เกษตรกรอสี าน เส้นทางท่ีทั้งสองพระองค์เสด็จพระราชด�ำเนิน จึง เป็นเส้นทางแห่งการพัฒนาและการเรียนรู้ยางพาราของ จังหวัดสกลนคร และเสน้ ทางน้ีคอ่ ยๆ ขยายไปสเู่ กษตรกร ไปสูห่ ม่บู ้าน และไปสู่พนื้ ท่ีต่างๆ ในภาคอีสาน จนปัจจบุ ัน ยางพารามิใชพ่ ชื ท่แี ปลกสำ� หรับคนอีสานอกี ตอ่ ไป สีเขียวของยางพาราแผ่ขยายคลุมไปทั่วแดนอีสาน สรา้ งความชมุ่ ชน้ื ใหแ้ กแ่ ผน่ ดนิ นำ้� ยางทร่ี นิ ไหลจากตน้ ยาง เหล่านั้น ช่วยสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร สร้างอาชีพที่ มั่นคงในพื้นท่ี ท�ำให้คนอีสานหลายคนหวนคืนกลับสู่ถ่ิน มิต้องเคลื่อนย้ายไปสู่ที่ไหนอีก จากพระมหากรุณาธิคุณ และความห่วงใยทท่ี รงมตี อ่ คนอีสาน จงึ ไม่มีถอ้ ยค�ำใดท่ี เกษตรกรผปู้ ลูกยางพาราจะกลา่ วนอกจากค�ำว่า “ น้ําพระทยั ไหลหล่งั ดจุ นาํ้ ยางท่ีไหลรนิ ” ระหว่างสมาชกิ กับศูนย์ฯ ภูพาน และทำ� ให้เกิดกระบวนการ พัฒนาทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ ปจั จุบนั ศูนยเ์ รียนรู้ลาดกะเฌอน้มี ี สมาชกิ ผ้ปู ลูกยางทั้งหมด 54 ราย ปัจจุบันเสนีย์กลายเป็นปราชญ์ชาวบ้าน ผู้มีความ เช่ียวชาญเรื่องยางพาราในทกุ กระบวนทา่ มีรายได้จากการ ปลูกยางปลี ะประมาณ 500,000 บาท เป็นรายไดท้ ่สี ูงกวา่ ชาวบา้ นรายอน่ื ในหมบู่ า้ นหลายเทา่ ตวั จงึ ถอื วา่ เปน็ ผปู้ ระสบ ความส�ำเร็จในอาชีพการเกษตร จากจุดเริ่มต้นท่ีสวนยาง ของศนู ย์ฯ ภพู าน เขาพูดถงึ เรื่องน้ีวา่ “ถา้ ไมม่ ศี นู ยฯ์ ภพู าน ถา้ ในหลวงไมไ่ ดต้ ง้ั ศนู ยฯ์ ภพู าน ชวี ติ ผมคงไมม่ คี วามเปน็ อยทู่ ด่ี แี บบน้ี พอ่ หลวง ให้ชีวิตใหม่แก่ผม ทำ�ให้ครอบครัวผมมีความเป็น อยู่ที่ดีขึ้น ขอให้พระองค์หายจากการประชวรและมี พระชนมายุยืนนาน ขอใหพ้ ระองค์ทรงพระเจรญิ ” จากพระราชดำ� รขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ที่ ทรงมอบใหแ้ กค่ ณะทำ� งาน จากรอยพระบาททท่ี รงประทบั ไว้ในสวนยางที่ศนู ย์ฯ ภพู าน จากพระเสโททห่ี ยดลงบน เนนิ ลกู รงั และจากรอยกรดี ทสี่ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานไว้ท่ีตน้ ยางต้นนน้ั เปน็ ส่ิง น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 84 ฉบับท่ี 6 พฤศจกิ ายน - ธนั วาคม 2554 69

ปั จ จั ย ก า ร ผ ลิ ต ารฟ้นื ฟทู ่ีดินเสื่อมโทรม เขาชะงมุ้ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ ประสงค์ วงศช์ นะภัย โครงการศกึ ษาวธิ กี ารฟน้ื ฟทู ดี่ นิ เสอ่ื มโทรมเขาชะงมุ้ เปน็ โครงการทกี่ ระทรวงเกษตรและสหกรณไ์ ดจ้ ดั ทำ� ขน้ึ เพอื่ เปน็ การ เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสทท่ี รงเจรญิ พระชนมพรรษา 60 พรรษา และพระราชพิธี รชั มงั คลาภเิ ษก พน้ื ทท่ี ่ใี ช้จัดทำ� โครงการฯ นนั้ พลตำ� รวจตรีทักษ์ ปัทมสงิ ห์ ณ อยธุ ยา ได้น้อมเกลา้ ฯ ถวายทดี่ ินบริเวณตำ� บลเขา ชะง้มุ อำ� เภอโพธาราม จงั หวดั ราชบรุ ี เน้ือทปี่ ระมาณ 694 ไร่ 2 งาน 38 ตารางวา ต่อมาราษฎรไดน้ อ้ มเกลา้ ฯ ถวายเพ่ิม อกี 63 ไร่ 1 งาน 03 ตารางวา และมที ี่ดนิ ของมลู นิธชิ ยั พฒั นา 91 ไร่ 3 งาน 81 ตารางวา ปัจจบุ นั โครงการฯ เขาชะงุ้มจงึ มีพืน้ ทโ่ี ครงการฯ ท้งั หมด 849 ไร่ 3 งาน 22 ตารางวา มพี ้ืนท่หี มู่บา้ นรอบโครงการฯ 12 หมู่บา้ นประมาณ 51,187 ไร่ 70 น.ส.พ. กสิกร ปีที่ 84 ฉบับที่ 6 พฤศจกิ ายน - ธนั วาคม 2554

พระราชด�ำ ริ 2. ให้ชว่ ยดแู ลรักษาปา่ อยา่ ไปรังแกปา่ ถา้ ปลอ่ ย ทิ้งไว้ไมใ่ หใ้ ครรบกวนระยะเวลา 30-40 ปี ป่าแห่งนจ้ี ะฟ้นื พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชด�ำริ คนื สภาพจากปา่ เตง็ รังเป็นป่าเบญจพรรณ เมื่อวันท่ี 4 มกราคม 2528 ว่า “แนวทางการฟ้นื ฟูทีด่ นิ 3. ให้เลย้ี งสัตว์ปา่ และท�ำเป็นอุทยานเขาเขยี ว เส่ือมโทรมเขาชะงุ้มในการพัฒนาแหล่งน้�ำ เป็นที่ 4. ให้ส�ำรวจปา่ แหง่ นว้ี ่ามชี นิดพรรณไม้และสัตว์ป่า ปลูกไม้ยืนต้นมีความชุ่มชื้น ร่มเย็นและสวยงามตาม อะไรบา้ ง ธรรมชาต”ิ โครงการศกึ ษาวธิ กี ารฟน้ื ฟทู ด่ี นิ เสอื่ มโทรมเขาชะงมุ้ วันท่ี 25 มกราคม 2528 ได้พระราชทานแนวพระ มีวัตถุประสงคด์ งั น้ี ราชดำ� รอิ กี ครงั้ วา่ “การปลกู ปา่ ในเขตพนื้ ทโ่ี ครงการฯ ให้ (1) เพ่ือสนองพระราชด�ำริพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ทำ� การปลกู ต้นไม้ต่างๆ แบบไม่เป็นระเบียบ เพือ่ จะ (2) เพื่อเป็นศูนย์ศึกษาวิจัยและสาธิตทดสอบวิธี ได้มีลักษณะป่าท่ีเป็นธรรมชาติโดยแท้จริง การปลูก การฟื้นฟูท่ีดินเส่ือมโทรมให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่าง ตน้ ไมใ้ ห้พจิ ารณาปลูกเป็นกล่มุ โดยมีตน้ ไมโ้ ตเร็วล้อม มปี ระสิทธิภาพ เพื่อเป็นรูปแบบและส่งเสริมอาชีพให้แก่ ดว้ ยต้นไมโ้ ตช้า ตามความเหมาะสม” เกษตรกร วนั ที่ 12 กันยายน 2528 ทรงมีพระราชดำ� ริวา่ (3) เพื่อการพัฒนาแหล่งน้�ำในเขตพ้ืนที่โครงการ “บริเวณท่ีดินดี เนอ้ื ที่ประมาณ 50 ไร่ ทางทศิ ใต้ของ ให้เพียงพอกับการอปุ โภคบรโิ ภคและการเกษตร พืน้ ทใี่ ห้ปลูกพชื เศรษฐกิจ เชน่ พืชไร่ ใหเ้ ป็นการสาธติ (4) เพอ่ื อนรุ ักษท์ รพั ยากรดนิ นํ้า และป่า ใหค้ ง ตวั อยา่ งการปลูกพชื ใหแ้ ก่ราษฎร” ความอุดมสมบรู ณ์ตามธรรมชาตอิ ย่างย่งั ยนื ในวันที่ 26 พฤศจกิ ายน 2529 พระบาทสมเด็จ (5) เพื่อเป็นแหล่งศึกษาดูงานของเกษตรกรและ พระเจ้าอยู่หัว ไดเ้ สดจ็ พระราชด�ำเนินเย่ียมโครงการศึกษา ผทู้ ี่สนใจ วิธีการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้มอันเนื่องมาจาก ทงั้ นม้ี ีหน่วยงานท่เี ข้าไปรบั ผิดชอบด�ำเนินงาน 11 พระราชดำ� ริ จงั หวดั ราชบรุ ี ทรงมพี ระราชดำ� รกิ บั นายสมาน หนว่ ยงาน คอื กรมพฒั นาทด่ี นิ กรมประมง สำ� นกั งาน กปร. รมิ วานชิ อธิบดกี รมพฒั นาท่ดี ิน ความวา่ กรมอทุ ยานแหง่ ชาตสิ ตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื กรมวชิ าการเกษตร “ใหด้ ำ� เนนิ การศกึ ษาหาวธิ กี ารปรบั ปรงุ ดนิ ทเ่ี สอื่ มโทรม องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลเขาชะงมุ้ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ให้สามารถใช้ประโยชน์ ในการเพาะปลูกได้ โดยทำ� การ ส�ำนกั งานจงั หวดั ราชบรุ ี และกรมปศุสตั ว์ ทดสอบวางแผนและจดั ระบบปลกู พชื ทเี่ หมาะสมกบั สภาพ พนื้ ทใี่ นลกั ษณะศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาขนาดยอ่ ม” มะม่วง วันท่ี 8 มิถนุ ายน 2535 ไดพ้ ระราชทานพระราชดำ� ริ วา่ “ใหใ้ ชห้ ญา้ แฝกมาชว่ ยในการปอ้ งกนั การชะลา้ งพังทลาย น้อยหนา่ มะละกอแขกด�ำ ของหน้าดิน การใช้หญ้าแฝกเพ่ือการอนุรักษ์ดนิ และ นาํ้ ปอ้ งกนั ดนิ ทถี่ กู กดั เซาะเปน็ รอ่ งลกึ การปลกู หญา้ แฝก เป็นแนวแทนคันดิน” วนั ที่ 15 กรกฎาคม 2539 ทรงมีพระราชด�ำรเิ ก่ยี ว กับโครงการฯ เพิ่มเติมว่า 1. การปลูกหญา้ แฝกเพ่อื รกั ษาความช่มุ ช้นื ในดนิ ใหแ้ ก่ไมผ้ ลและไม้ยืนต้น โดยปลกู ในลกั ษณะเปน็ แนวครึ่ง วงกลม เพ่อี ชว่ ยให้หญา้ แฝกไดท้ �ำหนา้ ทรี่ กั ษาความชุ่มชืน้ ในดนิ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 84 ฉบบั ที่ 6 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2554 71

กรมวชิ าการเกษตรสนองพระราชด�ำ ริ ผลการด�ำเนนิ งานในระยะเวลาทผ่ี า่ นมา มีดงั น้ี กรมวชิ าการเกษตร เรม่ิ ดำ� เนนิ โครงการเมอื่ ปี 2539 แปลงตน้ แบบระบบการปลกู พชื แบบผสมผสาน โดยสถานีทดลองข้าวราชบุรี ซ่ึงต่อมาได้เปล่ียนเป็นศูนย์ วิจัยข้าวราชบุรี ด�ำเนินการทดสอบฟื้นฟูดินเสื่อมโทรม มกี ารตัดแต่งทรงพุ่มของไม้ผล ได้แก่ มะขามเปรย้ี ว เพื่อพฒั นาระบบการปลกู พชื โดยมโี ครงการและกจิ กรรม (ตดั ตน้ เวน้ ตน้ ) เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ การบงั รม่ เงาซง่ึ สง่ ผลใหม้ ะขาม ต่างๆ ได้แก่ ศึกษาทดสอบหาความเจริญเติบโตและการ เปรย้ี วสามารถใหผ้ ลผลติ ไดจ้ ากเดมิ ทม่ี แี ตใ่ บไมใ่ หผ้ ลผลติ เพ่มิ ผลผลติ ของมะขามเปรี้ยว ศึกษาทดสอบแปลงระบบ ตัดแตง่ ทรงพ่มุ สม้ โอ ป้องกันกำ�จัดศตั รูพชื ไดแ้ ก่ หนอน การปลูกพืชแบบผสมผสาน และศึกษาวธิ กี ารฟ้ืนฟดู ินเพ่ือ ชอนใบ โรคแคงเกอร์ โดยใช้สารเคมีร่วมกบั สารชีวถณั ฑ์ การเกษตร ไดแ้ ก่ B.T. ไวทอ์ อยล์ คอปเปอรอ์ อกซคิ ลอไรด์ ตดั แตง่ ทรง ตอ่ มาในปี 2552 ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ โครงสรา้ งภายใน พมุ่ มะมว่ ง นอ้ ยหนา่ ปลกู กลว้ ยไข่ มะนาวในวงบ่อซีเมนต์ ของกรมวชิ าการเกษตร โดยมกี ารต้ังศนู ย์ บริการวิชาการ ไมต้ ดั ดอก เชน่ ดาหลา (บรเิ วณรม่ เงา) เฮรโิ กเนยี ปกั ษาสวรรค์ ดา้ นพชื และปจั จยั การผลติ จงั หวดั ราชบรุ ี(ปจั จบุ นั คอื ศนู ย์วิจัย ซึ่งพชื ที่ปลูกทดแทนพชื เดมิ (นนุ่ มะเฟือง แคฝรงั่ ) เหล่านี้ และพัฒนาการเกษตรราชบุรี) ขึ้นมาดูแลรบั ผดิ ชอบ สามารถเจริญเติบโตได้ดี และเป็นทางเลือกใหม่ให้แก่ โครงการฯ แทนศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วราชบรุ ี ทโ่ี อนไปสงั กดั กรมการขา้ ว เกษตรกรนอกเหนอื จากเปน็ การปลกู ปา่ แลว้ ยงั สามารถทำ� ดงั นน้ั ในชว่ งปี 2552-2554 จงึ ไดม้ กี ารปรบั เปลย่ี นกจิ กรรม รายได้ใหแ้ กเ่ กษตรกรอกี ด้วย ท่ีดำ�เนินการให้มีความสอดคล้องกับอาชีพของเกษตรกร ในพื้นที่รอบโครงการฯ เพื่อขยายผลไปสู่เกษตรกรต่อไป แปลงต้นแบบการปลกู พชื ไร่พนั ธ์ดุ ี ในอนาคต ประกอบดว้ ย กิจกรรมแปลงต้นแบบระบบการปลูกพืชแบบ ได้มีการนำ�พืชไร่พันธ์ุดีของกรมวิชาการเกษตรมา ผสมผสาน ศึกษาในพ้นื ทโ่ี ครงการฯ ได้แก่ ขา้ วโพดเล้ียงสตั วพ์ ันธุ์ กจิ กรรมแปลงตน้ แบบการปลกู พชื ไร่พันธุด์ ี ลูกผสมนครสวรรค์ 3 ถั่วเขียวผิวดำ�พันธุ์ชัยนาท 80 กิจกรรมแปลงต้นแบบการปลูกมะละกอพันธุ์ ถว่ั เขยี วผวิ มันพันธช์ุ ยั นาท 36 และพนั ธุ์ชยั นาท 72 อ้อย แขกด�ำศรษี ะเกษ คน้ั นา้ํ พนั ธสุ์ พุ รรณบุรี 50 อ้อยโรงงานพันธข์ุ อนแก่น 3 กิจกรรมแปลงต้นแบบปลูกมะนาวนอกฤดูใน และพนั ธอุ์ ูท่ อง 10 ซ่ึงพืชไร่ทุกพันธ์ทุ น่ี ำ�มาปลูกทดสอบ วงบอ่ ซีเมนต์ ในพน้ื ทม่ี ีการเจรญิ เตบิ โตและให้ผลผลิตไดด้ ี เช่น ข้าวโพด ลกู ผสมพนั ธน์ุ ครสวรรค์ 3 ใหผ้ ลผลติ ทง้ั ฝกั 2,320 กก./ไร่ ถั่วเขียวผิวดำ�พันธุ์ชัยนาท 80 ให้ผลผลิต 160 กก./ไร่ ถั่วเขียวผิวมนั พนั ธ์ชุ ยั นาท 36 ให้ผลผลิต 132 กก./ไร่ พนั ธุช์ ัยนาท 72 ใหผ้ ลผลติ 136 กก./ไร่ ออ้ ยพันธุ์ สพุ รรณบรุ ี 50 ได้ผลผลติ 13,080 กก./ไร่ ออ้ ยพนั ธ์ุ ขอนแก่น3 ไดผ้ ลผลิต 13,250 กก./ไร่ และพนั ธ์อุ ู่ทอง 10 ไดผ้ ลผลติ 13,800 กก./ไร่ 72 น.ส.พ. กสกิ ร ปที ี่ 84 ฉบบั ท่ี 6 พฤศจิกายน - ธนั วาคม 2554

แปลงต้นแบบการปลูกมะละกอพันธแ์ุ ขกดำ�ศรีสะเกษ แปลงตน้ แบบการปลกู มะนาวนอกฤดใู นวงบอ่ ซเี มนต์ สามารถเจริญเติบโตและสามารถให้ผลผลิตได้ดี ไดด้ ำ� เนนิ การปลกู มะนาวในวงบอ่ ซเี มนต์ ในปี 2553 ไมพ่ บอาการของโรคใบจดุ วงแหวน ในปี 2553 ประสบ ขณะนีอ้ ย่ใู นระหว่างการเจริญเติบโต ไดท้ �ำการดูแลรักษา ปญั หาเร่อื งฝนตกหนัก ลมแรง ทำ�ให้ต้นลม้ ผลผลติ สว่ น ป้องกันก�ำจัดศัตรูพืช โดยเน้นการตัดแต่งใบและกิ่งที่ หนึ่งไดร้ บั ความเสยี หาย สามารถเก็บผลผลติ ได้ 56 กก. ถูกท�ำลายจากการด�ำเนินงานโครงการของหน่วยงานต่างๆ (พน้ื ทป่ี ลกู ประมาณ 1.5 ไร)่ และไดแ้ กป้ ญั หาตน้ ลม้ โดย ต้ังแตเ่ รม่ิ ต้นจนถึงปัจจุบัน พบวา่ ไดม้ กี ารเปลี่ยนแปลง การค้ําต้น คาดว่าจะเปน็ พชื ท่สี ามารถเผยแผส่ ู่เกษตรกรได้ ของทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่พื้นที่ป่าไม้ ปริมาณและ อีกชนิดหนง่ึ ชนิดของสัตว์ป่าเพิ่มข้ึน ซึ่งจากการศึกษาส�ำรวจของกรม อทุ ยานแหง่ ชาตสิ ตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื พบวา่ มปี รมิ าณสตั วป์ า่ เพม่ิ ขึน้ ดังรายละเอยี ดในตาราง ประเภท ปี 2548 ปี 2553 เพมิ่ ขึ้น สัตวเ์ ลยี้ งลกู ด้วยนม วงศ์ ชนิด วงศ์ ชนดิ วงศ์ ชนิด นก 45 15 30 11 15 32 60 50 163 18 103 สตั ว์เลอ้ื ยคลาน 27 14 52 12 45 สัตวส์ ะเทินนํ้าสะเทินบก 22 4 15 2 13 ในปจั จบุ นั โครงการศกึ ษาวธิ กี ารฟน้ื ฟทู ด่ี นิ เสอื่ มโทรม เขาชะงุ้มอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ ได้กลายเป็นแหล่ง ศกึ ษาดูงาน และแหลง่ ท่องเทีย่ วเชงิ นเิ วศเกษตร และ ศกึ ษาธรรมชาตทิ สี่ ำ� คญั แหง่ หนง่ึ ของจงั หวดั ราชบรุ ี โดยไดม้ ี ปรมิ าณผู้มาศกึ ษาดงู านในปี 2553 จำ� นวนทั้งสนิ้ 33,575 ราย และมีแนวโน้มเพ่มิ ขน้ึ ทกุ ปี ปลกู กล้วยสลบั มะนาว ถว่ั เขียว ข้าวโพด มะนาวในวงบ่อซเี มนต์ น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 84 ฉบบั ท่ี 6 พฤศจิกายน - ธนั วาคม 2554 73

“ช่ังหัวมัน”ปั จ จั ย ก า ร ผ ลิ ต โครงการพชิ ติ ความแหง้ แลง้ ตามพระราชด�ำ ริ ศนู ยว์ จิ ัยและพัฒนาการเกษตรเพชรบุรี จากปา่ ยูคาลปิ ตสั รกร้าง มะนาวแป้นยืนตน้ แห้งเหี่ยว ไรค้ นดูแล เพราะอ่างเก็บน�ำ้ หนองเสือแห้งขอดมาแรมปี ทำ� ให้ ชาวบ้านในพ้นื ท่ี หม่ทู ี่ 5 บ้านหนองคอไก่ ต�ำบลเขากระปกุ อ�ำเภอทา่ ยาง จงั หวัดเพชรบรุ ี ตอ้ งกุมขมับเกอื บทุกคร้งั เมื่อฤดูแล้งมาถงึ แล้ววันหนึ่งผนื ดินแหง้ แล้งก็ถูกพลกิ ฟนื้ ดว้ ยน�ำ้ พระราชหฤทัยจากพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั เมื่อทรงมีพระราช ประสงค์ซ้ือทบี่ รเิ วณดงั กล่าว 250 ไร่ ดว้ ยพระราชทรัพย์สว่ นพระองค์ เพือ่ ดำ� เนนิ “โครงการช่ังหวั มนั ตามพระราชด�ำร”ิ ในเดอื นมิถนุ ายน 2552 74 น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 84 ฉบบั ที่ 6 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2554

ที่มาของช่อื “ช่ังหัวมนั ” พระราชด�ำ ริ ดว้ ยเมอ่ื ครง้ั ท่ี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ประทบั ดงั ทกี่ ลา่ วแลว้ วา่ ในการปลกู พชื ในโครงการชงั่ หวั มนั ทวี่ งั ไกลกงั วล ทรงมพี ระราชประสงคใ์ หน้ ำ� มนั เทศ ทชี่ าวบา้ นนำ� มาถวาย วางไวบ้ นตาชงั่ แบบโบราณ กอ่ นเสดจ็ ฯ กลบั กรุงเทพฯ นี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ทรงเนน้ การผลิตพืชแบบ คร้ันเมื่อเสด็จฯ กลับมาประทับที่วังไกลกังวล จึงพบวา่ มนั เทศทวี่ างไวบ้ นตาชง่ั มใี บงอกออกมาพระเจา้ อยหู่ วั จงึ รบั สง่ั ให้ เกษตรอนิ ทรีย์เพือ่ เปน็ ตวั อยา่ งแก่ชาวบ้าน เดิมชาวบา้ นใช้ นำ� หวั มนั ต้นนั้นไปแยกกระถางปลกู ไวใ้ นวงั ไกลกังวล แลว้ ทรงมพี ระราชดำ� รสั ใหห้ าพ้นื ทเ่ี พอ่ื ทดลองปลกู มนั เทศ สารเคมี แต่พอมาดูในไร่ของพระเจ้าอยู่หัวแล้ว จงึ เหน็ การ ในพื้นทีโ่ ครงการ มหี น่วยงานราชการตา่ งๆ เขา้ ไป ดำ� เนนิ การ ไดแ้ ก่ กรมวชิ าการเกษตร กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ทำ� เกษตรอินทรีย์ และการใหน้ �ำ้ แบบระบบนา้ํ หยด ทำ� ให้ กรมชลประทาน และกรมพฒั นาทดี่ นิ ในเบอื้ งตน้ ทางสำ� นกั พระราชวงั ไดส้ ง่ รองราชเลขาธกิ าร เขา้ มาบรหิ ารจดั การ โดย เรม่ิ ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมนำ� แนวทางการปลกู พชื ในโครงการ ได้ปลกู มันเทศ หน่อไมฝ้ ร่ัง พชื ผัก ไดแ้ ก่ โหระพา กะเพรา แมงลกั พริก มะเขอื ดแู ลรักษามะนาวแปลงเดมิ และปรับ ไปทำ� บา้ ง พืน้ ท่เี พ่อื รองรับการปลูกสับปะรด ยางพารา และยางนา เป้าหมายของโครงการนี้ เพอื่ ต้องการใหท้ ด่ี ินสว่ น ในอนาคตเมอื่ การทดลองตา่ งๆ ทไี่ ดจ้ ากนกั วชิ าการ พระองคแ์ หง่ นเี้ ปน็ ศนู ยร์ วมพชื เศรษฐกจิ ของอำ� เภอทา่ ยาง จังหวัดเพชรบุรี โดยเลอื กพันธุ์พืชท้องถนิ่ ท่ีดีทสี่ ดุ น�ำเข้าไป และชาวบา้ นประสบความสำ� เรจ็ ในไรพ่ ระเจา้ อยหู่ วั แลว้ ชาวบา้ น ปลกู โดยให้ภาครฐั กับชาวบา้ นรว่ มดูแลดว้ ยกนั เพอื่ แลก เปลีย่ นแนวคดิ ในท้องถิ่นน้ีก็จะได้รับประโยชน์ไปด้วย ดังพระราชด�ำรัส ขณะเดยี วกันยงั ใหย้ ุวเกษตรกร ซงึ่ เป็นเด็กนักเรียน ในชุมชนดูแลแปลงผกั สวนครัว เพือ่ ให้เด็กๆ ไดเ้ กิดการ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว เมอื่ วันท่ี 21 สิงหาคม 2552 เรียนรู้และนำ� ไปปรบั ใชไ้ ดก้ บั การท�ำการเกษตรทีบ่ ้าน โดย ทุกขั้นตอนในการท�ำงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คร้งั เสดจ็ พระราชดำ� เนินไปยังโครงการชงั่ หัวมนั ตามพระ ทรงเน้นย�ำ้ ในการทำ� เกษตรอนิ ทรีย์ ราชด�ำริ ที่ว่า “...คนทไี่ ปดไู ดเ้ หน็ วา่ เรม่ิ ตน้ ดว้ ยไมม่ อี ะไรเลย แต่ว่าต่อมา ทุกคนท่ีอยู่ในท้องถิ่นน้ันก็เข้าใจว่า ต้อง ช่วยกัน และยิง่ ในสมยั นี้ ในระยะน้ีเราต้องร่วมมือกันทำ� เพราะไมม่ กี ารรว่ มมอื กนั กไ็ มก่ า้ วหนา้ ไมม่ คี วามกา้ วหนา้ ฉะนนั้ การทที่ า่ นไดท้ ำ� แลว้ มคี วามกา้ วหนา้ นเ้ี ปน็ สง่ิ ทดี่ มี าก หลกั การก็อยู่ท่ีทกุ คนต้องชว่ ยกนั เสยี สละ เพอ่ื ให้ กิจการในท้องท่กี า้ วหน้าไปดว้ ยดี กา้ วหน้าไดอ้ ย่างไร ก็ ดว้ ยการช่วยเหลือกนั แต่กอ่ นนั้นเคยเหน็ ว่ากจิ การที่ทำ� มีกล่มุ คนกลุม่ หนงึ่ ท�ำแลว้ กท็ �ำให้ก้าวหน้า แตอ่ ันน้ีมัน ไมใ่ ชก่ ลมุ่ หนงึ่ มนั ทงั้ หมดรวมกนั ทำ� และมคี วามกา้ วหนา้ แนน่ อน อนั นกี้ เ็ ปน็ สงิ่ ทมี่ หศั จรรยแ์ ละเปน็ ทที่ ำ� ใหม้ คี วาม หวงั มคี วามหวงั วา่ ประเทศชาตจิ ะกา้ วหนา้ ประเทศไทยจะ มคี วามสำ� เรจ็ ...” น.ส.พ. กสิกร ปีที่ 84 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2554 75

สนองพระราชด�ำ ริ มีการเก็บตัวอย่างดินเพ่ือน�ำไปวิเคราะห์ปริมาณ ธาตอุ าหาร ถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบการจัดการคุณภาพ กรมวิชาการเกษตร โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาการ GAP และตรวจรับรองแหลง่ ผลติ พชื (GAP/Q-product) เกษตรเพชรบรุ ี รว่ มสนองพระราชดำ� รโิ ดยจดั ทำ� แปลงสาธติ พรอ้ มทงั้ ออกใบรบั รองคณุ ภาพพชื ไดแ้ ก่ กะเพรา โหระพา การเกษตรและถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารปลกู และดแู ลรกั ษา มนั เทศ หนอ่ ไม้ผร่งั พรกิ มะเขอื เทศ มะนาว สับปะรด สบั ปะรดรับประทานสด ไดแ้ ก่ พนั ธุเ์ พชรบุรี พนั ธ์สุ วี และ กล้วยน้ําว้า และกล้วยหักมุก เพ่ือให้โครงการชั่งหัวมัน ตราดสีทอง พร้อมติดตั้งระบบน้ําหยดในแปลงสับปะรด เป็นแหล่ง ผลิตพืชอาหารด้านต่างๆ ในโครงการไปใช้ มะพรา้ ว และชมพู่เพชรสายรงุ้ เพือ่ เปน็ แปลงตน้ แบบการ ประโยชน์ในการด�ำรงชีพอย่างย่ังยืน ให้นา้ํ และปุย๋ ทค่ี ุ้มคา่ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ปัจจุบันโครงการชั่งหัวมันมีผู้เย่ียมชมศึกษา รวมทั้งได้ประสานงานกับคณะนักโรคพืช นักกีฏ หาความรเู้ ปน็ จำ�นวนมาก และมากขึ้นทุกวัน ท้งั น้เี พราะ และสัตววิทยา จากส�ำนักวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช เป็นโครงการทไ่ี ด้รับความรเู้ รอื่ งการปลกู พชื การเลยี้ งสัตว์ กรมวิชาการเกษตร ส�ำรวจพืชและเก็บตัวอย่างไรศัตรูพืช การเพาะเหด็ การใชพ้ ลงั งานงานทดแทน กงั หนั ลม พลงั งาน และแมงมุม ท่ีเป็นประโยชน์ในพื้นท่ีปลูกพืชในโครงการ แสงอาทติ ย์แลว้ ยงั ได้อุดหนุนผลผลติ ตา่ งๆ ของโครงการ เพอื่ วางแผนควบคมุ ศตั รพู ชื โดยใชว้ ธิ ชี วี ภาพ (Biocontrol) อีกดว้ ย เชน่ การใช้ไวรสั (NPV) ป้องกนั ก�ำจดั หนอนกระทหู้ อม และหนอนเจาะสมอฝ้าย และการใช้เช้อื แบคทีเรยี (BT) 76 น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 84 ฉบบั ที่ 6 พฤศจิกายน - ธนั วาคม 2554

ปั จ จั ย ก า ร ผ ลิ ต ม่ือนาก้งุ ร้าง...กลายมาเป็น สวนปาล์มน้ำ�มัน ในพ้นื ท่ลี ุ่มน้ำ�ปากพนงั ไพบูรณ์ เปรียบย่งิ ในอดตี พนื้ ที่ล่มุ น้าํ ปากพนงั เปน็ เขตท่ีอุดมสมบูรณ์ และเปน็ แหลง่ ผลติ ข้าวทส่ี ำ� คญั ของภาคใต้ แต่ในปจั จุบันเกษตรกร ประสบปัญหาผลผลิตเสียหายจากสภาพน้ําท่วม ที่ผ่านมามีการตัดไม้ท�ำลายป่า แปรสภาพป่าไม้ไปเป็นสวน และ บ้านเรือนในพ้ืนท่ีตอนเหนือของเขตพ้ืนที่ลุ่มนํ้าปากพนัง ท�ำให้เกิดความไม่สมดุลทางด้านนิเวศน์วิทยาอย่างรุนแรง มี ผลกระทบตอ่ พื้นที่ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในฤดูฝนจะมีสภาพนา้ํ ทว่ มขังอย่างรุนแรง ประกอบกบั พน้ื ที่สว่ นใหญเ่ ปน็ พืน้ ที่ราบลุ่มแอง่ กระทะ ท�ำให้นํ้าขงั เป็นระยะเวลายาวนาน ในฤดแู ล้งจะประสบกบั การขาดน้ําในการท�ำการเกษตรกรรมและมีนํ้าทะเลหนุนขึ้นสูง ส่งผลให้เกษตรกรไม่สามารถใช้ประโยชน์จากพื้นท่ีนาใน การปลูกพืชได้ จำ� ต้องทง้ิ ถิน่ ฐานและออกไปรบั จา้ งนอกพน้ื ท่ี ท�ำใหพ้ นื้ ทร่ี กรา้ งประมาณ 1 - 2 แสนไร่ น.ส.พ. กสกิ ร ปีท่ี 84 ฉบับที่ 6 พฤศจกิ ายน - ธนั วาคม 2554 77

โครงการพฒั นาพน้ื ทล่ี ่มุ น้ำ� ปากพนังอันเน่ืองมาจากพระราชดำ� ริ ยง่ิ ไปกวา่ นนั้ สภาพของดนิ บรเิ วณนเี้ ปน็ ดนิ เปรย้ี วจดั ปาล์มนํ้ามัน เป็นพืชอุตสาหกรรม และมีความ การระบายนา้ํ ของดนิ เลว โครงสร้างของดนิ แนน่ ทบึ และ ส�ำคัญทางเศรษฐกิจพืชหนึ่งของภาคใต้ มีลักษณะดีเด่น มนี ้ําทว่ มขงั ดงั นั้นจากสภาพดังกล่าวจะเปน็ ตัวจำ� กัดการ หลายประการ คือ เป็นพืชยืนตน้ ทม่ี คี วามทนทานตอ่ สภาพ ปลูกพชื ทส่ี �ำคัญที่สดุ แวดลอ้ มมากกว่าพชื ล้มลกุ มีการใชน้ ำ�้ มาก สามารถดดู นํ้า พ้ืนที่ลุ่มนํ้าปากพนังมีเกษตรกรผู้ประกอบอาชีพ และคายนํา้ ได้ประมาณ 200 - 400 ลิตร/ตน้ /วัน เมือ่ ปลกู เลย้ี งกุง้ ในเขตนาํ้ จืดจำ� นวน 3,725 ครวั เรือน ครอบคลมุ เปน็ แปลงใหญ่ (plantation) สามารถปรบั ระบบนเิ วศนไ์ ด้ พน้ื ที่ 34,210.50 ไร่ ซ่ึงไดร้ บั ผลกระทบจากมาตรการ ดขี นึ้ และทำ� รายไดอ้ ยา่ งสมาํ่ เสมอเพราะสามารถใหผ้ ลผลติ ก�ำหนดเขตพื้นท่ีท�ำการเกษตรในเขตน้ําจืดออกจากพื้นท่ี ไดต้ ลอดปี (เกบ็ เกย่ี วได้ 2 ครัง้ /เดอื น) โดยใหผ้ ลผลิตได้ ทำ� การประมงนํ้าเคม็ ยาวนานกวา่ 20 ปี เกษตรกรผู้เล้ียงกุ้งประสบปัญหากุ้งเป็นโรคระบาด การปลูกปาล์มนํ้ามันเป็นแปลงใหญ่จะเป็นหนทาง ราคาตกตา่ํ และปจั จยั การผลติ ราคาสงู ขนึ้ จงึ ทำ� ใหเ้ กษตรกร ให้เกิดอตุ สาหกรรมที่ต่อเนื่อง ทำ� ใหเ้ พ่ิมโอกาสในการจ้าง เลกิ อาชพี การเลย้ี งกงุ้ และปลอ่ ยทง้ิ ใหน้ ากงุ้ รกรา้ งไป ซงึ่ พนื้ ท่ี งานแกเ่ กษตรกรในพ้ืนท่ี ดงั น้นั ปาล์มนํ้ามันจงึ เปน็ พืชหนึง่ นากุ้งร้างจะเปน็ พน้ื ทซ่ี ึ่งมีลักษณะเฉพาะ 2 ประการ คือ ท่ีมีบทบาทต่อระบบการปลูกในเขตพ้ืนท่ีลุ่มน้ําปากพนัง ประการแรก เป็นพ้ืนที่ลุ่ม มีนํ้าท่วมขัง และมี จากสภาพแวดล้อมของพื้นที่โดยทั่วไปไม่เหมาะสม และ ลกั ษณะเปน็ นากงุ้ รา้ ง จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารปรบั พนื้ ทน่ี ากงุ้ รา้ ง เป็นตวั จ�ำกัดต่อการปลกู พชื การน�ำเอาปาลม์ น้�ำมนั มาปลูก ประการทสี่ อง พน้ื ที่นากุ้งร้าง เป็นพื้นทท่ี ี่มีความ ในพื้นท่ีนากุ้งร้างจึงเป็นทางเลือกหนึ่งเพื่อแก้ปัญหาความ เคม็ ปรมิ าณธาตอุ าหารและมอี นิ ทรียวตั ถุตา่ํ สภาพทั่วไป ค่อนขา้ งเป็นกรด ลกั ษณะเน้ือดินส่วนใหญ่เป็นดนิ เหนยี ว ยากจนและปญั หาสภาพแวดลอ้ มของพ้นื ทต่ี ่อไป การทำ� นากงุ้ นาํ้ ทว่ มพน้ื ท่ี เตรยี มแปลง 78 น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 84 ฉบับท่ี 6 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2554

ดังน้ันการจัดการส�ำหรับปาล์มน้ํามันที่ปลูกในพื้นที่ นากงุ้ รา้ ง นากงุ้ ร้าง จึงมีลกั ษณะเฉพาะทัง้ การจัดการพ้ืนที่ และการ จดั การด้านการดูแลรักษา โดยเฉพาะการจดั การด้านธาตุ ปรับปรงุ พน้ื ทน่ี ากุง้ ร้างเพ่อื ปลกู ปาล์มนำ้�มัน อาหารและการปรบั ปรงุ บ�ำรงุ ดนิ ด้วยพระเมตตาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ลักษณะของนากุ้งร้างโดยทั่วไปจะมีขนาดเฉลี่ย ในอันท่ีจะบ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขแก่พสกนิกรทุกหมู่เหล่า ดัง ประมาณ 3 - 6 ไร่ กน้ บอ่ จะขดุ ลกึ จากผวิ ดินเดมิ ประมาณ พระราชกระแสรบั สงั่ ทวี่ า่ “ทกุ ขข์ องประชาชนนน้ั รอไมไ่ ด”้ 0.50 - 0.80 เมตร ดินท่ขี ุดขึน้ มาจะน�ำไปท�ำเปน็ คนั ดนิ สงู จึงพระราชทานแนวพระราชดำ� รใิ หห้ นว่ ยราชการตา่ งๆ ท่ี ประมาณ 2.00 - 2.50 เมตร จากผวิ ดนิ เดมิ โดยมฐี านลา่ ง เกยี่ วข้องน�ำมาปฏิบัติเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกชีวิต กวา้ งประมาณ 6.00 เมตร สันดนิ บนกวา้ งประมาณ 3.00 ในลมุ่ นาํ้ ปากพนงั ใหด้ ขี น้ึ จงึ เกดิ เปน็ โครงการพฒั นาพนื้ ท่ี เมตร เน้อื ดินส่วนใหญ่เปน็ ดนิ เหนยี วหรือดนิ เหนยี วจดั ลมุ่ น้าํ ปากพนงั อนั เน่ืองมาจากพระราชดำ� ริ ขึน้ บางแหง่ จะพบชัน้ ดินเลนทรี่ ะดบั ความลึกประมาณ กรมวชิ าการเกษตร โดยสำ� นกั วิจัยและพฒั นาการ 1.50 เมตร มคี วามอุดมสมบรู ณต์ ํา่ ถงึ ต่ํามาก โครงสร้าง เกษตรเขตท่ี 7 เป็นหนึง่ ในหลายๆ หนว่ ยงานทีไ่ ด้เขา้ รว่ ม ของดินแน่นทึบและการระบายน้ําเลวพ้ืนที่ท่ีผ่านเล้ียง ดำ� เนินการกจิ กรรมตา่ งๆ ในพ้นื ที่โครงการ ไดด้ ำ� เนนิ การ กงุ้ กุลาดำ� จะแบ่งออกเปน็ 2 สว่ นใหญ่ๆ คือ ส่วนท่เี ป็นนา ทดสอบความเป็นไปได้ในการปลูกปาล์มนํ้ามันในพื้นที่ กุ้งร้าง และส่วนที่เป็นพ้ืนท่ีข้างเคียงนากุ้งร้าง ซึ่งเป็นพ้ืนที่ ลมุ่ นา้ํ ปากพนัง พบว่า ปาล์มนา้ํ มนั สามารถให้ผลผลติ และ ทไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากการเลย้ี งกุ้งกุลาด�ำ สร้างรายไดจ้ นเปน็ ท่ีพอใจ เกษตรกรมีความเป็นอย่ทู ี่ดีขึน้ ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับพ้ืนท่ีทั้งสองส่วนเป็นผลที่ อยา่ งยง่ั ยนื จงึ ไดข้ ยายผลไปสโู่ ครงการปรบั เปลย่ี นอาชพี เกดิ จากดนิ ได้รบั ความเค็ม และธาตุโซเดยี มเพ่ิมสงู ขึน้ จน จากนาก้งุ รา้ งมาปลกู ปาล์มน้าํ มนั ในการด�ำเนินงานไดน้ �ำ เปน็ พิษตอ่ พชื ดงั น้นั การฟน้ื ฟพู ื้นที่ทเ่ี ป็นนากุง้ รา้ งและ เทคโนโลยีและความรดู้ ้านตา่ งๆ ในการปลกู ปาล์มน้ํามัน พ้ืนที่ที่ได้รับผลกระทบจากการเล้ียงกุ้งกุลาด�ำนอกจาก ของกรมวชิ าการเกษตรไปปรบั ใชใ้ นการดำ� เนนิ งานในพนื้ ท่ี จะตอ้ งทำ� การปรบั สภาพของพน้ื ทแ่ี ลว้ ยงั จะตอ้ งแกไ้ ขปญั หา ความเค็ม โซเดยี มในดนิ และปรับปรุงบำ� รุงดินด้วย เกษตรกรรว่ มโครงการ จากการเกบ็ ตวั อยา่ งดนิ นากงุ้ รา้ งจงั หวดั นครศรธี รรมราช มาวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมี พบว่าตัวอย่างดินที่น�ำมา สวนปาลม์ นาํ้ มนั วเิ คราะห์ ดินมีคา่ ความเปน็ กรด-ดา่ ง ระหวา่ ง 4.6 - 6.4 มีค่าการน�ำไฟฟ้าระหว่าง 1.40 - 2.82 เดซิซีเมนต่อเมตร และมปี รมิ าณอนิ ทรยี วตั ถปุ ระมาณ 0.50 - 1.70% ซงึ่ ดนิ นากุ้งร้างมีสภาพค่อนข้างเป็นกรด มีค่าการน�ำไฟฟ้าสูง มาก (มีความเคม็ สูง) และมปี ริมาณอนิ ทรยี วตั ถตุ ่ํา ขน้ั ตอนในการเตรยี มและปรบั ปรงุ พน้ื ทน่ี ากงุ้ รา้ ง 1. ระบายนา้ํ ออกจากนาก้งุ รา้ งให้หมด แล้วตากบ่อ ทงิ้ ไวจ้ นแหง้ ทำ� การตรวจสอบวา่ บรเิ วณใดเปน็ ดนิ เลนหรอื ดินอ่อน ให้ใช้รถขุดตักดินเลนหรือดินอ่อนดังกล่าวขน้ึ มา ตากให้แห้ง น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 84 ฉบับท่ี 6 พฤศจกิ ายน - ธนั วาคม 2554 79

2. การปรับสภาพพ้นื ท่นี ากุ้งร้าง โดยทลายคันดนิ เกษตรกรร่วมโครงการ รอบบอ่ ทง้ั หมด นำ� ดนิ ลงมาถมในบอ่ เกลยี่ ดนิ ใหส้ มาํ่ เสมอ บดอดั ดินใหแ้ นน่ พอควร จากเกษตรกรผู้เล้ียงกงุ้ จ�ำนวน 3,725 ครัวเรอื น 3. วางแนวการปลกู ปาลม์ นํ้ามัน และขุดคูระบายน้ํา ครอบคลมุ พ้ืนท่ี 34,210.50 ไร่นั้น เมอ่ื เริ่มโครงการ ปี เพอ่ื ยกระดบั พนื้ ทใ่ี หส้ งู ขน้ึ เพอ่ื ปอ้ งกนั นา้ํ ทว่ มขงั แปลงปลกู 2548 มเี กษตรกรสนใจปรับเปลย่ี นอาชพี จากการเล้ยี ง โดยจะต้องระบายออกจากแปลงปลูกให้ได้ในฤดูฝน ซ่ึง กงุ้ มาปลูกปาลม์ นํา้ มนั จำ� นวน 620 ราย พนื้ ที่ 8,158.25 คูระบายนาํ้ ท�ำทกุ ๆ สองแถวของปาลม์ นา้ํ มนั ขนาด 200 x ไร่ คาดว่าปีที่ 6 - 7 เกษตรกรได้รับผลผลติ ปาลม์ นํ้ามนั 50 x 100 เซนตเิ มตร (ด้านบน x ดา้ นล่าง x ลึก) ประมาณ 14,500 ตัน และเพม่ิ เปน็ 25,290 ตนั ในปที ่ี 4. แกไ้ ขขจัดความเค็ม โซเดยี มในดนิ และ/หรอื 11 - 12 ซ่ึงเปน็ ชว่ งทปี่ าล์มนา้ํ มนั ให้ผลผลิตไดส้ ูงทสี่ ุด ความเป็นกรดของดิน โดยการล้างดินร่วมกับการใช้สาร คิดเปน็ รายได้ทีก่ ระจายลงสพู่ นื้ ท่ไี ม่น้อยกวา่ 107 ล้าน ปรับปรงุ ดิน ในกรณดี นิ เค็มที่เปน็ กรดใหใ้ ชป้ ูน ไดแ้ ก่ บาท/ปี (ราคาเฉลี่ยปี 2553 เทา่ กับ 4.26 บาท/กก.) ปนู ขาว ปูนมาร์ล หินปนู บด 100 - 200 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ปจั จบุ ัน ปี 2554 มีเกษตรกรขยายพนื้ ทีป่ ลกู ปาลม์ เพื่อลดระดับความเป็นกรด และชว่ ยในการล้างเกลือ แต่ นํ้ามันมากขนึ้ ถงึ 70,000 ไร่ จ�ำนวนเกษตรกร มากกวา่ ถ้าในกรณีดินเค็มที่เป็นด่าง การใส่ยิปซั่ม ปริมาณ 50 5,000 ราย คาดว่ามีรายไดห้ มนุ เวียนไม่ตํา่ กวา่ 536 ล้าน กิโลกรัมต่อไร่จะช่วยให้ดินมีการระบายน้ําดีข้ึน และช่วย บาทตอ่ ปี ท�ำใหเ้ กษตรกรในพ้ืนทีร่ ักถ่ินเกดิ มอี าชพี และ ในการลา้ งเกลอื ออกจากดินเชน่ กนั การใชส้ ารปรับปรุงดนิ รายไดท้ ม่ี นั่ คงสบื ไป นบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ทพี่ ระบาท ตอ้ งใสแ่ ละไถใหค้ ลุกเคลา้ ลงไปในดินกอ่ นจะมีการลา้ งดนิ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมตี อ่ ราษฎรทไ่ี ดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น การลา้ งดนิ ตอ้ งใสค่ ลกุ เคลา้ ลงไปในดนิ บม่ ไว้ 7 วนั ทรงมพี ระวสิ ยั ทศั นท์ กี่ วา้ งไกล ทรงพระราชทานพระราชดำ� ริ แชข่ ังด้วยน้�ำอกี 7 วัน แลว้ ระบายนํา้ ทิง้ เพือ่ เปลีย่ นนา้ํ ใหม่ อนั เป็นแนวทางน�ำมาซงึ่ การพัฒนาอาชพี สรา้ งรายได้ และ ทำ� การลา้ งดิน 3 ครงั้ ความเคม็ ของดินจะลดลง จนสามารถ พฒั นาความเป็นอยขู่ องราษฎรใหด้ ีขึน้ นนั่ เอง ปลกู ปาลม์ น้ํามันได้ ส�ำนกั วจิ ัยและพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 7 ไดส้ นอง พระราชด�ำริในการช่วยเสริมสร้างอาชีพและรายได้ให้แก่ เกษตรกรใหม้ ีชีวติ ความเป็นอยูท่ ดี่ ขี ้นึ อยา่ งยัง่ ยนื หนงึ่ ใน ความภาคภูมิใจน่ันคือการทดสอบความเป็นไปได้ในการ ปลกู ปาล์มน�้ำมนั ในพน้ื ทล่ี ุ่มน้าํ ปากพนัง และ การขยายผล ไปสู่โครงการปรับเปลี่ยนอาชีพจากนากุ้งร้างมาปลูกปาล์ม น้ํามัน สวนปาล์มนา้ํ มัน บรรณานุกรม กรมวชิ าการเกษตร. 2542. เกษตรดที ี่เหมาะสมกบั การผลิต ปาล์มนา้ํ มัน. 21 หน้า. ศนู ย์วจิ ยั พชื สวนสุราษฎร์ธาน.ี 2532. ปาลม์ นา้ํ มัน. ศูนย์วจิ ัยพชื สวนสุราษฎรธ์ านี สถาบันวจิ ัยพืชสวน กรมวชิ าการเกษตร. 114 หน้า. สำ� นกั สง่ เสรมิ และพฒั นาการเกษตรเขตที่ 5. 2552. คมู่ อื วทิ ยาการ ปาลม์ น้ํามัน. ส�ำนักสง่ เสริมและพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 5 จังหวดั สงขลา กรมสง่ เสรมิ การเกษตร.127 หน้า 80 น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 84 ฉบับที่ 6 พฤศจกิ ายน - ธนั วาคม 2554

เ ก็ บ ม า ฝ า ก านวิชาการเกษตร ท่ศี นู ย์ศกึ ษาการพฒั นาฯ เขาหินซอ้ น ส�ำนกั วิจัยและพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 6 โครงการศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาเขาหินซอ้ น อันเนอ่ื งมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา เรมิ่ ด�ำเนินการเมือ่ ปี 2522 ในพ้นื ท่ี 1,895 ไร่ เพือ่ มงุ่ หวงั ทีจ่ ะใหเ้ ปน็ แบบจำ� ลองของพน้ื ท่สี ำ� หรบั การด�ำเนินงานศึกษา คน้ หาแนวทางในการพัฒนา เป็นตัวอย่างแห่งความส�ำเร็จในการแก้ไขปัญหาตามสภาพแวดล้อมของภูมิอากาศ ซ่ึงทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องจะสามารถน�ำไป ใช้ประโยชนไ์ ด้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ทรงมพี ระราชดำ� ริให้มีการพฒั นาศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาเขาหนิ ซ้อน ดงั กล่าว โดย พระราชทานแนวทางการพัฒนาไว้ดังนี้ พฒั นาศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาเขาหนิ ซอ้ น ใหเ้ ปน็ ศนู ยต์ วั อยา่ ง รวมการพฒั นาดา้ นการเกษตรกรรมทสี่ มบรู ณแ์ บบ ทงั้ ดา้ นการพฒั นาแหลง่ นาํ้ ฟน้ื ฟสู ภาพปา่ การพฒั นาดนิ วางแผนปลกู พชื และเลย้ี งสตั ว์ ทเ่ี กษตรกรและผสู้ นใจสามารถเขา้ ชม ศกึ ษา คน้ ควา้ หาความรเู้ พม่ิ เตมิ และนำ� ไปปฏบิ ตั ติ ามได้ เพอื่ พฒั นาอาชพี และพน้ื ทที่ ำ� กนิ ของตนใหเ้ พมิ่ ผลผลติ เพม่ิ ฐานะ ความเปน็ อยูท่ ีด่ ีขึ้น พรอ้ มทั้งงานสง่ เสรมิ ศลิ ปาชพี หตั ถกรรมพน้ื บา้ นเปน็ อาชพี เสรมิ รายไดจ้ ากอาชพี หลักอกี ทางหน่งึ น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 84 ฉบบั ท่ี 6 พฤศจิกายน - ธนั วาคม 2554 81

พัฒนาพื้นที่ราษฎรรอบนอกศูนย์บริเวณลุ่มน้ํา เพอ่ื เปน็ แหลง่ ผลติ และขยายพนั ธพ์ุ ชื สตั ว์ ประมง โจน ใหม้ คี วามเจรญิ ขน้ึ เปน็ ตวั อยา่ งแกก่ ารพฒั นาพน้ื ทอี่ นื่ ๆ สำ� หรบั บริการแกเ่ กษตรกร ต่อไป เพื่อเป็นแหล่งศึกษาความรู้และพักผ่อนหย่อน ใหน้ �ำวธิ กี ารทใ่ี หผ้ ลมาแลว้ ถูกตอ้ ง ประหยดั ใจแก่ประชาชนท่วั ไป และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ มาดำ� เนนิ การ งานวชิ าการเกษตร การสนองพระราชด�ำ ริ กรมวชิ าการเกษตร ได้เข้าไปดำ� เนนิ การ ศึกษา หน่วยงานตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ไดเ้ ข้าไปดำ�เนินการ ทดสอบหาพันธุ์พืช และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับสภาพ ตามแนวพระราชดำ�รทิ ไ่ี ดพ้ ระราชทานไว้โดยมกี รมพฒั นาท่ีดิน พนื้ ท่ี ผลิตและขยายพนั ธุ์พืช เพ่อื สนับสนนุ เกษตรกรและ เปน็ หนว่ ยงานหลกั หนว่ ยงานอน่ื ๆ เขา้ ไปดำ�เนนิ การสนบั สนนุ หน่วยงานอื่น รวมทั้งถ่ายทอดเทคโนโลยีวิชาการเกษตร ในสว่ นอนื่ ๆ รวมท้ังกรมวชิ าการเกษตร โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ แผนใหม่แกเ่ กษตรกรผ้สู นใจ ในการสนองพระราชดำ�ริ ดังนี้ ทง้ั นไ้ี ดด้ ำ�เนนิ การในพน้ื ทโ่ี ครงการพฒั นาสว่ นพระองค์ เพ่ือยกระดับรายได้ของเกษตรกรในบริเวณลุ่ม จำ�นวน 350 ไร่ โดยทำ�การศกึ ษาทดสอบการพฒั นาดา้ น น้ำ� โจน ซ่งึ เป็นพืน้ ทตี่ ่อเนือ่ งโครงการจ�ำนวน 15 หมูบ่ ้านใน การเกษตรกรรม และดำ�เนินการในพน้ื ทรี่ าษฎรรอบนอก เขตตำ� บลเกาะขนนุ และตำ� บลเขาหนิ ซอ้ น อำ� เภอพนมสารคาม ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาเขาหนิ ซอ้ นกระจายอยใู่ น 33 หมบู่ า้ น จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา มพี นื้ ที่ ประมาณ 56,000 ไร่ มเี กษตรกร ตำ�บลเขาหินซ้อน ตำ�บลเกาะขนุน และตำ�บลบ้านซ่อง ประมาณ 1,000 ครอบครวั ใหม้ รี ายไดพ้ อเพยี งตอ่ การ อำ�เภอพนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา เนอ้ื ท่ี 183,004 ไร่ ยงั ชพี และจะใชพ้ น้ื ทนี่ พี้ ฒั นาตวั อยา่ งเพอื่ ใชศ้ กึ ษาแนวทาง การพฒั นาทอ้ งทีอ่ ่ืนๆ ต่อไป แปลงสาธิตเพ่อื ถ่ายทอดเทคโนโลยี เพ่ือเป็นแหล่งศึกษาทางวิชาการในการหาลู่ทาง พฒั นาการเกษตรและอาชพี ของเกษตรกรในภาคตะวนั ออก กรมวิชาการเกษตรได้ด�ำเนินงานพัฒนาการเกษตร โดยเฉพาะในจงั หวดั ฉะเชงิ เทราและจังหวัดปราจีนบรุ ี และจัดทำ� แปลงสาธติ จ�ำนวน 11 งาน แปลงสาธติ ระบบ เพื่อเป็นแหลง่ ฝกึ อบรม ให้ความรทู้ างวิชาการ เกษตรผสมผสาน สาธิตการเพาะเห็ดเศรษฐกิจครบวงจร เกษตรและศิลปาชีพพิเศษแก่เกษตรกร สาธิตการผลิตไม้ผลอินทรีย์ สาธิตการปลูกไผ่หวานเพื่อ ตดั หน่อ สาธติ การปลกู หม่อนเพอื่ การแปรรูป สาธิตการ ปลกู พชื ไรเ่ ศรษฐกจิ สาธติ การปลกู ยางพาราในพนื้ ทแ่ี หง้ แลง้ สาธิตการสร้างป่าโดยใช้ไม้ผล อนุรักษ์พืชสมุนไพรและ อนุรกั ษพ์ ชื พืน้ ถ่ิน สาธิตการปลูกผักปลอดภยั สารพษิ และ สาธติ การผลติ น้�ำสม้ ควันไม้ เป็นต้น แปลงสาธติ ระบบเกษตรผสมผสาน ประกอบดว้ ย ท่ีอยอู่ าศยั และบอ่ นาํ้ การปลูกขา้ วและพชื หลงั นา การปลกู ไมผ้ ลเป็นพชื หลกั และพชื รอง ไดแ้ ก่ ผกั หมุนเวยี น เปน็ ต้น 82 น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 84 ฉบบั ท่ี 6 พฤศจิกายน - ธนั วาคม 2554

สาธติ การเพาะเหด็ เศรษฐกจิ ครบวงจร มโี รงเรอื น หลากหลาย สามารถเก็บใบสดไดจ้ ำ� นวน 186 กโิ ลกรมั /ปี ทัง้ หมด 5 โรงเรือน คือโรงเรอื นเพาะเหด็ อุตสาหกรรม ผลติ ชาเขียวใบหม่อน ไดจ้ �ำนวน 18.6 กิโลกรัม 1 โรงเรอื น โรงเรอื นเพาะเหด็ สกุลนางรม 4 โรงเรอื น สาธติ การปลกู พชื ไรเ่ ศรษฐกจิ ปลกู มนั สำ�ปะหลงั โรงเรอื นบม่ กอ้ น 2 โรงเรอื น โรงเรอื นเปดิ ดอก 2 โรงเรอื น ได้ เพือ่ ศึกษาทดสอบ 5 พนั ธ์ุ โดยมีการใส่ปยุ๋ หมักอัตรา ดำ� เนนิ การเพาะเหด็ เชน่ เหด็ เปา๋ ฮอ้ื เหด็ นางรม เหด็ หอม ฯลฯ 1,000 กโิ ลกรมั ต่อไร่ รว่ มกับการปลูกปอเทอื งแล้วไถกลบ ปจั จุบันงานวิชาการเกษตร ไดผ้ ลติ เหด็ จ�ำนวน 10 ชนิด กอ่ นปลกู ในพน้ื ทโ่ี ครงการพฒั นาสว่ นพระองค์ มนั สำ�ปะหลงั ไดผ้ ลผลิตรวมทั้งหมด 265.8 กโิ ลกรมั ทป่ี ลกู ไดแ้ ก่ พนั ธร์ุ ะยอง 5 พนั ธร์ุ ะยอง 90 พนั ธร์ุ ะยอง 9 สาธิตการผลติ ไม้ผลอนิ ทรยี ์ เป็นการปลูกไม้ผล พนั ธุ์เกษตรศาสตร์ 50 และ พนั ธ์ุห้วยบง 60 ในสภาพดนิ ทราย ปลูกไม้ผลแบบทาบเสรมิ ราก เสรมิ กง่ิ สาธิตการปลูกยางพาราในพื้นที่แห้งแล้ง ปลูก ดา้ นขา้ งเขา้ กนั และปลกู เปน็ วงกลมเพอื่ ชว่ ยในการยดึ เหนยี ว ยางพาราในพน้ื ทีแ่ ห้งแลง้ พน้ื ท่ี 70 ไรด่ ำ�เนนิ การเปิดกรีด ซงึ่ กนั และกัน และป้องกันการหกั โค่นไดง้ ่าย เน่อื งจาก ยางโดยใช้ระบบกรีดครึ่งต้น กรีดวันเว้นวันในพื้นที่ศูนย์ พ้นื ทมี่ ีสภาพเป็นดินทราย ด�ำเนนิ การทดสอบพชื 7 ชนิด ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ พน้ื ท่ี 36 ไร่ และพนื้ ที่ ได้แก่ มะนาว พทุ รา ชมพู่ เงาะ ล�ำไย น้อยหนา่ ทุเรียน โครงการพัฒนาส่วนพระองค์พื้นที่ 34 ไร่ โดยใช้พันธุ์ สาธิตการปลูกไผ่หวานเพื่อตัดหน่อ การปลูกไผ่ RRIM 600 พันธุ์ GT1 พันธุ์ KRS 25 พันธ์ุ RRIC 110 หวานจ�ำนวน 125 กอ ในพน้ื ที่ 1 ไร่ เพอ่ื เป็นแปลงตัวอยา่ ง พันธุ์สงขลา 36 และพนั ธุ์ Largstump ในการปลกู ไผห่ วาน พบวา่ ไผห่ วานสามารถคมุ การระบาดของ สาธติ การสรา้ งปา่ โดยใชไ้ มผ้ ล ดำ� เนนิ การในพน้ื ที่ วัชพชื ในแปลงปลกู ได้ดี ให้ผลผลติ จำ� นวน 339 กโิ ลกรมั โครงการพฒั นาสว่ นพระองค์ พ้นื ท่ี 28 ไร่ เปน็ แปลงพืชที่ สาธิตการปลกู หม่อนเพอื่ การแปรรปู หม่อนพนั ธุ์ มีการออกแบบภูมทิ ัศน์ ท่มี คี วามหลากหลายของพันธุ์พชื แม่ลูกดกพน้ื ท่ี 2ไร่ ดูแลตน้ หมอ่ นให้มีความอุดมสมบูรณ์ และความสวยงาม มพี ชื จำ� นวน 20 ชนิด ได้แก่ แก้วมงั กร บงั คบั โดยการตดั แตง่ กงิ่ ยอดหมอ่ นลกู เพอ่ื ใหแ้ ตกยอดใหม่ มะกรูด ส้มจีด๊ สม้ เขียวหวาน สละ มะเฟอื ง มะไฟ มะตูม พรอ้ มออกดอกและตดิ ผล เพือ่ ใหเ้ ก็บผลผลิตไดต้ ลอดทั้ง ปี สามารถเก็บผลสดได้จ�ำนวน 207.5 กิโลกรัม/ปี หมอ่ นพนั ธบุ์ รุ รี ัมย์ 60 พน้ื ท่ี 1 ไร่ ดูแลต้นพนั ธุ์ หมอ่ นใบใหม้ ีความอดุ มสมบรู ณ์ ทำ� การตัดแตง่ กง่ิ หมอ่ น เป็นระยะๆ เพอ่ื ให้แตกยอดและใบทด่ี ี และสามารถเกบ็ ใบมาแปรรูป ท�ำชาเขยี วใบหมอ่ น เพ่อื สขุ ภาพ และเปน็ ตัวอยา่ งการเพมิ่ มลู คา่ แกผ่ ลผลติ ทางการเกษตรใหม้ คี วาม น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 84 ฉบับท่ี 6 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2554 83

มะพร้าวน้าํ หอม ตะขบ มะนาวตาฮิติ มะกอก ระกำ� มะปราง นา้ํ ส้มควนั ไม้ของงานวิชาการเกษตร จึงเปน็ ทางหนงึ่ ของ มะกอกฝรั่ง เชอรีส่ เปน พทุ ราจมั โบ้ ชมพู่ ส้มโอ และ เกษตรกร ที่จะลดการใช้สารเคมีท่ีเป็นอันตรายต่อมนุษย์ พริกขห้ี นู ทง้ั ผปู้ ฏบิ ตั ิและผู้บรโิ ภค ผลติ ได้น้ําสม้ ควนั ไมจ้ �ำนวน 319 อนุรักษ์พืชสมุนไพรและอนุรักษ์พืชพ้ืนถิ่น ลิตร/ปี ประเภทสมนุ ไพรชนิดต่างๆ จ�ำนวน 5 ประเภท ได้แก่ จากผลแห่งความส�ำเร็จของการด�ำเนินงาน ท�ำให้ สมุนไพรประเภทสกัดกล่นิ หอม ได้แก่ พิกลุ ปีบ ได้แปลงต้นแบบการผลิตพืชระบบการผลิตพืชผสมผสาน สารภี ฯลฯ และเกษตรทฤษฎีใหม่ ให้เป็นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติท่ีมี สมนุ ไพรที่ใช้ในการเกษตร ไดแ้ ก่ ตะไคร้หอม ชวี ติ เปน็ ทศี่ กึ ษาเรยี นรู้ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ใหไ้ ดร้ บั ทง้ั ความรู้ ความ หางไหล ฯลฯ เพลิดเพลินใจ เช่น เป็นสถานทศ่ี กึ ษาดงู านของเกษตร และ สมุนไพรระงับพิษ ได้แก่ เสลดพงั พอน รางจืด ผสู้ นใจกว่า 3,000 รายต่อปี ถ่ายทอดองคค์ วามรู้ โดย สมนุ ไพรทใ่ี ชเ้ ปน็ สผี สมอาหาร ไดแ้ ก่ อญั ชนั ขมน้ิ ขบวนการฝกึ อบรมหลักสตู รต่างๆ ใหส้ ามารถนำ� ไปปฏิบัติ สมุนไพรประเภทหวั ไดแ้ ก่ บกุ และกลอย ได้มากกว่า 500 รายต่อปี และเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชิง สาธิตการปลกู ผักปลอดภัยสารพิษ ดำ� เนนิ การใน พัฒนาด้านเกษตรด้วย พ้ืนทีโ่ ครงการพฒั นาส่วนพระองค์ พ้นื ท่ี 7 ไร่ แบง่ ออก เป็น 4 แปลง คอื กลมุ่ เพาะเห็ด..ตวั อยา่ งความสำ�เรจ็ 1. แปลงพชื สมุนไพรบ้าน เช่น ผกั กดู ข่า 2. แปลงผกั หมนุ เวยี น เชน่ คะนา้ ผกั บงุ้ กวางตงุ้ จากผลการศึกษาทดสอบการเพาะเห็ดเศรษฐกิจ เปน็ ต้น ชนิดต่างๆ ในพนื้ ท่ีงานวชิ าการเกษตร ศูนยฯ์ นบั วา่ ประสบ 3. แปลงปลกู สม้ จ๊ดี ผลสำ�เสร็จระดบั หนง่ึ สามารถถา่ ยทอดองคค์ วามร้ใู หแ้ ก่ 4. แปลงไผ่หวาน เกษตรกร และผ้สู นใจไดเ้ ปน็ จำ�นวนมากเกษตรกรบางราย สาธติ การผลติ นํา้ สม้ ควนั ไม้ การน�ำวัสดทุ ่มี อี ยู่ ทอ่ี ยู่นอกพ้นื ทศ่ี นู ย์ฯสามารถนำ�ความรทู้ ่ีไดร้ ับไปประกอบ ในท้องถ่ิน หรอื ทอ่ี ย่ใู กลต้ วั นำ� มาใช้ประโยชน์ใหค้ ุ้มคา่ โดย เปน็ อาชีพ เปน็ การสร้างงานและรายไดแ้ ก่ครอบครัวเป็น ภายใตเ้ งอ่ื นไขตน้ ทนุ ตาํ่ และเทคโนโลยที ไี่ มซ่ บั ซอ้ นสามารถ อยา่ งดี และขณะนเ้ี กษตรกร บรเิ วณหมบู่ า้ นรอบศนู ยท์ ีไ่ ด้ น�ำไปปฏิบัติได้จริง ไม่ท�ำลายทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รับการฝึกอบรมจากงานวชิ าการเกษตร ได้มีการรวมกล่มุ กันตงั้ เป็นกลุ่มเพาะเห็ด ขน้ึ จำ�นวน 6 กลุ่ม และในปี พ.ศ. 2555 จะดำ�เนนิ การขยายผลเพิม่ จำ�นวน 2 กลุม่ กลุ่มเพาะเหด็ ทัง้ 6 กลุ่ม มีดังนี้ 1. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตเช้ือเห็ดบริสุทธิ์ ครบวงจรเขาหินซ้อน มสี มาชกิ 6 ราย การผลติ เหด็ ของกลมุ่ ทำ� 2 แบบ คอื แบบเก็บดอกขาย ราคาขายสง่ กโิ ลกรัมละ 45 บาท 84 น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 84 ฉบบั ท่ี 6 พฤศจกิ ายน - ธนั วาคม 2554

แบบขายกอ้ นเชอื้ เหด็ ราคากอ้ นละ 7 บาท เน่ืองจากการจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเห็ดมี รายไดข้ องกลมุ่ หกั ส่วนที่เป็นก�ำไร 20% เปน็ เงนิ กองกลาง จำ� นวน 6 กลมุ่ โดยแตล่ ะกลมุ่ มวี ธิ กี ารดำ� เนนิ งานแตกตา่ งกนั ของกลมุ่ เก็บไวส้ �ำหรับการขยายกจิ การ กำ� ไรสว่ นที่เหลอื ดังน้ันงานวิชาการเกษตรจึงก�ำหนดให้มีการประชุมเสวนา แบง่ เทา่ ๆ กัน ทกุ คน ทัง้ น้ี กลมุ่ วิสาหกิจชุมชนผูผ้ ลติ เช้อื ทกุ วนั ที่ 5 ของเดือน ที่งานวิชาการเกษตร โดยใหแ้ ต่ละ เหด็ บรสิ ทุ ธค์ิ รบวงจรเขาหนิ ซอ้ น (หมู่ 11) ตำ� บลเขาหนิ ซอ้ น กลมุ่ บรรยายการทำ� งาน เสนอปัญหาในการทำ� งาน เพ่อื มีรายได้เฉลีย่ เดือนละ 10,850 บาท แลกเปลีย่ นความร้ซู ง่ึ กันและกัน ท�ำให้เกิดการพฒั นากลุม่ และสรา้ งเครอื ขา่ ยตอ่ ไปในอนาคต 2. กล่มุ เพาะเห็ดฟางบ้านหนองลา้ งหนา้ วัตถุประสงค์การเสวนา เพ่ือต้องการพัฒนาการ ผลติ เหด็ เพื่อการคา้ โดยแบง่ การพัฒนาการ 3 ขั้นตอน คือ ผลติ เหด็ แบบเกบ็ ดอกขาย ราคาขายสง่ กโิ ลกรมั ละ 60 บาท รายไดข้ องกลมุ่ หกั สว่ นทเี่ ปน็ กำ� ไรไว้ 20% เป็น 1. ฝึกฝนให้เกิดทักษะการเพาะเห็ดให้ช�ำนาญ เงินกองกลาง ส�ำหรบั ลงทนุ ขยายกิจการ กำ� ไรสว่ นที่เหลอื และเลย้ี งตัวเองได้ แบ่งคนละเทา่ ๆ กัน รายได้ของกลุม่ เฉล่ยี เดือนละประมาณ 4,000 บาท 2. พฒั นาแตล่ ะกลมุ่ ใหม้ กี ารรวมกลมุ่ ใหเ้ ขม้ แขง็ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ของกลุ่ม โดยเน้นความ 3. กลุ่มเพาะเหด็ ฟางบา้ นเตาลวดโยง ซือ่ สตั ยต์ ่ออาชพี และผลติ เห็ดคุณภาพดี เพ่ือรักษาตลาด ไดย้ งั่ ยนื ผลิตเห็ดแบบเก็บดอกขาย ราคาขายส่งกโิ ลกรัมละ 60 บาท รายได้ของกลุ่มเฉล่ยี เดือนละประมาณ 4,000 3. พัฒนาเห็ดสมุนไพร เพื่อจ�ำหน่ายในและ บาท รายได้สว่ นทเ่ี ป็นผลกำ� ไรหกั 20 % เปน็ ทุนของกลมุ่ ตา่ งประเทศ ส�ำหรับขยายกิจการ ก�ำไรส่วนทเี่ หลือแบง่ คนละเทา่ ๆ กัน เกษตรกรหรอื ผ้สู นใจ สามารถเขา้ มาศึกษาเรยี นรู้ ทางด้านวิชาการเกษตร ภายในศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขา 4. กลมุ่ เพาะเหด็ เศรษฐกจิ ครบวงจรบา้ นหว้ ยสาม หินซ้อน อนั เนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ได้ทุกวนั ไม่มีวนั หยดุ ตำ�บลเกาะขนนุ ราชการ หากประสงคจ์ ะเขา้ เยย่ี มชมเปน็ หมคู่ ณะ เพอ่ื ความ สะดวก และเกิดประโยชน์สูงสุดในการเข้าศึกษาดูงาน ผลิตเหด็ 2 แบบ แบบเกบ็ ดอกขายราคาขายสง่ สามารถตดิ ตอ่ ไดโ้ ดยตรงทศ่ี นู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาเขาหนิ ซอ้ นฯ กโิ ลกรมั ละ 45 บาท และแบบผลิตกอ้ นเชื้อเห็ด ราคาขาย ตำ�บลเขาหินซ้อน อำ�เภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ก้อนละ 7 บาท รายได้ของกลุ่มเฉลี่ยเดือนละประมาณ โทรศพั ท์ 0–3859-9105 หรอื ตดิ ตอ่ สำ�นกั วจิ ยั และพฒั นา 8,000 บาท การจดั สรรผลประโยชนห์ รอื รายได้ของกลมุ่ การเกษตรเขตท่ี 6 ตำ�บลตะปอน อำ�เภอขลงุ จงั หวดั จนั ทบุรี เช่นเดยี วกบั กล่มุ อืน่ ๆ คอื หกั 20% เปน็ เงนิ ทนุ กองกลาง โทรศัพท์ 0-3939-7134 ของกลมุ่ สว่ นทเ่ี หลอื แบง่ คนละเทา่ ๆ กนั 5. กลมุ่ เพาะเหด็ เศรษฐกจิ ครบวงจรบา้ นโพธศิ์ รี (หม1ู่ 0) ผลิตเห็ด 2 แบบ คอื แบบเก็บดอกขาย และขาย กอ้ นเชอื้ เหด็ รายได้ หรอื ผลกำ� ไรของกลมุ่ จดั สรรเชน่ เดยี ว กบั กลมุ่ อน่ื ๆ คอื หกั เปน็ กองกลาง 20% สว่ นทเี่ หลอื แบง่ กนั คนละเท่าๆ กัน 6. กลมุ่ เพาะเหด็ เศรษฐกจิ ครบวงจรบา้ นลำ�มหาชยั (หม7ู่ ) ผลิตเหด็ 2 แบบ คอื แบบเกบ็ ดอกขาย และแบบ ขายกอ้ นเช้อื เหด็ ผลกำ� ไรแบ่งเท่าๆกันทุกคน โดยกันเงนิ ก�ำไรไว้ 20 เปอร์เซน็ ต์ เพือ่ เข้ากองกลางเป็นทุนขยาย กจิ การตอ่ ไป น.ส.พ. กสกิ ร ปที ี่ 84 ฉบับท่ี 6 พฤศจกิ ายน - ธนั วาคม 2554 85


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook