Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารวิชาการมันสำปะหลัง

เอกสารวิชาการมันสำปะหลัง

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-08-02 10:01:24

Description: กรมพัฒนาที่ดิน
หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษา

Search

Read the Text Version

สารบัญ ก สารบัญ ก สารบญั ภาพ ข 1. ประวตั ิความสําคญั 1 2. สภาพดินฟาอากาศทีเ่ หมาะสม 4 3. ลกั ษณะทว่ั ไปทางพฤกษศาสตร 5 4. ชนิดและพนั ธมุ นั สําปะหลงั 15 16 4.1 พนั ธรุ ะยอง 1 17 4.2 พันธรุ ะยอง 3 18 4.3 พนั ธรุ ะยอง 2 19 4.4 พนั ธุระยอง 5 20 4.5 พันธรุ ะยอง 60 22 4.6 พันธุเกษตรศาสตร 50 23 4.7 พันธรุ ะยอง 90 24 4.8 พันธศุ รรี าชา 1 25 4.9 พันธุห า นาที 26 4.10 พนั ธุร ะยอง 72 28 5. การปลูกมนั สําปะหลัง 30 6. ระยะปลกู มนั สาํ ปะหลงั 30 7. การบํารงุ รกั ษาดินและการใชปุย 33 8. ธาตุอาหารทจ่ี าํ เปน สําหรบั มนั สาํ ปะหลงั 33 9. มันสําปะหลังกับปุยอนิ ทรีย 34 10. คาํ แนะนาํ การใชปยุ กบั มนั สาํ ปะหลงั 35 11. วชั พชื และการควบคุมในมนั สาํ ปะหลงั 45 12. ระบบการปลูกพืชโดยใชม นั สําปะหลงั เปน พชื หลัก 50 13. แมลงศัตรพู ชื และการปอ งกันกาํ จดั 65 14. โรคมนั สําปะหลังและการปองกันกาํ จัด 76 15. การเกบ็ เก่ยี วและการเก็บรกั ษา 81 16. การใชป ระโยชนจากมนั สําปะหลัง

สารบัญภาพ ข ภาพท่ี 1 เปรยี บเทยี บทรงตน เต้ยี และแตกกิ่ง กบั ไมแ ตกกิง่ 7 ภาพท่ี 2 ทรงตน สงู และแตกกิง่ 7 ภาพที่ 3 ลาํ ตน สีแตกตางกัน 7 ภาพที่ 4 รูป ลักษณะใบมนั สําปะหลงั ทแี่ ตกตา งกนั มาก 7 ภาพที่ 5 ดอกมันสําปะหลงั เกดิ ทย่ี อด 9 ภาพท่ี 6 มันสําปะหลงั สว นใหญอ อกดอก 9 ภาพท่ี 7 ดอกตัวผู ดอกตวั เมยี อยูในชอ เดยี วกนั 9 ดอกตัวผอู ยูสวนบนของชอดอก 9 ภาพที่ 8 เปรียบเทียบดอกตวั ผู (ขวา) 11 กับดอกตัวเมีย (ซา ย) 11 ภาพที่ 9 ดอกตัวผขู องมนั สาํ ปะหลงั 11 ภาพที่ 10 ดอกตัวเมยี ขอมันสําปะหลัง 11 ภาพท่ี 11 ผล และเมล็ดมนั สําปะหลงั 13 ภาพท่ี 12 เมล็ดมนั สาํ ปะหลัง 13 ภาพท่ี 13 รูปรา งและสผี วิ ของหัวมันสาํ ปะหลัง 21 ภาพที่ 14 หัวมันสําปะหลงั 21 ภาพที่ 15 พนั ธุร ะยอง 1 21 ภาพที่ 16 พนั ธุระยอง 3 21 ภาพที่ 17 พนั ธุร ะยอง 5 27 ภาพที่ 18 พนั ธุระยอง 60 27 ภาพท่ี 19 พันธเุ กษตรศาสตร 50 27 ภาพที่ 20 พนั ระยอง 90 27 ภาพท่ี 21 พนั ธุหานาที 31 ภาพที่ 22 พนั ระยอง 72 31 ภาพท่ี 23 ปลูกแบบปกบนสันรอง ภาพท่ี 24 ปลกู แบบปกบนพนื้ ราบแลวพูน 31 31 โคน อายปุ ระมาณ 1 เดอื น 31 ภาพที่ 25 ปลกู แบบปกบนพื้นราบ 47 ภาพที่ 26 ยกรอง ปลูกแบบปก ความลึก 5, 10, 15 ซม. ภาพท่ี 27 ยกรอ ง ปลกู แบบปกความลกึ 5, 10, 15 ซม. ภาพที่ 28 ขาวโพดหวานแซมมันสําปะหลัง

ภาพท่ี 29 ถว่ั เหลืองแซมมันสาํ ปะหลัง 47 ภาพท่ี 30 ถวั่ เขียวแซมมนั สาํ ปะหลงั 47 ภาพท่ี 31 ถ่วั ลสิ งแซมมนั สาํ ปะหลงั 47 ภาพท่ี 32 ลักษณะการทาํ ลายของไร 53 ภาพที่ 33 ตวั เต็มวยั ของตวั ห้ําไรแดง ( Stchourse pauper culus ) 51 ภาพท่ี 34 ตวั เตม็ วัยของตวั หา้ํ ไรแดง ( Oligotu pp. ) 51 ภาพท่ี 35 ตวั ไรแดง 51 ภาพท่ี 36 ไข ตวั หนอน แมลงนูนหลวง 54 ภาพท่ี 37 ตัวเตม็ วยั แมลงนูนหลวง 54 ภาพท่ี 38 เพลี้ยหอยขาว 62 ภาพที่ 40 เพล้ยี แปง 62 ภาพท่ี 39 เพล้ยี หอยดํา 62 ภาพที่ 41 โรคราแปง ( Oidium manihotis ) 68 ภาพที่ 42 โรคใบจุดสีนํา้ ตาล ( Cercosporidium henningsii ) 68 ภาพท่ี 43 ลาํ ตน หรอื ทอนพันธเุ นา ( Glomerella cingulata ) 68 ภาพท่ี 44 โรคลําตนเนา ( Botryodiplodia theobromae ) 68 ภาพที่ 45 โรคหัวเนา และ ( Phytophthora root rot or wet rot ) 73 ( Phytophthora drechsleri ) 73 ภาพท่ี 46 โรคหัวเนา แหง ( Dry rot or white thread )-Rigidoporus 75 ( Fomers ) Lignosus ภาพที่ 47 โรคเนาคอดนิ ( Damping-off or c root rot )-Corticium 59 59 ( sclerotium ) rolfsii 59 ภาพท่ี 48 ปลวกทําลายทอ นพนั ธุ 75 ภาพท่ี 49 ปลวกทาํ ลายตน 75 ภาพท่ี 50 ปลวกทําลายสว นหวั ภาพท่ี 51 โรคใบไหม ลกั ษณะเปน จดุ เหลย่ี มบนใบ 75 75 ภาพท่ี 52 ลักษณะอาการตายจากยอดลงมา 78 ( dieback ) ของโรคใบไหม 78 78 ภาพท่ี 53 ระยะตอมาใบจะเหยี่ วและรว งหลน 78 ภาพที่ 54 แสดงอาการยอดแหงตาย ภาพท่ี 55 ตดั ตน กอนขุดหัวมันสําปะหลงั ภาพที่ 56 สว นรากขุดดว ยจอบ ภาพที่ 57 ตัดตนและเหงาจากหวั ภาพที่ 58 เครือ่ งขุดมนั สําปะหลังฉากดว ยแทรกเตอร

ภาพที่ 59 เก็บรกั ษาทอนพนั ธมุ นั สําปะหลงั โดยวางนอนในรม 78 ภาพที่ 60 เกบ็ รักษาทอ นพนั ธุมนั สําปะหลังโดยวางตง้ั กกลางแจง คลมุ ดว ยใบไม 78 ภาพที่ 61 อุตสาหกรรมอาหาร 82 ภาพท่ี 62 อุตสาหกรรมผงชูรส 82 ภาพท่ี 63 อุตสาหกรรมกระดาษ 82 ภาพท่ี 64 อุตสาหกรรมไมอ ดั 82 ภาพที่ 65 อุตสาหกรรมสงิ่ ทอ 82

มนั สําปะหลัง ประวัตคิ วามสาํ คญั และดินฟาอากาศทเ่ี หมาะสม มันสําปะหลังมีตนกําเนิดในอเมริกาใตแถวๆ ประเทศเปรู Maxico, Guatemala และ Honduras สันนิษฐานวามีการปลูกมันสําปะหลังใน Maxico เม่ือ 2,100 ปมาแลวและมีการปลูก ในประเทศเปรู เม่ือ 4,000 ปมาแลว จากถิ่นฐานน้ีไดแพรขยายไปที่อเมริกาแถบรอนโดยชาว อินเดีย และขยายไปสูแหลงอนื่ ๆ ของโลก โดยชาวโปรตเุ กสและชาวสเปน มันสําปะหลังเขามาสู เอเซีย โดยนําเขามาในประเทศอินเดีย ศรีลังกา มาเลเซีย อินโดนีเซีย ประมาณคริสตศตวรรษที่ 17 ตามเอกสารที่คนไดพ บวา มีการนํามันสําปะหลังเขา มาในเอเซีย ดงั นี้ พ.ศ. 2283 เร่มิ ปลกู มันสาํ ปะหลงั ในมอลิเซียส (Mauritius) โดยนําไปจากชวา พ.ศ. 2329 เริ่มปลกู ในศรลี ังกา โดยนําไปจากมอลิเซยี ส พ.ศ. 2383 เริ่มปลูกในฟลิปปนส โดยนํามาจากเม็กซิโก โดยชาวสเปน อินเดีย นาํ มนั สาํ ปะหลังมาจากอเมรกิ าใต (รุน แรกในศตวรรษท่ี 17) เร่มิ ปลูกมันสําปะหลงั ในสิงคโปร พ.ศ. 2393 ใชมันสาํ ปะหลังในอุตสาหกรรมในมาเลเซีย พ.ศ. 2398 ทาํ แปงมันสําปะหลงั ในสิงคโปร (กรมวชิ าการเกษตร, 2526) สําหรับในประเทศไทยยังไมมีหลักฐานท่ีแนนอนวามีการนํามันสําปะหลังเขามาปลูก เม่ือใด คาดวาคงจะเขามาในระยะเดียวกับท่ีเขาสูประเทศศรีลังกา ฟลิปปนส คือราวๆ พ.ศ. 2329 – 2383 เดิมทีเรียกวา มันสําโรง มันไมและมันสําปะหลัง สรุปวา คําวา “สําปะหลัง” คลาย กับภาษาชาวตะวันตก ที่เรียกมันสําปะหลังวา สัมเปอ (Samper) ดังน้ันคําวาสําปะหลัง อาจจะ มาจากคาํ วา “สัมเปอ” ของชาวตะวนั ตก การปลูกมันสําปะหลังเปนการคาในประเทศไทย สรุปวามีการปลูกมันสําปะหลังเพื่อใช ทําแปงและสาคู ในภาคใต โดยการปลูกระหวางแถวของตนยางพารากันมากวา 70 ปแลว โดยเฉพาะอยางยิ่งท่ีจังหวัดสงขลามีอุตสาหกรรมทําแปงและสาคู จําหนายไปยังปนังและสิงค โปร แตการปลูกมันสําปะหลังภาคใตจะคอยๆ หมดไป เพราะเม่ือตนยางพาราโตคลุมพื้นที่หมด จึงไมสามารถปลูกมันสําปะหลังตอไปได ตอมาไดมีการปลูกมันสําปะหลังในภาคตะวันออก คือ จังหวัดชลบุรี ระยองและจงั หวัดใกลเคยี งและเนือ่ งจากความตองการของตลาดในดานผลิตภัณฑ มันสําปะหลัง เพื่อใชในการอุตสาหกรรมและเล้ียงสัตว มีเพิ่มมากข้ึนทําใหพ้ืนท่ีทางภาค ตะวันออกผลิตไดไมเพียงพอตอความตองการ จึงมีการขยายพ้ืนท่ีปลูกไปยังจังหวัดอ่ืนๆ โดยเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือจนในปจจุบัน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นท่ีปลูก มากทส่ี ุดของประเทศไทย ( จรุงสทิ ธิ์ และอัจฉรา, 2537 ก.)

2 ความสาํ คัญ มันสําปะหลังจัดเปนพืชหัวชนิดหนึ่ง มีช่ือสามัญเรียกหลายช่ือดวยกัน ตามภาษาตางๆ ที่ไดยินมากเชน Cassava, yuca, mandioca, manioc, madioc, tapioca เปนตน เดิมทีคนไทย เรียกวา มันไม มันสําโรง ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกวามันตนเตี้ย ภาคใตเรียกมันเทศ (เรยี กมนั เทศวา มันฑลา) ปจ จุบันคนสวนใหญเรยี ก มันสําปะหลงั มันสําปะหลังจัดเปนอาหารที่มีความสําคัญเปนอันดับ 7 ของมนุษย ปลูกทั่วไปในเขต tropic มันสําปะหลังเปนอาหารหลักของมนุษยกวา 200 ลานคน โดยรับประทานโดยตรง เล้ียงสัตว กิจกรรมอุตสาหกรรม 95% ของผลผลิตมันสําปะหลังของโลกใชเปนอาหารหลักของ มนุษยทั้งในรูปอาหารหลัก อาหารรอง และอาหารเสริม โดยบริโภคในรูปหัวสด ประมาณหนึ่งถึง สามเปอรเซ็นต ของผลผลิตมันสําปะหลังของโลก ใชเปนอาหารเลี้ยงสัตว มันสําปะหลังอีกสวน หนึ่งใชในการอุตสาหกรรมตางๆ อาหารมากมายหลายชนิดที่ทําจากแปงมันสําปะหลังและยังมี อตุ สาหกรรมหลายชนดิ ทใี่ ชมนั สําปะหลงั เปนวตั ถุดบิ บราซิลเปนประเทศที่ประชากรรับประทานมันสําปะหลังเปนอาหารหลักมากที่สุดเฉลี่ย แลวรับประทานหัวสดคนละ 124 กิโลกรัมตอป อินโดนีเซียรับประทานมันสําปะหลังเปนอาหาร หลักเหมือนกัน ประชากรในชวาและ Madura ไดพลังงานจากมันสําปะหลัง 1,010 แคลอรี่ จากทั้งหมด 1,592 แคลอรี่ตอวัน ในรัฐ Kerala ของอินเดียประชากรบริโภคมันสําปะหลังเปน อาหารหลัก ประเทศในสมาคมเศรษฐกิจยุโรปใชมันสําปะหลังเล้ียงสัตวมากท่ีสุดปละประมาณ หาถงึ หกลานตัน (โสภณ 2526 ก.) สําหรับประเทศไทย มันสําปะหลังเปนพืชที่มีความสําคัญตอเศรษฐกิจของประเทศมาก พืชหนึ่ง เปนพืชท่ีมีเนื้อที่เพาะปลูกทั่วประเทศในป 2543 ประมาณ 7.4 ลานไร ทํารายไดใหแก เกษตรกรปละกวา 12,000 ลานบาท ประมาณ 97% ของผลผลิตจากมันสําปะหลัง (หัวมันสด) ถูกสงเขาโรงงานทําการแปรสภาพเปนผลิตภัณฑมันสําปะหลังมากมายหลายชนิด ในจํานวนน้ี ประมาณ 70% ของผลผลิตมันสําปะหลังใชในการแปรสภาพเปนอาหารสัตว สวนที่เหลือใชใน อุตสาหกรรมอื่น จึงนับวาผลผลิตจากมันสําปะหลังนอกจากจะทํารายไดใหแกกสิกรแลว ยังทํา รายไดใหกับประชากรอีกสวนหนงึ่ ผลสดุ ทา ยผลิตภณั ฑม ันสําปะหลังท่ีแปรสภาพแลว ไดสงเปน สนิ คาออกทาํ รายไดใหก ับประเทศคิดเปน มูลคาถึง 14,036 ลานบาทในป 2543 จากสถิติป 2543 ท่ัวโลกผลิตมันสําปะหลังได 172.7 ลานเมตริกตัน ในปเดียวกันนี้ ประเทศไทยผลิตได 19 ลานเมตริกตัน ผลิตไดมากเปนอันดับสามของโลก ประเทศที่ผลิต ไดมากที่สดุ ไดแ กไ นจเี รีย สามารถผลิตได 32.5 ลา นเมตรกิ ตนั (ตารางที่ 1) แหลงปลูกมันสําปะหลังที่สําคัญท่ีสุดของประเทศไทยในปจจุบัน คือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ รองลงมาคือภาคกลางซ่ึงรวมภาคตะวันออกและภาคตะวันตกไวดวย (ตารางท่ี 2) จังหวัดที่มีการปลูกมันสําปะหลังมากที่สุดตามสถิติป 2543 ไดแกจังหวัด นครราชสีมา 1,650,994 ไร รองลงมาคือ จังหวัดมุกดาหาร กําแพงเพชร ฉะเชิงเทรา สระแกว กาฬสนิ ธุ ขอนแกน ชลบรุ ี พษิ ณโุ ลก กาญจนบรุ ี (ตารางท่ี 3)

3 ตารางท่ี 1 แสดงผลผลติ มนั สําปะหลงั ของโลกและประเทศผผู ลติ มาก 10 ประเทศ ป 2543 ลาํ ดบั ที่ ประเทศผผู ลติ ผลิตผล (ลานเมตรกิ ตัน) 1 ไนจีเรีย 32,697 2 บราซลิ 22,960 3 ไทย 19,049 4 อินโดนเี ซีย 16,347 5 คองโก 15,959 6 กานา 7,845 7 อินเดีย 5,800 8 แทนซาเนยี 5,758 9 ยูกนั ดา 4,966 10 โมซัมบิก 4,643 ทมี่ า : ศูนยสถิติการเกษตร 2543 ตารางที่ 2 แสดงพนื้ ที่ปลกู มนั สาํ ปะหลงั ตามภาคตา งๆ ของประเทศไทย ป 2539 – 2543 ภาค พื้นท่ปี ลกู (ไร) 2539 2540 2541 2542 2543 เหนอื 969,244 1,002,928 900,435 938,198 1,035,380 ตะวันออกเฉียงเหนือ 4,833,334 4,744,890 3,923,822 4,162,640 4,219,849 กลาง 2,082,859 2,159,033 1,869,485 2,098,702 2,150,742 ใต - - -- - ท่ีมา : ศนู ยส ถติ กิ ารเกษตร 2543

4 ตารางท่ี 3 แสดงพน้ื ทปี่ ลูก ผลผลิต และผลิตผลเฉลย่ี ของป 2543 อันดับ จังหวดั พ้ืนท่ปี ลูก (ไร) ผลผลิต (ตน) ผลผลิตเฉล่ยี (กก./ไร) 1. นครราชสีมา 1,650,994 4,220,157 2,664 2. มกุ ดาหาร 458,313 1,131,962 2,635 3. กําแพงเพชร 402,006 1,125,774 2,887 4. ฉะเชงิ เทรา 384,081 1,052,045 2,984 5. สระแกว 353,987 1,036,268 2,972 6. กาฬสนิ ธุ 332,764 914,147 2,806 7. ขอนแกน 303,029 738,060 2,487 8. ชลบรุ ี 291,221 797,433 3,046 9. พิษณโุ ลก 216,458 486,843 2,378 10. กาญจนบรุ ี 238,434 584,776 2,268 ทมี่ า : ศนู ยสถิตกิ ารเกษตร 2543 สภาพดินฟาอากาศท่เี หมาะสม มันสําปะหลังเปนพืชที่ปลูกในเขตรอน ต้ังแตเสนรุงท่ี 30 องศาใตถึงเสนรุงที่ 30 องศาเหนือ ในเขตหนาวหรอื ในเขตอบอนุ ทีม่ อี ณุ หภมู เิ ย็นจัดถงึ ขั้นมหี มิ ะมันสําปะหลังจะไมสามารถขึ้นได ในเขต รอนที่ปลูกมันสําปะหลัง จะพบวาพืชนี้ขึ้นไดดีในสภาพดินฟาอากาศแตกตางกันอยางกวางขวาง คือ ข้ึนไดด ีในสภาพที่มีฝนตกชุก ดนิ มีความสมบูรณต าํ่ และเปนเกรดในทที่ ่ีคอนขางแหงแลงแถบทวีปอัฟ รกิ าหรือในทีบ่ รเิ วณเทอื กเขาแอนดิสที่มคี วามสูงถงึ 2,000 เมตร จากระดับนาํ้ ทะเล 1. การปรับตัวตอ สภาพฟาอากาศ มันสําปะหลังมีการเจริญเติบโตดีในเขตรอน ในบริเวณพื้นท่ีท่ีแตละฤดูกาลมีอุณหภูมิ เปลี่ยนแปลงมากๆ มันสําปะหลังจะไมสามารถขึ้นได แตในบริเวณพื้นท่ีท่ีอุณหภูมิเฉล่ียต่ํากวา 20 องศาเซลเซียส ซง่ึ อุณหภมู ิไมแปรปรวนมาก เชน ท่ปี ระเทศโคลอมเบยี เปรู เอกวาดอร ซ่ึงมี อุณหภูมิเฉล่ีย 17 องศาเซลเซียส มันสําปะหลังก็สามารถข้ึนได พ้ืนท่ีปลูกมันสําปะหลังสวนใหญ มีปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยตอปมากกวา 1,000 มิลลิเมตร จนถึง 1,300 มิลลิเมตรตอป แตทั้งน้ีใน พื้นท่ีท่มี ีฝนตกชุก จะตองมกี ารระบายนํา้ ดี เพราะหากมีน้าํ ทวมเพยี งวนั เดียวอาจทาํ ใหเ สยี หายได มันสําปะหลังเปนพืชทนแลงไดดี หลังจากปลูกและตนมันสําปะหลังต้ังตัวไดแลว แมจะ ขาดฝนเปน ระยะเวลานานถงึ 6 เดอื นตอป ในสภาพที่กระทบแลงมันสําปะหลังจะลดพ้ืนที่ใบโดย ใบแกจะรวงไป การสรา งใบใหมจะนอยลงและมีขนาดเล็ก ปากใบบางสว นจะปดทําใหก ารคายนา้ํ นอยลง จนกระท่ังมีฝนมันสําปะหลังจะดึงคารโบไฮเดรตที่สะสมในตนและหัวมาใชสรางใบและ ยอดใหม

5 มันสําปะหลังสามารถเจริญเติบโตไดในพื้นท่ีบางแหงที่มีปริมาณนํ้าฝนตอปนอยกวา 1,000 มิลลิเมตร เชนทางแถบทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศบราซิล และทางทิศ ตะวันออกของทวีปอัฟริกา แตถาเปนบริเวณท่ีมีฝนตกนอยกวา 600 มิลลิเมตรตอป ไมสามารถ ปลกู มันสาํ ปะหลงั ได 2. การปรับตวั ตอสภาพดิน มันสําปะหลังปรับตัวไดดีในดินที่มีความอุดมสมบูรณตํ่า และทนทานตอสภาพดินที่เปน กรดจัดเชน ในดินที่มีความเปนกรดเปนดาง (pH) ต่ํา 4.4 ก็ไมมีผลกระทบกระเทือนตอผลผลิต ซ่ึงมีพืชนอยชนิดท่ีมีคุณสมบัติทนตอสภาพดินกรดเชนเดียวกับมันสําปะหลัง แตมันสําปะหลังมี ขอจํากัด คือไมสามารถข้ึนไดดีในดินที่เปนดาง (pH) มากกวา 8 ขึ้นไป และนอกจากน้ีมัน สําปะหลงั ไมสามารถทนตอสภาพของดินทม่ี ีนํา้ ขงั โดยทว่ั ไปมันสาํ ปะหลงั ขน้ึ ไดด ใี นดินทุกชนิด ชอบดินรวนปนทราย มีความอุดมสมบูรณ ปานกลางมี (pH) อยูระหวาง 5.5–8 เปนพืชวันสั้น ผลผลิตจะลดลงถาชวงแสงของวันยาวเกิน 10–12 ช่ัวโมง สาํ หรบั ประเทศไทยปลูกมนั สําปะหลังไดตัง้ แตใตสุดจนถึงเหนือสุดของประเทศในอาณา บริเวณเสนรุง 6–20 องศาเหนือ เสนแวง 99–105 องศาตะวันออก แหลงที่ปลูกมันสําปะหลัง มากที่สุดคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ซ่ึงมีปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย 1,200– 1,500 มลิ ลิเมตรตอ ป อุณหภูมเิ ฉลย่ี ของเดอื นไมตํ่ากวา 20 องศาเซลเซียส พื้นที่ปลูกอยูบริเวณ ท่ีมีความสูงจากระดบั น้ําทะเล 0–200 เมตร (โสภณ 2526 ก.) ลักษณะท่วั ไปทางพฤกศาสตร มันสําปะหลังหรือที่เรียกกันทั่วไปเปนภาษาอังกฤษวา Cassava เปนพืชที่จัดไดวาเปน แหลงคารโบไฮเดรตท่ีสําคัญที่สุด ภาษาในประเทศบราซิล ปารากวัยและอารเจนตินา เรียกวา Mandioca สวนประเทศไทยในแถบทวีปอเมริกาสวนใหญที่ใชภาษาสเปนเปนภาษาพูดจะเรียกวา Yuca ประทศในแถบทวีปเอเซียเรียกวา Tapioca และประเทศแถบอัฟริกาท่ีพูดภาษาฝร่ังเศส เรียกวา Manioc มันสําปะหลังเปนพืชที่มีถ่ินกําเนิด (Center of origin) อยูในเขตรอนของทวีปอเมริกา โดยเฉพาะในอเมริกาใตแถบประเทศเปรู เม็กซิโก กัวเตมาลา และฮอนดูรัส ซึ่งสันนิษฐานวามี การปลูก มนั สาํ ปะหลังประมาณ 3,000–7,000 ปมาแลว ตอมาไดขยายไปทั่วเขตรอนของทวีป อเมริกา และขยายไปสูแหลงอ่ืนๆ ของโลก โดยชาวปอรตุเกสและชาวสเปน มันสําปะหลังจาก ประเทศเม็กซิโก มายังประเทศฟลิปปนสประมาณคริสตศตวรรษท่ี 17 และชาวฮอลแลนดนํามา ยงั อินโดนเี ซียจากประเทศสุรนิ ัมประมาณคริสตศตวรรษที่ 18

6 สําหรับประเทศไทยนั้น ไมมีหลักฐานที่แนชัดวา มีการนํามันสําปะหลังเขามาปลูกเมื่อใด แตคาดวามีการนํามันสําปะหลังเขาสูประเทศไทย จากประเทศมาเลเซียเม่ือราวป พ.ศ. 2329 โดยเรียกชื่อตางๆ ในระยะตอมาวามันไม มันสําโรง คําวา “มันสําปะหลัง” น้ัน ภาษามาเลเซีย และภาษาอินโดนีเซียเรียกวา Ubikayu แปลวา พืชท่ีมีรากขยายใหญและไปคลายกับภาษาชวา ตะวนั ตกวา “สมั เปอ (sampar)” มันสําปะหลังมีชื่อสามัญ Cassava, Manihot, Manioc, Tapioca, Tapioka อเมริกาใต เรียกวา Yuca ภาษาโปรตุเกสในบราซิลเรียกวา Mandioca และไดจัดมันสําปะหลังไวเปน หมวดหมูดงั น้ี Genus : Manihot Family : Euphorbiaceae Subdivision : Angiospermae Class : Dicotyledonae Order : Geraniales พืชจําพวกมันสําปะหลังใน Genus Manihot น้ี มีอยูหลาย Species บาง Specie ก็ สามารถใชเปนอาหารได พืชเศรษฐกิจอื่นๆ ท่ีอยูใน Family เดียวกับมันสําปะหลังไดแก ยางพารา ละหุง สาํ หรบั มนั สาํ ปะหลังที่ปลูกในปจจุบันมีชื่อวิทยาศาสตรที่ถูกตองคือ Manihot esculenta Crang. สวนช่ือ Manihot utilissima Pohl. ซ่ึงก็เปนช่ือเดิมของมันสําปะหลังแตปจจุบันไมนิยมใช สมัยกอนแบงมันสําปะหลังเปนชนิดหวานกับชนิดขม M.esulenta เปนชนิดหวาน M.palmata หรือ M.dulcis เปนชนดิ ขม แตป จ จบุ ันมแี ต M.esulenta ชนิดหวานหรือขมแตกตา งกันท่ีกง่ิ พันธุ ตน มันสําปะหลังเปนไมพุม และมีอายุอยูไดหลายป (shrubby perennial crop) ความสูง ของตนมันสําปะหลังแตกตางกันตามพันธุ และสภาพแวดลอมอาจสูง 1-5 เมตร ทุกสวนของตน มันสําปะหลังมียางสีขาว การแตกกิ่งของมันสําปะหลังแตกตางกันตามพันธุ ซ่ึงแตกตางกันมาก ตั้งแตไมแตกก่ิง (unbranched) แตกกิ่ง 2 กิ่ง (dichotomus branching) แตกก่ิง 3 กิ่ง (trichotomus branching) แตไมเกิน 4 กิ่ง การแตกก่ิงยังมีจํานวนแตกตางกัน แตกก่ิงคร้ังแรก เรียก primary branch คร้ังท่ี 2 เรียก secondary branch จํานวนคร้ังท่ีแตกกิ่ง อาจมีมากข้ึนไป อีกได ถึงคร้ังที่ 7 ก็มี ความสูงของการแตกกิ่งแตกตางกันตามพันธุ บางพันธุแตก primary branch ตํ่า เม่ืออายุนอย บางพันธุแตก primary branch สูงเมื่ออายุมาก การแตกก่ิงทํามุมกับ ตนแตกตา งกันตามตามพนั ธุ

7 ลกั ษณะทว่ั ไปทางพฤกษศาสตร ภาพท่ี 1 เปรยี บเทยี บทรงตนเตย้ี และแตกกงิ่ กบั ไมแตกกง่ิ ภาพที่ 2 ทรงตน สงู และแตกกงิ่ ภาพท่ี 3 ลาํ ตนสีแตกตา งกนั ภาพที่ 4 รูป ลักษณะใบมันสําปะหลงั ท่ีแตกตา งกนั มาก

8 ตนมันสําปะหลังจัดเปนพวกไมเนื้อออน ไสกลางของตน (pith) มีขนาดใหญเปนผลให ตนเปราะหักงาย สวนของตนท่ีแก pith มีขนาดเล็กกวาสวนที่ยังออนสีของลําตนท่ีแตกตางกัน ตามพันธุ สวนยอดมักเปนสีเขียว สวนที่ตํ่าลงมามีสีแตกตางกันออกไป เชน สีเขียวเงิน สีเทาเงิน สีเหลือง จนถึงสีน้ําตาล ตนมีเปลือกบางลอกงายสวนของตนที่แกมักใบรวง ทําใหเกิด รอยแผลเปนของกานใบ ท่ีติดกับตนเรียก leaf scar ระยะหาง leaf scar เรียก storey length ระยะ storey length แตกตางกันขึ้นอยูกับพันธุ และระยะเวลาท่ีพืชเติบโต ในชวงฤดูฝน การ เจริญเติบโตเร็ว storey length ยาวหรือ leaf scar หางตรงกันขามในฤดูแลงการเจริญเติบโตมี นอย storey length ส้ันหรือ leaf scar ถี่เหนือ leaf scar ข้ึนไปมีตา (bud) ซ่ึงสามารถงอกงาม เปนตนใหมได เม่ือตนท่ีมีตาไปปลูก ขนาดของตนแตกตางกันตามพันธุตามสภาพแวดลอมและ ตามอายขุ องตน โดยเฉลยี่ เสน ผาศูนยก ลางของตนประมาณ 3-6 ซม. ใบ ใบมันสําปะหลัง เปนแบบ simple leaf แผนใบ ( lamina) ประกอบดวยแฉกใบ (lobe) ลึกแบบ palmate ตามปกติใบมี 3-9 lobe ใบท่ีมีอยูใกลชอดอกมีขนาดเล็กและมีจํานวน lobe นอย มักมีเพียง 1-3 lobe เทาน้ันรูปรางของ lobe แตกตางกันในแตละพันธุ lobe มีรูปรางตางๆ กันไดแก ovate, linear, oborate, lanceolate หรือ pandurate เสนใย (midrib) มีสีแตกตางกัน ตามพนั ธุ กานใบ (petioles) ติดอยกู ับฐานของแผนใบเปน รูปตัว V พยุงใหแผนใบอยูในแนวราบ กานยาวประมาณ 5–30 ซม. ยาวกวาแผนใบ กานใบมีสีแตกตางกัน ตั้งแตขาวหมนจนถึงสีแดง กานใบติดอยูกับลําตนโดยเรียงวนรอบลําตนแบบ 2/5 spiral phyllotaxy ลักษณะตางๆ ของใบ ไดแก จํานวน lobe ความยาว ความกวางของ lobe สีของกานใบ และสีของใบออน ใบแก สามารถใชจําแนกพันธุไ ด ดอก มันสําปะหลังเปนพืชชนิด monoecious คือ มีทั้งดอกตัวผู (staminate flower) และดอก ตัวเมีย (pistillate flower) ดอกตัวผูกับดอกตัวเมียอยูแยกดอกกัน แตอยูในชอดอก (inflorescence) เดียวกันชอดอกเปนแบบ penicle ชอดอกเกิดท่ีจุดตายอดของตน (apical branch) พนั ธุท่ีไมแ ตกกง่ิ จึงไมมีชอดอก ดอกตัวผูเกิดอยูที่สวนบนของชอดอก มีกลีบเล้ียง (sepel) 5 อัน ไมมีกลีบดอก (petal) แตละดอกมี 10 stamen จัดเรียงกันเปน 2 วง วงในมี 5 stamen และมี filament ส้ัน วงนอกมี 5 stamen และมี filament ยาวกวาวงใน filament แยกไมติดกัน ดอกตัวผูมีกานดอก (pedical) ยาว 0.5–1.0 ซม. ดอกตวั ผูบ านหลงั ดอกตวั เมียประมาณ 7–10 วัน ดอกตัวเมียเกิดอยูที่สวนลางของชอดอก โดยทั่วไปมีขนาดใหญกวาดอกตัวผู ประกอบดวยกลีบเลี้ยง 5 อัน ไมมีกลีบดอก petal, รังไข covary ประกอบดวย 3 caple แตละ caple มี 1 ovule

9 ภาพที่ 5 ดอกมนั สาํ ปะหลงั เกดิ ที่ยอด ภาพที่ 6 มันสาํ ปะหลังสวนใหญอ อกดอก ภาพท่ี 7 ดอกตัวผู ดอกตวั เมยี อยใู น ชอเดยี วกนั ดอกตวั ผอู ยู สว นบนของชอดอก ภาพที่ 8 เปรียบเทยี บดอกตัวผู (ขวา) กบั ดอกตัวเมยี (ซา ย)

10 จากการศึกษาพบวา ดอกตัวผูและดอกตัวเมีย เร่ิมบานเวลาประมาณ 12.00 น. ดอกตัว เมยี มีระยะ receptive ประมาณ 24 ชวั่ โมง ต้ังแตเร่ิมบาน สวนละอองเกสร (pollen) นั้นสามารถ เกบ็ ไวใน desicator ไดน านถงึ 6 เดือน ละอองเกสรจะรว งหมดในเวลาค่าํ ของวนั เดยี วกัน การผสมตามธรรมชาตขิ องมันสําปะหลัง เกิดขนึ้ ไดมักเกดิ จากแมลงและลมเปน ตัวนํามา ละอองเกสรไปตกลงบน stigma ของตัวเมีย เปนผลใหเกิดการผสมเกสร (pollination) ขึ้น หลังจากผสมเกสรใชเวลาประมาณ 8–19 ชัว่ โมง จึงเกดิ การผสมพันธุ (fertilization) ผลและเมลด็ หลังจากเกิดการผสมพันธุแลวไขก็จะเจริญเติบโตเปนผล ผลมันสําปะหลังเปนแบบ Capsule ผลโตเต็มที่ขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณครึ่งนิ้ว ประกอบดวย 3 locule แตละ locule มีเมล็ดอยูภายใน 1 เมล็ด แตละผลมี 6 wing ผลจะแกเต็มที่ประมาณ 2½ – 3 เดือน หลังจากการผสมพันธุ เม่ือผลแกเต็มท่ี จะแตกและคัดเมล็ด (dehiscent) เม็ดสีนํ้าตาลลายดํา ขนาดกวางประมาณ ¾ ซม. หนา ½ ซม. และยาว 1 ซม. ท่ีเมล็ดสามารถเห็น caruncle สีขาว ชดั เจน ราก หัว มนั สาํ ปะหลงั มรี ะบบรากชนิด adventitious root system เกิดจากสว นตางๆ ของตน คือ cambium ตา leaf scar และ สวนโคนของตน รากมันสําปะหลังมี 2 ชนิดคือ รากจริง (true or wiry roots) และรากสะสม (Modified or storages roots) รากจรงิ เจริญเตบิ โตไปทางลึกมากกวา ดานขางเปนรากยึดเหน่ียวและหาอาหารใหแกตน สวนรากสะสมเจริญเติบโตไปในทางดานขาง รอบๆ ตนเปนสวนมาก เมื่อตนมันสําปะหลังอายุ 2–3 เดือน หลังจากปลูกรากสะสมก็จะเริ่ม ขยายขึ้น จากการสะสมแปงใน parenchyma cell เรียกรากสะสมน้ีวา หัว อันเปนแหลงสะสม อาหาร หัวมันสําปะหลังสวนใหญเกิดอยูบริเวณโคนตนในรัศมีประมาณ 60 ซม. จํานวนหัว รูปราง ขนาด สี น้ําหนัก เปอรเซ็นตแปง ปริมาณกรดของหัว แตกตางกันไปตามแตละพันธุ มีจํานวนหัวประมาณ 5-15 หัวตอตน หัวมีขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 3-15 ซม. ข้ึนอยูกับ อายุและสภาพแวดลอมดว ย มแี ปง ประมาณ 15-40% เม่ือตัดหัวตามขวางจะเหน็ วาประกอบดว ย 3 สวน 1. ผิวหรือเปลือกชั้นนอก (periderm) เปนเย่ือบางๆ อยูช้ันนอกสุดเปน cork layer ความหนา ลักษณะเรียบ – ขรุขระ และสีของผิวนอกของหัวมันสําปะหลัง แตกตางกันออกไป มี สีขาว นา้ํ ตาลออ น นาํ้ ตาลแก ชมพู 2. เปลือกชั้นใน (cortical region) อยูถัดผิวเขามามีความหนา 0.1-0.3 เซนติเมตร สวนมากมีสีขาว ชมพู อาจมีสีน้ําตาล เปลือกประกอบดวย ชั้นของ cell ชนิดตางๆ ไดแก scleren chyma, cortical-parenchyma เรียกรวมกันวา เปลอื ก (peel)

11 ภาพท่ี 9 ดอกตัวผูของมันสาํ ปะหลงั ภาพท่ี 10 ดอกตัวเมยี ของมนั สาํ ปะหลัง ภาพที่ 11 ผล และเมลด็ มนั สําปะหลงั ภาพที่ 12 เมล็ดมันสาํ ปะหลัง

12 3. เนื้อหรือสวนแกนกลาง (large central pith) เปนสวนที่สะสมแปงเปนสวนประกอบ สวนใหญของหัวท้ังหมด เปนสวนที่ใชเปนอาหารได ประกอบดวยชั้นของ cell ชนิดตางๆ คือ cambium, parenchyma, xylem, vessel เนือ้ มีสีตางๆ ขาว ครมี เหลือง ชมพู แปงในหัวมันสําปะหลังสะสมอยูในสวนของ parenchyma cell ซึ่งมีอยูท้ังในสวนของ เปลอื กและเนื้อแตในเปลือกมปี ริมาณนอยกวา ในเนื้อ (โสภณ 2526 ข.) ตารางที่ 4 สวนประกอบหลักในหัวมนั สําปะหลงั องคป ระกอบในหัวมนั ปรมิ าณ (ตอ100 กรมั นํ้าหนกั หัวมัน) น้ํา 60.21 - 75.32 เปลือก 4.08 - 14.08 เนื้อ (แปง) 25.87 - 41.88 ไซยาไนด (ppm) 2.85 - 39.27 องคป ระกอบในหัวมนั ปรมิ าณ (ตอ100 กรัมนาํ้ หนกั แหงเนอื้ มัน) แปง 71.9 – 85.0 โปรตนี 1.57 – 5.78 เยื่อใย 1.77 – 3.95 เถา 1.20 – 2.80 ไขมนั 0.06 – 0.43 คารโ บไฮเดรตท่ไี มใชแปง 3.59 – 8.66 มันสําปะหลังเปนพืชที่เก็บสะสมอาหารไวในราก เม่ือพืชมีการสรางอาหารจากใบและ สวนท่ีเปนสีเขียวแลว จะสะสมในรูปคารโบไฮเดรต คือแปงไวในราก ความสามารถในการสราง และสะสมแปงในรากมีความแตกตางกันบาง เนื่องมาจากพันธุของมันสําปะหลัง อายุเก็บเก่ียว ปริมาณน้ําฝนในชวงแรกกอนการเก็บเกี่ยว และปจจัยอื่นๆ จึงทําใหสวนประกอบของหัวมัน อาจจะแตกตางกันไป โดยท่ัวไปหัวมันสําปะหลังมีอายุ 12 เดือน ที่ไดรับปริมาณน้ําฝนเพียงพอ และไมมีฝนตกชุกขณะเก็บเก่ียว จะมีสวนประกอบแสดงไดดังตารางที่ 4 จะเห็นวาองคประกอบ สวนใหญในรากนั้น นอกจากนํ้าแลวคือแปง ซึ่งมีถึงรอยละ 70-80 จึงถือวามันสําปะหลังเปนพืช ท่ีเปนแหลงของคารโบไฮเดรตท่ีใหพลังงานกับคนและสัตวไดดีที่สุด โดยปกติหัวมันสําปะหลังท่ี มปี รมิ าณแปง สูงปริมาณน้ําจะนอยและความหนาแนน ของหวั จะมสี ูง ฉะนั้นในการตรวจสอบหรือ วัดปริมาณแปง (เชอ้ื แปง) อยา งเรว็ ทีน่ ยิ มทาํ กันคือตรวจสอบความหนาแนนโดยการช่ังนํ้าหนัก หัวมันในนํ้า ถานํ้าหนักหัวมันในนํ้านอยแสดงวาหัวมันมีปริมาณน้ํามากและมีแปงนอย ในกรณี กลับกนั ถาน้ําหนกั หัวมนั ในนา้ํ มากกแ็ สดงวาหวั มนั มปี ริมาณน้ํานอ ยและมีแปงมาก

13 ภาพที่ 13 รูปรางและสีผิวของหวั มนั สาํ ปะหลงั ภาพที่ 14 หัวมนั สาํ ปะหลัง

14 ในตารางที่ 4 มีสารเคมีที่นาสนใจคือ ไซยาไนด (กรดไซยานิคอิสระ) ที่มีในหัวมันใน ปริมาณท่ีแตกตางกันต้ังแต 2.85 มิลลิกรัม ถึง 39.27 มิลลิกรัมตอกิโลกรัมของหัวมันสําปะหลัง กรดไซยานิคนี้เปนอันตรายตอส่ิงมีชีวิตจะมีอยูในหัวมันสดท่ีเพ่ิงเก็บมา เมื่อหัวมันถูกเก็บเกี่ยว จากไรแลวปริมาณกรดไซยานิคจะเร่ิมลดลง ถาถูกความรอน (เชน ตากแดด เผา ตม) กรดไซ ยานิคกจ็ ะแตกตัวหมดไป (กลาณรงค และคณะ 2542) ตารางที่ 5 ขอมลู บางประการทางอุตุนิยมวิทยาและอื่นๆ ที่พชื ตองการ ปจ จัยท่ีตองการ หนวย เหมาะสม ตา่ํ สุด สูงสดุ อุณหภูมิ องศาเซลเซียส 18-23 10 35 ปริมาณนํา้ ฝนทต่ี อ งการ มลิ ลิเมตร 1200-1500 500 4000 ความช้นื สัมพทั ธ เปอรเซ็นต 60 50 เนอื้ ดนิ ทุกชนดิ ยกเวน ดนิ เหนียวจดั การระบายน้ํา ตอ งการดินท่มี กี ารระบายนา้ํ ดี ความเปน กรด-ดา ง (pH) 6.0-7.0 5.0 8.5 ระยะวิกฤตติ อ การขาดนา้ํ อายุ 2 – 3 เดอื น อายพุ ืช วัน 365 สภาพจาํ กดั ตอการงอกของเมลด็ อุณหภมู ติ า่ํ กวา 10๐C แมลงศตั รู ไรแดง, ปลวก, เพลีย้ หอย, ดว งหนวดยาว โรค ใบจุดสนี ้าํ ตาล, ใบไหม, หัวเนา ปริมาณธาตอุ าหารทีต่ อ งการ กก. / ไร N 20 P2O5 5 K2O 25 (สรุ ชยั , 2537) 4. ชนิดและพนั ธมุ ันสําปะหลัง มนั สําปะหลังทป่ี ลกู ในแหลงปลูกท่ัวโลกและในประเทศไทย แบง เปน 2 ชนิด คอื 1. ชนิดหวาน (Sweet type) เปนมันสําปะหลังท่ีมีปริมาณกรดไฮโดรไซนานิคตํ่าไมมี รสขม ใชเพ่ือการบริโภคของมนุษย มีท้ังชนิดเน้ือรวน นุม และชนิดเนื้อแนน เหนียว ในประเทศ ไทยไมมีการปลูกเปนพ้ืนที่ใหญๆ เน่ืองจากมีตลาดจํากัด สวนใหญจะปลูกรอบๆ บาน หรือตาม รองสวน เพื่อบริโภคเองในครัวเรือนหรือเพื่อจําหนายตามตลาดสดในทองถ่ินในปริมาณไมมาก ราคาตอ กโิ ลกรมั จะประมาณ 2-4 บาท 2. ชนิดขม (Bitter type) เปนมันสําปะหลังที่มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคสูง เปนพิษ และมีรสขมไมเหมาะสําหรับการบริโภคของมนุษยหรือใชหัวสดเลี้ยงสัตวโดยตรง แตจะใช สําหรับอุตสาหกรรมแปรรูปตางๆ เชน แปงมัน มันอัดเม็ด แอลกอฮอล เนื่องจากมีปริมาณแปง สงู ราคาตอ กโิ ลกรัมจะประมาณ 0.50-1.00 บาท

15 มันสําปะหลังท่ีปลูกในประเทศไทยสวนใหญเปนชนิดขมสําหรับใชในอุตสาหกรรม พันธุท่ีปลูกกันมากเรียกวาพันธุ “พื้นเมือง” ซึ่งสันนิษฐานวา เปนพันธุท่ีนําเขามาจากประเทศ มาเลเซีย มาปลูกคร้ังแรกทางภาคใตของประเทศไทย ที่สถานีทดลองภาคใต (ปจจุบันเปน ศูนยวิจัยยางสงขลา) แลวนําไปทดลองปลูกท่ีสถานีกสิกรรม จังหวัดระยอง (ปจจุบันเปน ศูนยวิจัยพืชไรระยอง) และบริเวณใกลเคียง ปรากฏวาใหผลดีมีความเหมาะสมจึงขยายไปทั่ว ประเทศ พันธุนี้มีช่ือเรียกตางๆ เชน พันธุพื้นเมือง พันธุยอดขาว พันธุสิงคโปร และพันธุระยอง ในระยะหลังเมื่อกรมวิชาการเกษตร และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เริ่มงานวิจัยมันสําปะหลัง จึงทําการปรับปรุงพันธุมันสําปะหลัง จนในปจจุบันมีพันธุมันสําปะหลังเพ่ือการอุตสาหกรรมท่ี ไดร บั การรับรองพันธุเปนพนั ธุแนะนําแลว 1. พันธุระยอง 1 ประวัติ ป พ.ศ. 2499 สถานีกสิกรรมหวยโปง (ศูนยวิจัยพืชไรระยอง ปจจุบัน) ไดรวบรวมพันธุ มันสาํ ปะหลงั จากทอ งถิ่นตา งๆ ในภาคตะวันออก พบวาพนั ธทุ ี่รวบรวมไดน้ันสวนใหญมีลักษณะ คลายคลงึ กัน ป พ.ศ. 2500 นําพันธุท่ีรวบรวมไดม าปลูกคัดเลือกแบบ Clonal Selection แลวคัดเลือก พันธุท่ีใหผลผลิตสูงสุด ปรากฏวาพันธุที่ใหผลผลิตสูงสุดเปนพันธุที่รวบรวมไดจากทองท่ีของ จังหวัดระยอง จึงไดเรียกชื่อวาพันธุระยองซึ่งตอมาไดขยายพันธุแจกจายใหเกษตรกร และ ทดลองเปรียบเทียบผลผลิตกับพันธุท่ีรวบรวมไดจากทองท่ีตางๆ ท่ัวประเทศ และพันธุที่นําเขา จากตางประเทศ เชน จากอินโดนีเซีย พบวา พันธุระยองใหผลผลิตสูงกวาพันธุตางๆ ที่นํามา เปรยี บเทียบ ป พ.ศ. 2518 กลุม นกั วชิ าการผูปฏิบัตงิ านวิจัยมันสาํ ปะหลังต้งั ชื่อพนั ธุที่คัดเลือกไดน้ีวา พนั ธรุ ะยอง 1 และไดผ ลิตตนพันธแุ จกจา ยใหเกษตรกรอยา งกวางขวางต้ังแตนัน้ เปนตนมา ลักษณะเดน พนั ธุระยอง 1 เปน พนั ธุท่ีใหผ ลผลติ คอ นขางสูง ปรับตวั เขากบั สภาพแวดลอ มตา งๆ ของ ประเทศไทยไดดี ทรงตนสูงตรง สะดวกในการปฏิบัติดูแลรักษา เก็บเก่ียว และขนยายตนพันธุ ตนพนั ธุมคี วามแขง็ แรง มีความงอกดีและเกบ็ รกั ษาไดน าน ขอ จาํ กัด ปรมิ าณแปงไมสงู คอื ประมาณ 18 เปอรเ ซน็ ต ในฤดฝู น หรือ 24 เปอรเ ซ็นต ในฤดแู ลง ลักษณะประจําพนั ธุ ยอดออนสีมวง ในที่เจริญเต็มท่ีสีเขียวอมมวง กานใบสีเขียวอมมวง แผนใบเปนแบบใบ หอกปลายมน (Oblanceolate) มี 3, 5, 7 ถึง 9 แฉก ตนสูงประมาณ 2.0-3.0 เมตร ลําตนตรง มี สีเทาเงิน รอยแผลเปนของใบ (Leaf scar) ใหญนูน แตกก่ิงนอยคือ ประมาณ 0-1 ระดับ หาก

16 แตกกิ่ง ก่ิงแรกจะแตกสูงจากพ้ืนดินประมาณ 1.8 เมตร กิ่งทํามุมแคบ (15-30 องศา) หัวยาว เรียวผิวเรียบ เปลือกสีขาวนวล เน้ือสีขาว สวนใหญจะออกดอกและติดผลเม่ืออายุเกินกวา 1 ป จงึ ไมคอ ยไดเหน็ ดอกและผลของพันธรุ ะยอง 1 ตามแหลง ปลูกโดยทว่ั ไป ผลผลิตและองคประกอบของผลผลิต ผลผลิตหัวสดเฉล่ีย 3.22 ตันตอไร มีแปง 18.3 เปอรเซ็นต หรือมีน้ําหนักแหง (Dry matter) 31.7 เปอรเซ็นต ในฤดูฝนใหผลผลิตแปงประมาณ 0.60 ตันตอไร หรือใหผลผลิตมัน แหงประมาณ 1.03 ตันตอไร มีน้ําหนักรวม (Total plant weight) 5.70 ตันตอไร ดัชนีการเก็บ เกี่ยว (H.I.) ประมาณ 0.56 และมจี ํานวนหัวตอตนเฉล่ยี 8.8 หวั สวนประกอบทางเคมขี องหัวสด มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิค 43 ppm แคโรทีน 79.7 ไมโครกรัม/100 กรัม ไวตามินเอ 133.0 IAU/100 กรมั ความตา นทานตอโรคและแมลง ในสภาพธรรมชาติพันธุระยอง 1 มีความตานทานโรคใบไหมปานกลาง ไมพบอาการ ของโรครุนแรงถึงขนาดทําใหตนตาย แตจากการทดลองปลูกเชื้อ (Xanthomonas campestris pv. manihotis) พบวาพันธุระยอง 1 แสดงอาการของโรครุนแรง คือมีอาการยางไหลท่ีตนทําให ยอดเหยี่ ว ถงึ ยอดแหงตาย โรคใบจุดสีนํ้าตาล พบเห็นไดท่ัวไปในแปลงปลูกมันสําปะหลังทั่วประเทศ แตระดับการ เปนโรคไมรุนแรงถึงขั้นทําใหตนตาย ผลการสํารวจการเปนโรคใบจุดในมันสําปะหลัง 124 พันธุ ในป 2532 พบวาพันธุที่เปนโรคใบจุดมากท่ีสุด มีระดับการเปนโรค 8.74 เปอรเซ็นต พันธุ ระยอง 1 มรี ะดับการเปน โรค 4.80 เปอรเ ซน็ ต ไรแดง แมลงหวี่ขาว และเพลี้ยแปงเปนศัตรูธรรมชาติที่สําคัญของมันสําปะหลัง แตการ แพรระบาดในแตละปไมสม่ําเสมอ จากการสํารวจความหนาแนนของศัตรูพืช 3 ชนิดดังกลาว ในป 2533 ซึ่งมีการแพรระบาดของแมลงนอย พบวาพันธุระยอง 1 ไมมีไรแดง แมลงหว่ีขาว หรอื เพล้ยี แปง เขาทําลายเลย แตในป 2534 ซึ่งมีแมลงแพรระบาดมาก พบการเขาทําลายโดยไรแดง มคี วามหนาแนน 14.4 เปอรเ ซน็ ต แมลงหว่ีขาว 3.8 เปอรเซ็นต และเพลี้ยแปง 1.9 เปอรเซน็ ต 2. พันธรุ ะยอง 3 ประวตั ิ พันธุระยอง 3 มีช่ือเดิมวา CM407-7 หรือหวยโปง 4 ไดจากการท่ีนักวิชาการจาก สถาบันวิจัยพืชไรนําเมล็ดลูกผสมท่ีเกิดจากการผสมระหวางพันธุ MMex 55 กับพันธุ MVen 307 ที่ศูนยเกษตรเขตรอนนานาชาติ (CIAT) ประเทศโคลอมเบีย มาปลูกคัดเลือกในประเทศไทย ทสี่ ถานที ดลองพืชไรหว ยโปง เมื่อป พ.ศ. 2518 มีขัน้ ตอนการดาํ เนนิ งานดังนี้ ป พ.ศ. 2519 คดั เลือกครง้ั ท่ี 1 จากตนท่ปี ลูกจากเมล็ด

17 ป พ.ศ. 2520 คัดเลอื กคร้งั ท่ี 2 แบบตนตอแถว ป พ.ศ. 2521-2525 เปรียบเทียบเบื้องตน เปรียบเทียบมาตรฐาน เปรียบเทียบในทองถิ่น เปรียบเทียบในไรเกษตรกร และทดสอบพันธุในไรเกษตรกร ผลปรากฏวา CM407-7 หรือ หวยโปง 4 มีเปอรเซ็นตแปงสูงและใหผลผลิตแปงสูงกวาพันธุระยอง 1 ไดรับการรับรองพันธุ เปนพันธุแนะนํา ช่ือ พันธุระยอง 3 จากคณะกรรมการวิจัย กรมวิชาการเกษตร เม่ือวันที่ 18 พฤษภาคม 2526 ลักษณะเดน มีเปอรเซ็นตแปงสูง คือประมาณ 23 เปอรเซ็นตในฤดูฝน หรือ 28 เปอรเซ็นตในฤดูแลง ใหผลผลิตแปงสูงกวาพันธุระยอง 1 มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคตํ่ากวาพันธุระยอง 1 นําไปใช บรโิ ภคไดดว ย ขอจํากดั ตนเตี้ยและแตกก่ิง ไมสะดวกในการปฏิบัติดูแลรักษา หัวแหลมยาว เก็บเกี่ยวยากกวา พันธุระยอง 1 และตองการสภาพแวดลอมดีเพ่ือใหไดผลผลิตดี หากสภาพแวดลอมไมดีจะให ผลผลิตหัวสดตาํ่ กวา พันธุระยอง 1 ลกั ษณะประจาํ พันธุ ยอดออนสีเขียวออน ใบที่เจริญเต็มท่ีสีเขียวออน กานใบสีเขียวออนปนแดง แผนใบเปน แบบใบหอก (Lanceolate) ตนสูงประมาณ 1.30-1.80 เมตร ลําตนสีน้ําตาลออน แตกกิ่ง 1-4 ระดับ ระดับแรกสูงจากพ้ืนดินประมาณ 80 ซม. ก่ิงทํามุมกวาง 75-90 องศา หัวยาวเรียวแหลม เปลือกสนี าํ้ ตาลออน เนอื้ ขาว ออกดอกไดห ลายครง้ั ภายใน 1 ป มีดอกและผลดก ผลผลิตและองคป ระกอบของผลผลติ ผลผลิตหัวสดเฉลี่ย 2.73 ตันตอไร มีแปง 23.1 เปอรเซ็นต หรือมีน้ําหนักแหง (Dry matter) 35.2 เปอรเซ็นต ในฤดูฝน ใหผลผลิตแปงประมาณ 0.65 ตันตอไร หรือใหผลผลิตมัน แหงประมาณ 0.97 ตันตอไร มีนํ้าหนักรวม (Total plant weight) 4.32 ตันตอไร ดัชนีเก็บเก่ียว (H.I.) ประมาณ 0.63 ซม. และมจี ํานวนหัวตอตน เฉลี่ย 7.4 หวั สว นประกอบทางเคมขี องหัวสด มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิค 34 ppm แคโรทีน 94.7 ไมโครกรัม/100 กรัม ไวตามินเอ 158.0 IAU/100 กรัม ความตา นทานตอโรคและแมลง ทง้ั ในสภาพธรรมชาตแิ ละจากการทดลองปลูกเช้ือพบวา พันธุระยอง 3 มีความตานทาน โรคใบไหมป านกลาง ผลการสํารวจโรคใบจุดสีนํ้าตาลในป 2532 พบวา พันธุระยอง 3 มีระดับการเปนโรค 2.31 เปอรเ ซ็นต ซง่ึ ตาํ่ กวา พนั ธรุ ะยอง 1 จากการสํารวจความหนาแนนของไรแดง แมลงหว่ีขาว และเพล้ียแปง ในป 2533 ซ่ึงมี การแพรระบาดของแมลงนอย พบความหนาแนนของไรแดงในพันธุระยอง 3 1.36 เปอรเซ็นต

18 แมลงหว่ีขาว 2.28 เปอรเซ็นต และไมพบเพล้ียแปง ในป 2534 ซึ่งมีแมลงแพรระบาดมาก พบ ความหนาแนน ของไรแดง 13.8 เปอรเ ซน็ ต แมลงหว่ีขาว 8.1 เปอรเซ็นต และไมพบเพลี้ยแปง 3. พันธุระยอง 2 ประวตั ิ พันธุระยอง 2 มีชื่อเดิม CM 305-21 หรือหวยโปง 6 ไดจากการท่ีนักวิชาการจาก สถาบันวิจัยพืชไรนําเมล็ดลูกผสมที่เกิดจากการผสมระหวางพันธุ MCol 113 กับพันธุ MCol 22 ที่ศูนยเกษตรเขตรอนนานาชาติ (CIAT) ประเทศโคลอมเบีย มาปลูกคัดเลือกในประเทศไทย ที่ สถานีทดลองพชื ไรหว ยโปง เมอ่ื ป 2518 มขี น้ั ตอนการดาํ เนนิ งานดังน้ี ป พ.ศ. 2519 คดั เลอื กครัง้ ท่ี 1 จากตน ท่ปี ลูกจากเมลด็ ป พ.ศ. 2520 คัดเลอื กคร้งั ที่ 2 แบบตน ตอแถว ป พ.ศ. 2521-2525 เปรียบเทียบพันธุและทดสอบพันธุ ผลปรากฏวาพันธุ CM 305-21 ใหผลผลิตสูงระดับเดียวกับพันธุระยอง 1 มีคุณสมบัติเหมาะในการบริโภคเมื่อนําไปผานเปน แผนบางๆ แลวนํามาทอดกรอบจะมีรสชาติคลาย Potato Chips จึงไดรับการรับรองพันธุเปน พันธุแนะนําสําหรับการบริโภค ชื่อพันธุระยอง 2 จากคณะกรรมการวิจัย กรมวิชาการเกษตร เม่อื วันท่ี 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 ลกั ษณะเดน ผลผลิตสูงเชนเดียวกับพันธุระยอง 1 เนื้อแนน เหนียว มีรสหวาน และมีสีเหลือง เหมาะ สําหรับบริโภคโดยเฉพาะในรูปของมนั ทอดกรอบ ขอ จาํ กัด มีเปอรเซ็นตแปงต่ําประมาณ 14 เปอรเซ็นตในฤดูฝน ไมสามารถปลูกเพ่ือสงขาย โรงงานอตุ สาหกรรมแปงมันหรอื มนั เสน ได ลักษณะประจําพันธุ ยอดออนสีเขียวอมมวง ใบที่เจริญเต็มที่สีเขียวแก กานใบสีเขียวอมมวง แผนใบเปน แบบใบหอก (Lanceolate) ตนสูงประมาณ 1.8-2.2 เมตร ลําตนโคง สีน้ําตาลออนอมเขียว แตกก่ิง 0-1 หากแตกกิ่งจะแตกท่ีระดับความสูงประมาณ 1.5 เมตรขึ้นไป กิ่งทํามุมกวาง 75-90 องศา หัวไมดก เปลือกนอกสีนํ้าตาลออน เน้ือในสีเหลืองออน มักจะไมออกดอกภายใน 1 ป ดอกและผลไมดก ดอกตัวผไู มม ีอบั และละอองเกสร องคประกอบทางเคมขี องหวั สด มแี คโรทนี สูงกวา พนั ธอุ ื่นๆ คือประมาณ 502.04 ไมโครกรมั /100 กรมั มไี วตามินเอ 837 IAU/100 กรมั มีกรดไฮโดรไซยานคิ 24 ppm

19 ความตานทานโรคและแมลง ในสภาพธรรมชาติพันธุระยอง 2 มีความตานทานโรคใบไหมปานกลาง แตจากการปลูก เชือ้ จะมอี าการของโรครนุ แรง คือ มีอาการยางไหลที่ตน ยอดเหีย่ ว หรือยอดแหง ตายได ผลการสํารวจโรคใบจุดสีน้ําตาลในป 2532 พบวาพันธุระยอง 2 มีระดับการเปนโรค 3.25 เปอรเ ซน็ ต ซ่งึ นอยกวาพนั ธหุ า นาทแี ละระยอง 1 การแพรร ะบาดของไรแดง แมลงหวข่ี าว และเพลี้ยแปงในพันธุระยอง 2 ในป 2534 ซ่ึงมี การแพรระบาดของแมลงมาก พบวามีความหนาแนนของโรคไรแดงสูงถึง 41.2 เปอรเซ็นต แต แมลงหวข่ี าว และเพลี้ยแปงมีนอ ยคือ 3.7 เปอรเซ็นต และ 5.6 เปอรเ ซ็นต ตามลําดับ 4. พนั ธุระยอง 5 ประวัติ พันธุระยอง 5 ไดจากการผสมพันธุระหวางพันธุ 27-77-10 กับพันธุระยอง 3 ในป 2525 ทีศ่ ูนยวจิ ยั พืชไรระยอง มีขนั้ ตอนการดําเนินงานดงั น้ี ป พ.ศ. 2525 คดั เลอื กครัง้ ที่ 1 จากตนที่ปลกู ดว ยเมลด็ ป พ.ศ. 2526 คดั เลอื กครั้งที่ 2 แบบตนตอ แถว ป พ.ศ. 2527-2536 เปรยี บเทียบพนั ธแุ ละทดสอบพนั ธปุ ระมาณ 120 แปลง ป พ.ศ. 2537 กรมวชิ าการเกษตรรับรองพันธุ ลกั ษณะเดน ผลผลติ สงู ปรบั ตัวเขากับสภาพแวดลอ มไดด ี ตนพันธมุ คี วามงอกดี ลกั ษณะประจาํ พนั ธุ ยอดออ นสีมวงออน ใบที่เจริญเต็มท่ีสีเขยี วแก กานใบสีแดงเขม แผนใบเปนแบบใบหอก (Lanceolate) ตนสูงประมาณ 1.7-2.2 เมตร ลําตนสีนํ้าตาลออนอมเขียว แตกก่ิง 2-3 ระดับ ระดับแรกสูงจากพื้นดินประมาณ 100-200 ซม. กิ่งทํามุมประมาณ 45-60 องศา หัวอวนสั้นเก็บ เกยี่ วงาย เปลือกนอกสนี าํ้ ตาลออน เนอ้ื สขี าว ออกดอกไดภ ายใน 1 ป ดอกและผลคอ นขา งดก ผลผลติ และองคประกอบของผลผลิต ผลผลิตหัวสดเฉลี่ย 4.02 ตันตอไร มีแปง 22.3 เปอรเซ็นต หรือมีน้ําหนักแหง (Dry matter) 34.6 เปอรเซ็นต ในฤดูฝนใหผลผลิตแปงเฉล่ีย 0.92 ตันตอไร หรือใหผลผลิตมันแหง เฉลีย่ 1.41 ตันตอไร มนี ้ําหนักตนรวม (Total plant weight) 6.03 ตันตอไร ดัชนีเก็บเก่ียว (H.I.) ประมาณ 0.67 และมีจํานวนหวั ตอตนเฉลีย่ 10.3 หัว ความตานทานตอ โรคและแมลง ในสภาพธรรมชาติจะพบอาการของโรคใบไหมในพันธุระยอง 5 ไดมากกวาพันธุอื่นๆ แตยังจัดวาเปนพันธุท่ีมีความตานทานตอโรคใบไหมปานกลาง เน่ืองจากไมพบวาตนตายจาก

20 การเปนโรค สวนใหญมีอาการที่ใบ แตไมลุกลามมากไปกวาน้ัน จากการปลูกเชื้อยืนยันวาพันธุ ระยอง 5 มีความตา นทานโรคใบไหมป านกลาง ผลการสํารวจโรคใบจุดสีนํ้าตาลในป 2532 พบวาพันธุระยอง 5 มีระดับการเปนโรค 4.26 เปอรเซ็นต ซ่ึงมากกวา พันธุระยอง 3 ระยอง 60 และระยอง 90 แตน อ ยกวาพนั ธรุ ะยอง 1 จากการสํารวจความหนาแนนของไรแดง แมลงหวี่ขาว และเพลี้ยแปงในป 2533 ซึ่งมี การแพรระบาดของแมลงนอย พบความหนาแนนของไรแดงในพันธุระยอง 5 แมลงหว่ีขาว 0.10 เปอรเซ็นต และเพล้ียแปง 0.49 เปอรเซ็นต ในป 2534 มีการแพรระบาดของแมลงมาก พบความหนาแนนของไรแดง 5.6 เปอรเซ็นต แมลงหวี่ขาว 6.3 เปอรเซ็นต และเพล้ียแปง 3.8 เปอรเ ซน็ ต 5. พันธรุ ะยอง 60 ประวตั ิ พันธุระยอง 60 มีช่ือเดิมวา CMR 24-63-43 ไดจากการผสมพันธุระหวางพันธุ MCol 1684 กบั พนั ธรุ ะยอง 1 ทศ่ี ูนยวจิ ยั พืชไรร ะยองในป 2524 มขี น้ั ตอนการดาํ เนนิ งานดงั นี้ ป พ.ศ. 2524 คัดเลอื กครงั้ ที่ 1 จากตน ทปี่ ลกู จากเมลด็ ป พ.ศ. 2525 คดั เลอื กครัง้ ท่ี 2 แบบตนตอแถว ป พ.ศ. 2526-2530 เปรียบเทียบเบื้องตน เปรียบเทียบมาตรฐาน เปรียบเทียบใน ทองถิ่น เปรียบเทียบในไรเกษตรกร และทดสอบพันธุในไรเกษตรกร โดยเก็บเก่ียวเมื่ออายุ 8 เดือน และ 12 เดือน ป พ.ศ. 2530 ไดรับการรับรองพันธุเปนพันธุแนะนําจากคณะกรรมการวิจัย กรม วิชาการเกษตร เม่ือวันท่ี 30 กันยายน โดยใหช่ือวา พันธุระยอง 60 เพื่อรวมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในวโรกาสวันมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ ลกั ษณะเดน ใหผลผลิตสูง ไมวาจะเก็บเก่ียวเม่ืออายุ 8 เดือนหรือ 12 เดือน จึงเหมาะสําหรับ เกษตรกรท่ีตองการพันธุอายุเก็บเกี่ยวสั้น นอกจากนี้ยังมีทรงตนสูงตรง แตกกิ่งนอยสะดวกใน การปฏิบัติดูแลรักษา เก็บเกี่ยวและขนยายตนพันธุ มีจํานวนลําตน 2-4 ลําตอหลุมทําใหมีอัตรา การขยายพนั ธุส ูง ขอจาํ กดั ปริมาณแปงไมสูง คือประมาณ 19 เปอรเซ็นตในฤดูฝน และเนื้อในของหัวมีสีขาวครีม โรงงานอตุ สาหกรรมบางแหงใชเปนขออางในการตัดราคารับซ้อื หวั มนั สด

21 ลกั ษณะประจาํ พนั ธุ ยอดออนสีเขียวอมน้ําตาล ใบท่ีเจริญเต็มที่สีเขียว กานใบสีเขียวออนปนแดง แผนใบ เปน แบบใบหอก (Lanceolate) ตน สูงประมาณ 1.75-2.50 เมตร ลาํ ตนตง้ั ตรงมสี ีนาํ้ ตาลออ น พันธุทนี่ ิยมปลูก ภาพท่ี 15 พนั ธรุ ะยอง 1 ภาพที่ 16 พันธุระยอง 3 ภาพที่ 17 พนั ธรุ ะยอง 5 ภาพที่ 18 พนั ธุระยอง 60

22 แตกกิ่ง 0-3 ระดับ ระดับแรกสูงจากพ้ืนดินประมาณ 150 ซม. กิ่งทํามุม 45-60 องศา หัวอวน และคอนขางสนั้ เปลอื กสีนํา้ ตาลออน เนือ้ สคี รมี ออกดอกและตดิ ผลไดภายใน 1 ป ความดกของ ดอกและผลปานกลาง ผลผลติ และองคป ระกอบของผลผลติ ผลผลิตหัวสดเฉล่ีย 3.52 ตันตอไร มีแปง 18.5 เปอรเซ็นต หรือมีน้ําหนักแหง (Dry matter) 32.0 เปอรเซ็นต ในฤดูฝนใหผลผลิตแปงประมาณ 0.65 ตันตอไร หรือใหผลผลิตมัน แหงประมาณ 1.12 ตันตอไร มีน้ําหนักรวม (Total plant weight) 5.8 ตันตอไร ดัชนีเก็บเกี่ยว (H.I.) ประมาณ 0.60 และมจี าํ นวนหัวตอตนเฉลี่ย 8.6 หวั สว นประกอบทางเคมีของหวั สด มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิค เม่ือวัดโดยใช picric acid paper อยูในระดับ 3 คือ ประมาณ 60-89 ppm. ความตา นทานตอโรคและแมลง ท้ังในสภาพธรรมชาติและจากการทดลองปลูกเชื้อพันธุระยอง 60 มีความตานทานโรค ใบไหมป านกลาง คอื มอี าการใบจดุ หรอื ใบไหม แตไ มมีอาการมากไปกวานนั้ 6. พันธเุ กษตรศาสตร 50 ประวัติ พันธุเกษตรศาสตร 50 มีชื่อเดิมวา MKUC 28-77-3 ไดจากการผสมพันธุระหวางพันธุ ระยอง 1 และพันธุ (CMC76 x V43) 21-1 หรือพันธุระยอง 90 ในป 2527 ท่ีสถานีวิจัยศรีราชา ของมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร มขี น้ั ตอนการดําเนนิ งานดงั น้ี ป พ.ศ. 2528 คดั เลอื กคร้งั ท่ี 1 จากตนทป่ี ลกู จากเมลด็ ป พ.ศ. 2529 คดั เลอื กครั้งท่ี 2 แบบตน ตอแถว ป พ.ศ. 2530-2532 เปรยี บเทยี บพนั ธุ และทดสอบพันธุ ป พ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรแนะนําพันธุ โดยตั้งช่ือวาเกษตรศาสตร 50 เพื่อรวมฉลองวาระครบรอบ 50 ป ของการกอ ตั้งมหาวทิ ยาลยั ลักษณะเดน ปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมไดดี ทรงตนสูง ปฏิบัติดูแลรักษางาย ตนพันธุแข็งแรง มี ความงอกดี และเกบ็ รักษาไดน าน ผลผลติ สูงและคณุ ภาพดี คือ มเี ปอรเ ซน็ ตแ ปงสงู ขอ จํากัด พันธุเกษตรศาสตร 50 มีขอจํากัดนอย ขอจํากัดท่ีพบคือ ในบางทองที่พันธุ เกษตรศาสตร 50 จะแตกก่ิงซง่ึ จากการท่ีมีลาํ ตน โคง และกง่ิ ทาํ มมุ กวาง จะทําใหไ มสะดวกในการ ปฏิบัตดิ ูแลรกั ษาและเกบ็ เกีย่ ว ขอ จาํ กดั นพี้ บไดเชนเดียวกนั ในพนั ธรุ ะยอง 90

23 ลักษณะประจาํ พนั ธุ ยอดออนสีมวง ไมมีขน ใบที่เจริญเต็มท่ีสีเขียวอมมวง แผนใบเปนแบบใบหอก (Lanceolate) ตนสูงประมาณ 2.0-3.0 เมตร ลําตนโคง มีสีเทาเงิน แตกก่ิงนอย คือ 0-1 ระดับ หากแตกก่ิง ก่ิงแรกจะแตกสูงจากพื้นดินประมาณ 1.50 เมตร กิ่งทํามุมกวาง 75-90 องศา หัวมี ขนาดสมํ่าเสมอ เปลือกสีนํ้าตาล เน้ือสีขาว สวนใหญไมพบการติดดอกออกผลภายใน 1 ป ดอกและผลไมดก ผลผลิตและองคประกอบของผลผลติ ผลผลิตหัวสดเฉลี่ย 3.67 ตันตอไร มีแปง 23.3 เปอรเซ็นต หรือมีน้ําหนักแหง (Dry matter) 35.4 เปอรเซ็นต ในฤดูฝนใหผลผลิตแปงเฉลี่ย 0.87 ตันตอไร หรือใหผลผลิตมันแหง เฉลย่ี 1.32 ตนั ตอ ไร มนี ้ําหนักตนรวม (Total plant weight) 5.66 ตันตอไร ดัชนีเก็บเก่ียว (H.I.) ประมาณ 0.65 และมีจํานวนหัวตอ ตน เฉลีย่ 10.2 หวั ความตานทานตอ โรคและแมลง ในสภาพธรรมชาติพันธุเกษตรศาสตร 50 มีความตานทานตอโรคใบไหมปานกลาง แต ไมมกี ารทดสอบโดยการปลูกเชอื้ ผลการสํารวจโรคใบจดุ สนี ้ําตาลในป 2532 พบวา พนั ธเุ กษตรศาสตร 50 มีระดับการเปน โรค 3.44 เปอรเซ็นต จากการสํารวจความหนาแนนของไรแดง แมลงหวี่ขาวและเพลี้ยแปงในป 2533 ซ่ึงมี การแพรระบาดของแมลงนอย ไมพบไรแดง และแมลงหว่ีขาวทําลาย พันธุเกษตรศาสตร 50 จะพบแตเพลีย้ แปง เลก็ นอย โดยมีความหนาแนน ของเพลีย้ แปง 0.19 เปอรเซ็นต 7. พันธุร ะยอง 90 ประวตั ิ พันธุระยอง 90 มีช่ือเดิมวา (CMC76 x V43) 21-1 ไดจากการผสมพันธุ CMC76 กับ V43 ในป 2521 ท่ศี ูนยวจิ ยั พชื ไรร ะยอง มีขนั้ ตอนการดําเนนิ งานดงั นี้ ป พ.ศ. 2521 คดั เลอื กครั้งท่ี 1 จากตนที่ปลูกดว ยเมลด็ ป พ.ศ. 2522 คดั เลอื กคร้ังท่ี 2 แบบตนตอ แถว ป พ.ศ. 2523-2533 เปรียบเทียบพนั ธุ และทดสอบพันธุประมาณ 150 แปลง ป พ.ศ. 2534 ไดรับการรับรองพันธุเปนพันธุแนะนําจากคณะกรรมการวิจัย กรม วิชาการเกษตร เม่ือวันที่ 8 กรกฎาคม 2534 โดยใหชื่อวา พันธุระยอง 90 เพื่อรวม เทอดพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุ 90 พรรษา

24 ลักษณะเดน ผลผลิตสูงและมีเปอรเซ็นตแปงสูง ใหผลผลิตสูงกวาพันธุระยอง 1 ประมาณ 5 เปอรเซน็ ต และมีแปง ประมาณ 24 เปอรเ ซน็ ตในฤดูฝน หรือ 30 เปอรเ ซ็นตในฤดแู ลง ขอ จํากัด ลาํ ตนโคง หากมกี ารแตกก่ิงจะทําใหปฏิบตั ดิ แู ลรกั ษายาก และตน พนั ธเุ สื่อมคุณภาพเร็ว ควรใชต นพนั ธภุ ายใน 2 สปั ดาห หลงั การเกบ็ เกี่ยว ลักษณะประจําพนั ธุ ยอดออนสีเขียวออน ใบท่ีเจริญเต็มท่ีสีเขียวแก กานใบสีเขียวออน แผนใบเปนแบบใบ หอก (Lanceolate) ตนสูงประมาณ 1.60-2.00 เมตร ลําตนสีน้ําตาลอมสม แตกกิ่ง 0-1 ระดับ ระดับแรกสูงจากพ้ืนท่ีดินประมาณ 120 ซม. ก่ิงทํามุมกวาง 75-90 องศา หัวยาวเรียว เปลือกสี น้ําตาลเขม เนื้อสขี าว ออกดอกไดภ ายใน 1 ป ถา ลาํ ตนมีการแตกกง่ิ ดอกและผลดกปานกลาง ผลผลิตและองคป ระกอบของผลผลติ ผลผลิตหัวสดเฉลี่ย 3.65 ตันตอไร มีแปง 23.7 เปอรเซ็นต หรือมีน้ําหนักแหง (Dry matter) 35.7 เปอรเซ็นต ในฤดูฝนใหผลผลิตแปงเฉลี่ย 0.88 ตันตอไร หรือใหผลผลิตมันแหง เฉล่ีย 1.31 ตันตอไร มีนํ้าหนักตนรวม (Total plant weight) 5.3 ตันตอไร ดัชนีเก็บเกี่ยว (H.I.) ประมาณ 0.67 และมจี ํานวนหัวตอ ตน เฉลีย่ 9.1 หัว ความตา นทานตอ โรคและแมลง ท้ังในสภาพธรรมชาติและจากการทดลองปลูกเช้ือพันธุระยอง 90 มีความตานทานโรค ใบไหมป านกลาง คอื มีอาการใบจุดหรือใบไหม แตไ มมอี าการมากไปกวาน้นั ผลการสํารวจโรคใบจุดสีนํ้าตาลในป 2532 พบวา พันธุระยอง 90 มีระดับการเปนโรค 3.66 เปอรเซน็ ต ซึง่ ตํ่ากวา พันธุร ะยอง 1 แตส ูงกวา พนั ธรุ ะยอง 3 และระยอง 60 จากการสํารวจความหนาแนนของไรแดง แมลงหว่ีขาว และเพลี้ยแปง ในป 2533 ซึ่งมี การแพรระบาดของแมลงนอย ไมพ บไรแดง แมลงหวขี่ าว และเพลีย้ แปงในพนั ธรุ ะยอง 90 แตใน ป 2534 ซึ่งมีแมลงแพรระบาดมาก พบวา พันธุระยอง 90 ถูกทําลายโดยแมลงหว่ีขาวมาก โดย มีความหนาแนนถึง 81.9 เปอรเซ็นต สวนไรแดงที่พบมีความหนาแนนเพียง 1.9 เปอรเซ็นต และไมพบเพลย้ี แปงเลย 8. พันธุศรีราชา 1 ประวัติ พันธศรีราชา 1 ไดจากการผสมพันธุระหวางพันธุ MKU 2-162 กับ ระยอง 1 โดยผสมท่ี สถานวี จิ ัยศรรี าชา ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ในป พ.ศ. 2526 ป พ.ศ. 2527-2533 คดั เลือกพันธุ เปรียบเทยี บพนั ธุ และทดสอบพันธุ

25 เดือนกรกฎาคม 2533 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรอนุมัติใหขยายพันธุสงเสริมให เกษตรกรนาํ ไปทดลองปลูก ลักษณะเดน มีคุณสมบัติคลายคลึงกับพันธุระยอง 1 แตมีเปอรเซ็นตแปงสูงกวาพันธุระยอง 1 ประมาณ 4 เปอรเซ็นต ลักษณะประจําพนั ธุ ทรงตน สีของยอดออน กานใบ และใบใกลเคียงกับพันธุระยอง 1 แตกตางจากพันธุ ระยอง 1 คือ แผน ใบกลางของพันธุศรรี าชา 1 จะเปนรูปหอก (Lanceolate) สวนของพันธุระยอง 1 จะมีรอยคอดและโปงบริเวณปลายเล็กนอย (Oblanceolate) และสีเน้ือของหัว พันธุระยอง 1 เปน สีขาว สวนของพันธศุ รรี าชา 1 เปน สีครีม 9. พันธหุ านาที ลักษณะเดน เน้ือรวนซยุ เหมาะสําหรบั บรโิ ภคในรูปมนั นึ่งหรอื มนั เชอื่ ม หรอื มนั เผา ขอจํากัด ผลผลิตตํา่ ถาปลกู ในสภาพไร ลักษณะประจาํ พนั ธุ ยอดออนสีเขียวออน ใบที่เจริญเต็มท่ีสีเขียวออน กานใบสีแดงเขม แผนใบเปนแบบ ใบหอก (Lanceolate) ตนสงู 2.5-3.5 เมตร ลาํ ตนสนี ้าํ ตาลอมเขียว แตกกิง่ 1-3 ระดบั ระดับแรก สูงจากพื้นดินประมาณ 1.8 เมตร ก่ิงทํามุมประมาณ 45-60 องศา หัวยาวเรียว เปลือกนอก ขรุขระสนี า้ํ ตาลเขม เนือ้ สขี าว มักจะไมออกดอก ภายใน 1 ป ดอกและผลไมดก ถาปลูกในสภาพไรควรเก็บเก่ียวเมื่ออายุประมาณ 6-8 เดือน หากเกินกวาน้ันเน้ือจะมี เสีย้ นมาก ไมเหมาะจะนาํ มาบริโภค แตถ า ปลูกในสภาพสวนเนอื้ จะไมเ ปน เสยี้ น องคป ระกอบทางเคมี ประกอบดวยคารโบไฮเดรท 87 เปอรเซ็นต โปรตีน 2.3 เปอรเซ็นต ไขมัน 1.2 เปอรเซ็นต ไวตามินเอ 141 IAU/100 กรัม แคลเซียม 0.03 เปอรเซ็นต ปริมาณกรดไฮโดร ไซยานิค 12 ppm. ผลผลิตและองคป ระกอบของผลผลติ หากปลูกมันสําปะหลังพันธุหานาทีในสภาพไรจะใหผลผลิตต่ํา คือเฉล่ียประมาณ 2.00- 3.00 ตันตอไร แตถาปลูกในสภาพสวน เชนท่ีจังหวัดปทุมธานี จะใหผลผลิตสูงประมาณ 5.00 ตันตอไร พันธุหานาทีมีเปอรเซ็นตแปงเฉล่ียประมาณ 14 เปอรเซ็นต เกษตรกรจะไมนําผลผลิต ของพนั ธหุ า นาทีไปขายสง โรงงานอตุ สาหกรรม ความตา นทานโรคและแมลง พันธุหานาทีมีความตานทานตอโรคใบไหมท้ังในสภาพธรรมชาติและจากการทดลอง ปลูกเช้อื โดยจะไมคอยปรากฏอาการของโรค (จรุงสทิ ธิ์ และอจั ฉรา, 2537 ข.)

26 10. พันธุระยอง 72 ลกั ษณะประจาํ พันธุ ลําตนทรงสีเขียว สูง 180-250 ซม. แตกก่ิงนอยปรับตัวกับสภาพแวดลอมไดดี โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตนพันธุเก็บไวไดประมาณ 30 วัน หลังจากตัดตน (กรม วิชาการเกษตร, 2545) ผลผลติ และองคป ระกอบของผลผลติ ผลผลิตเฉล่ีย 5.2 ตันตอไร มีแปงเฉลี่ย 22 เปอรเซ็นต ในฤดูฝน และ 28 เปอรเซ็นตในฤดู แลง สําหรับภาคตะวันออกใหผลเฉล่ีย 4.9 ตันตอไร มีแปงเฉล่ีย 20 เปอรเซ็นตในฤดูฝน และ 27 เปอรเซน็ ตในฤดแู ลง

27 ภาพท่ี 19 พนั ธุเกษตรศาสตร 50 ภาพท่ี 20 พันธุระยอง 90 ภาพที่ 21 พนั ธหุ านาที ภาพที่ 22 พนั ธรุ ะยอง 72

28 การปลูกมันสาํ ปะหลัง 1. ฤดปู ลกู มนั สําปะหลงั มันสําปะหลังเปนพืชท่ีสามารถปลูกไดตลอดทั้งปจากการสํารวจโดยกองเศรษฐกิจ การเกษตรรวมกับ Phillip T.P. ในป 2519 สุมตัวอยางจากกสิกร 2,153 ราย ใน 28 จังหวัด ท่ี ปลูกมันสําปะหลังมาก พบวาเขตท่ีปลูกมันสําปะหลังมากคือ จังหวัดระยอง ชลบุรี และ นครราชสีมา ปลูกมันสําปะหลังตลอดป ปลูกมากในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน สวนจังหวัด อ่ืนๆ 50% ปลูกมากในเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม การทดลองเก่ียวกับการหาฤดูปลูกมันสําปะหลังที่เหมาะสมไดเร่ิมดําเนินการตั้งแตป 2510 เปนตนมา เพื่อท่ีจะทราบวาในทองที่ใดควรปลูกมันสําปะหลังเม่ือใดจึงจะใหผลผลิตสูงสุด พบวา เขตจังหวดั สโุ ขทัย กําแพงเพชร การปลกู ตน ฤดฝู น พฤษภาคมถึงกรกฎาคม ใหผลผลิต สงู กวา การปลกู กลางและปลายฝน เขตจังหวัดสุพรรณบุรี กาญจนบุรี การปลูกตนฤดูฝน เมษายนถึงกรกฎาคม ไดผลผลิต สูงกวาการปลูกปลายฤดูฝน เปอรเซ็นตแปงไมแตกตางกันมากนัก จากการปลูกเดือนตางๆ ระหวางเดอื นเมษายนถงึ ตลุ าคม เขตจังหวัดขอนแกนและนครราชสีมาการปลูกตนฤดูฝนเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายนให ผลผลิตสงู สุด เ ข ต จั ง ห วั ด ร ะ ย อ ง ไ ด ผ ล เ ช น เ ดี ย ว กั บ เ ข ต ภ า ค เ ห นื อ ต อ น ล า ง แ ล ะ ภ า ค ตะวันออกเฉยี งเหนอื การปลกู มันสําปะหลังสามารถกระทําไดทกุ ๆ เดือน ตลอดทงั้ ป การปลูกในชวงฤดูฝนจะมีผลทําใหผลผลิตหัวสดสูงกวาการปลูกในฤดูแลงไมวาจะเก็บ เกี่ยวอายเุ ทาใดระหวาง 8-18 เดอื น 2. การเตรียมดิน การเตรียมดินสําหรับปลูกมันสําปะหลัง ควรไถพรวนใหลึก 8-12 นิ้ว โดยไถกลบเศษ เหลือของพชื เชน ลาํ ตน เหงา ใบ และยอดของมันสําปะหลังที่เหลือจากการเก็บเก่ียว ไมควรจะ เผาหรือเคลื่อนยายออกจากพ้ืนท่ีเพาะปลูก เพราะวาการเผาทิ้งหรือขนยายไปท้ิงจะทําใหธาตุ อาหารสูญหายไปเปน จํานวนมาก การไถควรทํา 1-2 คร้ัง ดวยผาน 3 และผาน 7 หรือพรวน ถาปลูกในพื้นท่ีลาดเท การ ไถควรไถขวางทศิ ทางของความลาดเทนั้นเพื่อลดการสูญเสียหนาดิน และถาพ้ืนที่เพาะปลูกเปน ท่ีมีนา้ํ ขังควรทํารอ งระบายนํ้าและยกรองปลูก สําหรบั พ้นื ท่ีที่น้ําไมข งั การเตรียมดินโดยการ ยก รอง ไมยกรองกับการพูนโคนหลังจากกําจัดวัชพืชคร้ังแรกผลผลิตไมแตกตางกัน เพื่อการ ประหยดั จงึ ไมจําเปนตอ งยกรอ งและไมต องพูนโคนนอกเสยี จากพูนโคนเพ่ือกาํ จัดวชั พืช

29 ตารางที่ 6 แสดงผลของการเตรยี มดินปลูกตอ ผลผลติ มันสําปะหลงั (ตัน/ไร) เตรียมดิน ความลกึ (ซม.) เฉล่ยี 5 10 15 ยกรอ ง 4.44 4.71 4.58 4.58 ไมยกรอง 4.92 4.87 4.60 4.79 พูนโคน 4.89 4.67 4.44 4.67 เฉลย่ี 4.75 4.75 4.54 ( ชาญ ถริ พร และคณะ, 2526) 3. การคัดเลือกทอ นพันธปุ ลกู 3.1 อายุของทอนพันธุท ี่ใชปลกู ทอนพันธุมันสําปะหลังที่จะใชปลูก ควรจะไดจากตนท่ีมีอายุต้ังแต 8 เดือนขึ้น ไปและไมควรเกนิ 18 เดอื น ดงั นั้นการคดั เลือกตน พันธุที่ใชปลูกควรมีอายุไมต่ํากวา 8 เดือน ถา พจิ ารณาขนาดของลําตนขวาง ถาไสกลางของลาํ ตน มขี นาดใหญ แสดงวาตนพนั ธุยังออ นหรอื ถา ไสกลางเล็กเกินไป เล็กกวาคร่ึงหน่ึงของเสนผาศูนยกลางของลําตน แสดงวาตนพันธุน้ันแก เกินไป หรืออีกนัยหนึ่งคือการใชทอนพันธุจากสวนกลางของตนปลูกจะมีเปอรเซ็นตอยูรอด 69- 84% แตถ าใชทอ นพันธุจากสวนยอดของตน ซงึ่ ยังออ นอยูจ ะรอดเพียง 34.7% เทา น้นั 3.2 ขนาดของทอนพันธุ ใชทอนพันธุจากตนท่ีมีอายุ 8-12 เดือน ใหมสด ไมบอบช้ํา ปราศจากโรคแมลง ตัดตนพันธุยาวประมาณ 20 ซม. เมื่อปลูกในฤดูฝนหรือ 25 ซม. เมื่อปลูก ปลายฤดูฝนและอยา งนอยตอ งมจี ํานวน 5-7 ตาตอทอ นพนั ธุ วธิ ีการปลูก การปลูกมันสําปะหลังของเกษตรกรมีหลายวิธี เชน การปลูกแบบวางนอน (ฝง) ใน ปจจบุ ันปลูกกันนอ ยมาก และการปลูกแบบปกกําลังเปนท่ีนิยมในปจจุบัน โดยเกษตรกรบางราย ปลูกตามแนวสัตวไถ คือปลูกบนสันรองที่ใชแรงงานสัตวไถไวแลว วิธีน้ีเกษตรกรปลูกกันมาก นอกจากน้ีวิธีปลูกพื้นราบโดยใชเชือกท่ีทําเคร่ืองหมายบอกระยะ วางเปนแนวในการปลูก วิธีการนี้จะทําใหระยะปลูกถูกตองสมํ่าเสมอใกลเคียงกับวิธีปลูกท่ีทางการแนะนํา ซึ่งวิธีการนี้ กาํ ลงั แพรห ลายอยใู นปจ จุบนั 4. วิธีการปลกู การปลูกมันสําปะหลังของเกษตรกรมีหลายวิธี เชน การปลูกแบบวางนอน (ฝง) ใน ปจ จบุ ันปลูกกันนอยมาก และการปลูกแบบปกกําลังเปนที่นิยมในปจจุบัน โดยเกษตรกรบางราย ปลูกตามแนวสัตวไถ คือปลูกบนสันรองที่ใชแรงงานสัตวไถไวแลว วิธีน้ีเกษตรกรปลูกกันมาก นอกจากนี้วิธีปลูกพื้นราบโดยใชเชือกที่ทําเคร่ืองหมายบอกระยะ วางเปนแนวในการปลูก วิธีการนี้จะทําใหระยะปลูกถูกตองสม่ําเสมอใกลเคียงกับวิธีปลูกท่ีทางการแนะนํา ซึ่งวิธีการนี้ กําลังแพรห ลายอยูในปจ จุบัน

30 จากการทดลองปลูกบนพน้ื ราบและปลกู บนรองในสภาพท่ีนํ้าไมขัง ผลผลิตจะใกลเคียงกัน แตการปลูกโดยวิธีปกตรงหรือปกเอียง ทําใหผลผลิตสูงกวาการปลูกแบบวางนอนราว 13.6% ( ชาญ และคณะ 2526) เพราะการปลูกแบบวางนอน จะทําใหตนมันสําปะหลังงอกชา และ จํานวนตนท่ีงอกจะนอยกวาดวย ความลึกที่ใชปลูกอยูระหวาง 5-10 ซม. ไมควรใหลึกกวานี้ เพราะจะทําใหการเก็บเก่ียวยาก แตวิธีการปลูกในเขตที่แหงแลง เชน ในประเทศเปรู จาไมกา มีปริมาณฝนเพียง 300-350 มม./ป เทาน้ัน ควรปลูกแบบวางนอน จะใหผลผลิตดีกวาปลูกแบบ ปก ถาปลูกแบบวางนอน ในเขตท่ีฝนตกชุก ก็จะทําใหเกิดการเนาได จึงควรพิจารณาสภาพ พ้ืนทปี่ ลูกใหดดี วย แตส ภาพแวดลอมในประเทศไทย ถาปลูกแบบปกจะดีกวาการปลูกแบบนอน ความลึกของทอ นพันธุขึ้นอยกู ับความชน้ื ในดินซึ่งจะลึกระหวาง 5-10 ซม. ตารางที่ 7 แสดงผลของวธิ ีการปลูกและความลกึ ตอผลผลติ มนั สาํ ปะหลงั (ตัน/ไร) วิธีการปลกู ความลกึ (ซม.) เฉลีย่ เปอรเซน็ ต 5 10 15 ตง้ั 4.94 4.98 4.85 4.92 144.7 เอยี ง 4.90 4.94 4.64 4.83 112.6 วางนอน 4.41 4.32 4.13 4.19 100 เฉลี่ย 4.75 4.75 4.54 ( ชาญ และคณะ, 2526) ระยะปลูกมนั สาํ ปะหลงั กสิกรปลูกมันสําปะหลังใชระยะแตกตางกันระยะแถว 70-100 ซม. ระยะหลุม 50-100 ซม. สวนใหญใชระยะปลูกประมาณ 80 x 100, 100 x 100 ซม. มีจํานวนตนตอไร 1,600-2,500 ตนตอไร บนพ้ืนที่ลาดเอียงระยะระหวางรอง 80 ซม. เพื่อชวยลดปญหาการชะลางพังทลาย ของดิน การบํารุงรักษาดนิ และการใชปยุ มันสําปะหลัง (Manihot esculenta Crantz) เปนพืชเมืองรอนท่ีสามารถปรับตัวปลูกข้ึน ไดดใี นดินแทบทุกชนิด ในปจ จบุ ันพืน้ ทเ่ี พาะปลกู กระจัดกระจายแทบทุกภาคของประเทศ แหลง ปลูกที่สําคัญไดแกภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีขอบเขตการเพาะปลูกกวางขวางมากที่สุด รองลงมาไดแก ภาคตะวันออกเฉียงใตแถบชายทะเลซ่ึงเปนพ้ืนที่เพาะปลูกดั้งเดิม ดินไรมัน สําปะหลังมีศักยภาพในการผลิตพืชต่ําเนื่องจากสวนใหญเปนดินรวนปนทรายท่ีมีอินทรียวัตถุ นอยเกนิ ไป ดินมรี ะดบั ความอุดมสมบรู ณตาํ่ และมีคณุ สมบตั ิในการอมุ น้าํ เลว

31 การปลกู มันสําปะหลัง ภาพที่ 25 ปลกู แบบปก บนพน้ื ราบ ภาพที่ 23 ปลกู แบบปกบนสนั รอง ภาพที่ 26 ยกรอ ง ปลกู แบบปกความลกึ 5, 10, 15 ซม. ภาพที่ 24 ปลกู แบบปก บนพืน้ ราบแลว พนู โคน อายปุ ระมาณ 1 เดอื น ภาพท่ี 27 ไมยกรอง ปลกู แบบปก ความลกึ 5, 10, 15 ซม.

32 กสิกรใชปุยเคมีนอยมากหรือแทบจะไมมีการใชปุยเพ่ิมผลผลิต นอกจากขาดเงินทุนซ้ือ ปุยแลวยังจะขาดแรงดลใจใหใชปุย เนื่องจากอัตราสวนของรายไดตอการลงทุนแคบเกินไป ขณะที่ราคาปุยมีแนวโนมเขยิบสูงข้ึน แตราคาหัวมันสําปะหลังในไรผันแปรไมแนนอน พอ มองเห็นไดวานโยบายเรงรัดการใชปุยของรัฐบาลจําเปนตองแกไขระบบการตลาดและนําเอา ระบบสินเช่ือ (credit system) รูปแบบตางๆ มาใชขณะเดียวกันสนับสนุนงานวิจัยเพ่ือหาขอมูล การใชป ุยเพ่ิมผลผลติ ในดินแตล ะชนดิ และดําเนนิ การสาธติ การใชป ุยอยา งกวา งขวาง ลกั ษณะชนิดดินในแหลง ปลูก โดยอาศยั ลักษณะของเนื้อดินช้ันบนเปนหลัก อาจแบงดินท่ีใชเพาะปลูกมันสําปะหลังได เปน 2 พวกใหญๆ คือ 1. ดินทรายจัด ไดแก ดินเน้ือหยาบที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดที่เปนดินทราย ลักษณะ ของชัน้ ดินจึงเปนทรายจัดตลอดทกุ ชั้น มีอยูมากตามบริเวณชายทะเล และตามลํานํ้าเกาซึ่งมีดิน ทรายทับถมกันอยูลึกเกินกวา 80 ซม. มีความอุดมสมบูรณตํ่ามาก อินทรียวัตถุนอยกวา 1 เปอรเซ็นต มีความเปนกรดปานกลาง การระบายน้ําดีถึงดีเกินไป เชน ดินชุดน้ําพอง ดินชุด ยางตลาด ดินชุดระยอง ดินชดุ พัทยาและดินชดุ สัตหีบ 2. ดินรวนปนทรายและรว นเหนียวปนทราย ไดแก ดนิ เนอ้ื ละเอียดปานกลาง มีลักษณะ คลายคลึงกับดินหลายกลุมดินดวยกัน แตละกลุมดินอาจจะมีสีของดินไมเหมือนกัน เน่ืองจาก วัตถุตนกําเนิดและสภาพแวดลอม สภาพพ้ืนท่ี และอายุของดินผิดกันไป ถึงแมวาคุณสมบัติทาง เคมีและฟสกิ สข องดินแตล ะกลมุ อาจจะแตกตางกนั อยูบา ง แตมกั จะพบวา ลกั ษณะการตอบสนอง ตอปุยของมันสําปะหลังคลายคลึงกันมาก จึงเปนดินที่ควรใสในระดับเดียวกัน ไดแก ดินชุด โคราช ดินชุดสตึก ดินชุดวาริน ดินชุดยโสธร ดินชุดสีคิ้ว ดินชุดสูงเนิน ดินชุดมาบบอน ดินชุด คอหงส ดินชุดภูเก็ต เปนตน ดินท้ัง 9 ชุดน้ีมีลักษณะใกลเคียงกัน ยกเวนสีของดินลางเทานั้น ดินชุดโคราชมีสีนํ้าตาล ดินชุดสตึกสีเหลือง ดินชุดวารินสีแดงปนเหลือง ดินชุดยโสธรสีแดง ดินชดุ มาบบอนและคอหงสส เี หลืองแดง และดินชุดภเู กต็ สแี ดง แนวโนม ผลผลติ ต่ําลงถาไมใ สปุย ดินไรเสื่อมลงไปทุกวัน ถาจะสังเกตดูผลผลิตขาวโพดบริเวณปากชอง ก็จะเห็นวาเม่ือ 10 ปกอน กสิกรเคยไดผลผลิตประมาณ 500 กก./ไร ปจจุบันจะลดตํ่ากวา 300 กก./ไร หรือถา จะดูจากผลผลิตตอไรของขาว ก็จะเห็นวาลดต่ําลงมากเชนเดียวกัน อยางไรก็ดีอัตราการเส่ือม โทรมของดินไรจะสูงกวาอัตราการเสื่อมของดินนา เพราะดินไรมีอัตราการสูญเสียผิวหนาดินสูง ถูกชะลางกระทบกระแทกของน้ําฝนรุนแรงมากกวา ขณะเดียวกันธาตุอาหารท่ีถูกชะลางจะไหล ลงไปสะสมอยใู นดนิ ที่ลมุ ซงึ่ ระดบั ตาํ่ อีกดวยดินนาจงึ ไดเปรยี บดินไร

33 ธาตอุ าหารท่จี ําเปนสําหรับมันสําปะหลงั ธาตุอาหารท่ีจําเปนมีอยู 16 ธาตุ ธาตุท่ีไดจากอากาศไดแก คารบอน ในรูปของ CO2 (คารบอนไดออกไซด) ธาตุท่ีไดจากน้ํา ไดแก ไฮโดรเจน (H) และออกซิเจน (O) ในรูปของ H2O (นํ้า) ธาตทุ ไี่ ดจ ากดิน ปยุ แบง ออกเปน 3 พวกคอื 1. ธาตุอาหารหลัก (Major element) ไดแก ธาตุท่ีพืชตองการเปนปริมาณมาก คือ ธาตุไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรสั (P) และโปตัสเซยี ม (K) 2. ธาตุอาหารรองหรือธาตุรอง (Secondary element) ไดแก ธาตุซึ่งพบเปน สวนประกอบของพืชเปนปริมาณรองลงไปจากธาตุอาหารหลัก คือ ธาตุแคลเซียม (Ca) มักนี เซยี ม (Mg) และกาํ มะถัน (S) 3. ธาตุอาหารปริมาณนอย (Minor element) คือกลุมธาตุท่ีพืชตองการเปนปริมาณ เพียงนอยๆ เทาน้ัน ถามีอยูในดินเพียงเล็กนอยพืชก็สามารถเจริญเติบโตไดอยางปกติ ใน พระราชบัญญัติปุย พ.ศ. 2518 เรียกธาตุกลุมนํ้าวา “ธาตุเสริม” ไดแก เหล็ก (Fe) สังกะสี (Zn) ทองแดง (Cu) แมงกานสี (Mn) โบรอน (Bo) โมลิบดินั่ม (Mo) และคลอรีน (Cl) มันสําปะหลังมีความตองการอาหารธาตุแตละอยางไมเทากัน ธาตุอาหารแตละชนิดมี หนาที่แตกตางกันไป สวนใหญแลวเปนองคประกอบในเน้ือเยื่อ (plant tissue) และเปนตัวเรง (catalyst) ในขบวนการตางๆ บางอยางทําหนาที่สนับสนุนหรือควบคุม membrane permeability ตัวอยางเชน โปตัสเซียมพบอยูใน Cytoplasm ของ Cell เปนธาตุสําคัญที่ชวยใน ขบวนการสรางน้ําตาลและแปง ชวยเคลื่อนยายแปงและน้ําตาลจากสวนยอดไปสะสมในหัว แคลเซียมอยูในผนังเซลล มักนีเซียมในโมเลกุลของคลอโรฟลล ไนโตรเจน กํามะถันและ ฟอสฟอรัส ในโปรตีนรูปตางๆ แรธาตุอ่ืนๆ เชน เหล็ก ทองแดง และสังกะสี เปนธาตุปริมาณ นอยท่ีบทบาทสําคัญใน enzyme system เชนเดียวกันกับแมงกานีสและมักนีเซียมอยางไรก็ดี ธาตอุ าหาร ดงั กลาวท่ีเก่ียวของกับ enzyme system เหลาน้ีถามีอยูมากอาจทําใหเปนพิษตอ พืชไดท งั้ สน้ิ มนั สําปะหลงั กบั ปยุ อนิ ทรยี  อินทรียวัตถุในดินเปนกุญแจสําคัญในการแกไขปญหาความอุดมสมบูรณของดินไร มันสําปะหลังซ่ึงปรากฏวามีอัตราการสลายตัวหมดไปของสารอินทรียสูง ความสามารถในการ อุมนํ้าของดินเลวลง ดินขาดความรวนซุย คุณสมบัติในการจับรวมตัวกันของดินเลวลง ดินแนน เมื่อถูกไถพรวนบอยๆ ดังนั้นการรักษาสภาพโครงสรางของดินจึงจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตอง เพิม่ เติมสารในปริมาณที่มากพอ ในปจจุบันปรากฏวาดินไรมันสําปะหลังมีอินทรียวัตถุตํ่าเกินไป การใสเศษซากพืช ปุยคอก ปุยหมัก ปุยพืชสด อาจจะส้ินเปลืองแรงงานและคาใชจายสูง แตก็ ใหผ ลคุม คาในระยะยาว การทดลองใสปุยตอเน่ืองกันระยะยาวแสดงใหเห็นวาผลผลิตมันสําปะหลังตอบสนองตอ ปยุ อนิ ทรีย (กทม.) และปยุ พชื สดในรูปของตนใบมนั สาํ ปะหลงั ท่ีเหลือจากเก็บเกี่ยวฤดูกอนอยาง

34 เดนชัด เฉพาะอยางย่ิงเม่ือใสรวมกับปุย NPK อยางไรก็ดีเมื่อพิจารณาในเชิงเศรษฐกิจจะเห็นวา การใสป ุย NPK รวมกบั การไถกลบตนและใบมนั สําปะหลังจากฤดกู อ นเปนวิธที ีป่ ระหยัดมากกวา คาํ แนะนําการใชปุยกับมันสําปะหลัง คําแนะนําการใชปุยกับมันสําปะหลังนี้ เปนผลที่ไดมาจากงานคนควาวิจัยในดานการใช ปุยบํารุงดินและจากการทดสอบปุยในดินท่ีใชเพาะปลูกแตละแหงตามชนิดของดิน อยางไรก็ดี ขอมูลตางๆ ที่ปรากฏอาจเปลี่ยนแปลงไดในอนาคต เมื่อปจจัยที่เกี่ยวของอ่ืนๆ เปล่ียนแปลงไป เชน มีการปรับปรุงในเร่ืองพันธุ ปรับปรุงในเร่ืองการเขตกรรม ตลอดจนดินท่ีใชเพาะปลูกเส่ือม โทรมลงไปอีก การใสธ าตุปุย อยา งหนึ่งอาจมีผลกระทบทําใหอีกธาตุหน่ึงขาดแคลน การใสปุยใน ปริมาณมากเกนิ อาจเปน ผลเสียทาํ ใหผลผลิตและผลกาํ ไรลดต่ําลง คําแนะนําน้ีอาจจะมีการแกไข ปรบั ปรุง เพ่ือใหท นั ตอสถานการณท อ่ี าจเปลีย่ นแปลงไปได ตารางที่ 8 แสดงอตั ราการใสป ยุ มนั สําปะหลงั ท่วั ๆ ไป เนือ้ ดิน N - P2O5 – K2O (กก./ไร) อัตราต่ํา1 อตั ราสงู 2 ทรายจัดถึงรว นจดั 15-15-15 30-30-30 รวนทรายถึงรวนเหนยี วปนทราย 8-8-8 15-15-15 1อตั ราต่ํา เปนอตั ราประหยดั แมจะไมไ ดผลผลติ สูง แตก เ็ สยี่ งนอ ยทสี่ ดุ เม่อื ราคาผลผลติ และ ภมู อิ ากาศผนั แปร 2อัตราสูง เปนอตั ราท่ใี หผลตอบแทนสงู ใชในขณะท่ีราคาผลผลิตสูงและภมู ิอากาศอํานวย (โชต,ิ 2526) หมายเหตุ 1. หลังจากใชปุยตามคําแนะนําติดตอกัน 2-3 ป ควรทําการตรวจสอบวิเคราะหสภาพ ความอุดมสมบูรณของดิน เพราะอัตราปุยท่ีจะใชในปถัดไปอาจจะตองเปลี่ยนแปลง ไป เนือ่ งจากผลตกคา งของปุยในปก อน 2. ผลการใชปุยจะมีประสิทธิภาพเพียงใดข้ึนอยูกับปจจัยอื่นๆ ตลอดจนการควบคุม วัชพืชและความชมุ ช้ืนของดินตลอดฤดปู ลูกดว ย

35 ตารางที่ 9 แสดงอตั ราปยุ ทีแ่ นะนําใกลเคียงกับปยุ ในทองตลาด อัตราแนะนํา (กก.ไร) ตวั อยางเกรดปุยในทองตลาด ปริมาณทใ่ี ช (กก.ไร) 8-8-8 14-14-14 57 53 15-15-15 57 101 17-17-17 100 88 15-15-15 14-14-14 214 200 15-15-15 175 17-17-17 30-30-30 14-14-14 15-15-15 17-17-17 (โชต,ิ 2526) ตารางท่ี 10 แสดงระยะเวลาและวิธีการใสป ยุ กับมนั สาํ ปะหลัง ชนดิ ปุย วิธีการ ระยะเวลา 1. ใชป ยุ เชงิ เดย่ี ว ไนโตรเจน (N) แบงใส 2 ครง้ั แอมโมเนยี มซัลเฟต - คร่งึ หนึ่งใสร องกนหลมุ เปนแถว กอ นปลกู หรือ ยูเรีย - อกี คร่ึงหนง่ึ ใสเ ปน แถวขางตน เมอ่ื อายปุ ระมาณ 2 เดอื น ฟอสเฟต (P2O5) - ใสทั้งหมดรองกนหลมุ กอนปลกู โปแตช (K2O) - ใสท ัง้ หมดรองกนหลุม กอนปลูก 2. ใชปยุ เชิงผสม - ใสค รั้งเดียวโดยวิธีรองกนั หลุม กอ นปลกู หรอื ปุย เชงิ ประกอบ หรือใสเปนแถวขางตน เม่อื อายุ 1-2 เดอื น (โชติ, 2526) วัชพชื และการควบคมุ ในมนั สาํ ปะหลงั การควบคุมวัชพืชท่ัวๆ ไป มีวัตถุประสงคท่ีจะปองกันไมใหงอก ยับย้ังหรือชลอการงอก ของวัชพืชทําลายตนวัชพืชกอนท่ีจะถึงชวงวิกฤติของการแขงขัน ลดการเจริญเติบโต และ ทาํ ลายวัชพืชสว นท่ีอยเู หนือตน คือ ใบ ตน ดอก ทําใหสวนที่อยูใตดิน เชน ไหล หัว เหงา เมล็ด หลุดจากดินตายไป ปองกันการออกดอกเพื่อแพรพันธุของวัชพืช โดยมีวิธีท่ีจะปฏิบัติได ประกอบดว ยเทคนคิ และปจจยั ในภาวะตางๆ ดังนี้

36 การควบคมุ วัชพืชโดยวธิ กี ล การเผา กอนทจี่ ะพรวนดินมกั เผาทําลายวัชพืชเนื่องจากมีตนแข็งและเปนเถายาว หาก ไมเผาทิง้ จะพนั ผานไถเปน อุปสรรคตอการไถเตรียมดนิ การไถกลบ ถาไมสามารถทําลายเศษซากพืช วัชพืชดวยไฟ ควรใชวิธีต้ังผานไถใหไถ กลบวัชพืชลงไปในดินใหลึกกวาปกติจนวัชพืชไมสามารถดันโผลขึ้นมาเหนือดินเปนการไถ เตรยี มดนิ และทาํ ลายวชั พืชไปดวยพรอ มกัน การตัดโดยใชมีดหรือเคียว วิธีน้ีถูกนํามาใชเม่ือฝนชุกมากไมสามารถใชวิธีอ่ืนๆ สวน ของวัชพืชท่ีอยูเหนือพ้ืนดินเทาน้ันท่ีถูกตัดออกไป แตวัชพืชสามารถอาศัยสวนท่ีอยูใตดินพวก ลําตน รากเหงา หัว และไหลเจริญเติบโตข้ึนมาไดอีก จึงตองทําการตัดวัชพืชออกโดยเฉพาะ ในชวงวิกฤตของการแขงขัน ในบางพืชอาจตองตัดมากกวา 1 คร้ัง ท้ังน้ีข้ึนอยูกับอายุของพืช ปลกู การคลุมดิน วัสดุท่ีใชคลุมดินมีท้ังฟางขาว ตอซังขาวโพด หรือใบหญาคา ความหนา ของการคลุมควรไมตํ่ากวา 2 ซม. และสําหรับพืชบางชนิดอาจตองหนาถึง 10 ซม. อยางไรก็ ตามการคลุมดินยงั มีวัชพชื ใบกวางหลายชนดิ สามารถงอกและเจริญเติบโตข้นึ มาไดในระยะหลงั พืชคลุมหลายชนิดที่ยังเปนที่นิยมนํามาใชปรับปรุงดินและอนุรักษดิน ลดการชะลาง พังทลายของดิน โดยปลูกกอนหรือหลังปลูกพืชหรือพรอมกับพืชแตปลูกในระหวางแถวพืช พืช คลุมดินหลายชนิด เชน เวอราโน เซนโทรซีบา พูราเรีย ซีรูเล่ียม และซาราโทร นํามาปลูก รวมกับพืชและแขงขันกับวัชพืชไดท้ังน้ีตองเลือกชนิดท่ีไมไปลดการเจริญเติบโตของพืชปลูก และจําเปนตองใชสารกําจัดวัชพืชเขามาผสมผสานดวยในระยะตนออน เพื่อใหพืชคลุมสามารถ ตงั้ ตัวไดและแขงขนั กบั วชั พชื ไดสืบตอ ไป การเขตกรรม วธิ ีทาํ รุน เปนการกาํ จัดวชั พชื ที่ข้นึ มาหลังจากทพี่ ืชข้นึ มาแลว โดยเฉพาะ พื้นท่ีปลูกขนาด 3-5 ไร วิธีทํารุนสามารถทําไดทันเมื่อใชแรงงานในครัวเรือนที่มีพรอมอยูแลว และจะใชเคร่ืองมือท่ีหาไดงายมีราคาถูก เชนใชแรงงานคนดายดวยจอบคราดซ่ี ไถเล็กท่ีใช แรงงานท้ังคนและสัตวลากจูงหรือไถเดินตาม ตอมาไดมีการประดิษฐพัฒนาดัดแปลงอุปกรณ และของใชในไรนาเปนเคร่ืองมือทํารุนหลายแบบหลายอยางตั้งแตรถไถเล็กติดจานพรวน ลอ จักรยานติดผานไถ สําหรับเปดรองทํารุนในระหวางแถวพืช ใชทํางานไดเหมือนไถพ้ืนเมืองจูง ดว ยววั หรือควาย การไถเตรียมดิน เปนการกําจัดวัชพืชดวยวิธีกลกอนท่ีจะปลูกพืช พื้นดินรับการพลิก ไถคราดใหวัชพชื หลดุ จากดิน จํานวนคร้ังการไถและพรวนท่ีเพิ่มข้ึนมสี ว นทําใหวชั พืชที่ข้ึนมาอยู แลวถกู ทาํ ลายไดมาก การใชเคร่ืองมือทํารุนตางๆ ท้ังหมดรวมทั้งการใชมือถอนกําจัดวัชพืชลวนแลวแตตอง อยูในสภาพที่ฝนทิ้งชวง ดินไมแฉะหรือแหง แนนแข็งเกินไป สภาพดินที่เหมาะจะทํารุนเปล่ียน แปรไปตามปจจัยแวดลอมหลายประการ เชน ชนิดของดิน สภาพดินฟาอากาศ การใหน้ํา ชนิด ของพืช วิธีปลูกรวมทั้งอายุวัชพืชและปริมาณวัชพืช การเขตกรรมยังถือวาทําใหวัชพืชรุนหลัง

37 ขึ้นมาไดอีกเพราะเทากับไปรื้อเอาเมล็ดที่อยูดินชั้นลางใหขึ้นมาอยูขางบนมีความเหมาะสมของ อุณหภูมิ ความช้ืนและแสงแดดที่จะงอกเจริญได โดยเฉพาะอยางย่ิงวัชพืชประเภทใบกวางท่ีมี ขนาดเมลด็ ใหญ เชน สอึก จิจอ อัตราปลูกและระยะปลกู พนั ธทุ ่ีมีลกั ษณะลําตนรปู ทรงของพุม ใบ การแตกกิ่งกานก็เปนปจจัยท่ีทําใหชวยแรงการ เจริญเตบิ โตใหพุมใบชนกันไดเร็ว การใชอัตราปลูกและระยะปลูกถ่ี จึงมีสวนสัมพันธกับพันธุพืช ในอันที่จะทําใหวัชพืชมีเวลาและพื้นที่สําหรับเกิดขึ้นมาเจริญแขงกับพืชปลูก มันสําปะหลังพันธุ ตางๆ มลี ักษณะทรงตน ทแี่ ตกตางกัน นา จะเปน ประโยชนใ นการแขงขนั กับวัชพืชเม่อื ปลูกถี่ การควบคุมวัชพชื โดยวิธีใชสารกําจดั วัชพืช สารกําจัดวัชพืชเปนวิทยาการท่ีเขามาเสริมหรือทดแทนวิธีการกําจัดวัชพืชอ่ืนๆ มาก ที่สุดในขณะนี้เนื่องจากปจจัยเหตุสําคัญหลายประการ ตั้งแตการขาดแคลนแรงงานในไรนา คาจางแรงงานที่แพงจนไมคุมกับการใชแรงงานกําจัดวัชพืช การใชปจจัยการผลิตเรงการ เจริญเติบโตของพืช เชน ปุยและฮอรโมน มีการผลิตสารกําจัดวัชพืชหลายรูปแบบ สามารถใช กําจัดวัชพืชท่ีขึ้นมาแลว ปองกันการงอกหรือยับยั้งการเจริญเติบโตโดยมีคุณสมบัติพิเศษเลือก ทําลายเฉพาะประเภทของวัชพืชเชนใบกวางหรือใบแคบ ทําลายโดยวิธีสัมผัสและพวกที่ เคล่ือนยายไปสูทุกสวนของพืช จึงทําใหมีโอกาสใชไดในภาวการณเฉพาะตางๆ ดวยอุปกรณที่ ผลติ ขนึ้ มาใหก ารกาํ จดั วชั พืชเกดิ ประสิทธิภาพไดต ามความประสงค การควบคุมวัชพืชจึงเปนส่ิงสําคัญสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง และจําเปนท่ีตองทราบ วามีวัชพืชชนิดใดเกิดขึ้นเม่ือใด มีลักษณะการแพรพันธุ เจริญเติบโตอยางไร ไดรวบรวมชนิด วัชพืชหลักทีส่ าํ คญั ดงั นี้ ตารางที่ 11 แสดงชนิด วชั พืชหลักที่สาํ คญั ช่ือพ้นื เมือง ช่ือวทิ ยาศาสตร สาบแรง สาบกา Ageratum conyzoides Linn. ถว่ั ลสิ งนา Alysicarpus vaginalis D.C. ผักโขม Amaranthus viridis Linn. ผักโขมหนาม A. spinosus Linn. จิงโจ จงิ จอ Aniscia martinicensis (Jaco.) Choisy. ผักโขมหิน Boerhavia diffusa Linn. หนวดแมว B. erecta Linn. หญา ตีนติด Brachiaria reptans (Linn.) Gard. et Hubb. หญาบงุ Cenchrus echinatus Linn. ผักปราบ Commelina diffusa Burm. f.

ปอปา 38 กกทราย แหว หมู Corchorus sp. หญา ปากควาย Cyperus irea Linn. หญาตีนนก หญา หวั แหวน C. rotundus Linn. หญา นกสชี มพู Dactyloctenium aegyptimm (L.) P. Beauv หญาตีนกา Digitaria adscendens (HBK) Henr. สาบเสอื Echinochloa colonum (Linn.) Link หญายาง ผกั บงุ ยาง ผกั บุง ผี หญา เดอื ย Eleusine indica (Linn) Gaerin น้าํ นมราชสหี  Eupatorium odoratum Linn. บานไมร โู รยปา Euphorbia geniculata Orteg. หญาคา E. hirta Linn. สอกึ Comphrena celosioides Mart. หญาไมก วาด Imperata cylincdica (Linn.) Beauv. หญานกเขา Ipomoea gracilis R. Br. ตูดหมตู ดู หมา Leptochloa chinensis (Linn.) Nees. หญาขจรจบดอกเล็ก หญา คอมมวิ นสิ ต Mollugo taphylla Linn.. หญาขจรจบดอกใหญ หญา คอมมิวนิสต Paederia spp. หญาขจรจบดอกเหลือง หญาเนเปยร Pennisetum pedicellatum Trin. หญาดอกขาว หญาทาพระ p. polystachyon Schult. หญาเขมร หญากา นธูป หญา ยายเฮยี ม p. setosum ผักเบย้ี ใหญ Richardia scabra L. ผกั เบ้ียหิน R. oleraces Linn. ตีนตุก แก ดาวกระจาย Portulaca oleracea Linn. Trianthema portulacastrum Linn. Tridax procumbens Linn. การควบคมุ วชั พืชในมันสาํ ปะหลงั วัชพืชในไรมันสําปะหลังเปนปญหาท่ีสําคัญที่สุดในขบวนการอารักขาพืช เมื่อ เปรียบเทียบกับแมลงโรคและศัตรูมันสําปะหลังอ่ืนๆ ในประเทศไทยการกําจัดวัชพืชเปนตนทุน ท่ีคอนขางสูงเม่ือเปรียบเทียบกับพืชไรอีกหลายชนิดซ่ึงคิดเปน 20 เปอรเซ็นตของตนทุนการ ผลติ ในขณะที่ประเทศไนจเี รยี และโคลอมเบีย การใชแรงงานกําจัดวัชพืชคิดเปน 50 เปอรเซ็นต ของแรงงานท่ีใชสําหรับปลูกมันสําปะหลังหรือเปน 30 เปอรเซ็นตของตนทุนการผลิตมัน สาํ ปะหลงั กําหนดเวลาและจาํ นวนครั้งของการกําจัดวัชพืชมีความสัมพันธตอผลผลิตมันสําปะหลัง เปนอยางมาก การทดสอบกําจัดวัชพืช 2 ครั้ง ขณะที่มันสําปะหลังมีอายุ 30 วัน และ 60 วัน

39 ไดผลผลิตเทากับผลผลิตของมันสําปะหลังที่เร่ิมกําจัดวัชพืชเม่ือมีอายุ 30 วัน และกําจัดวัชพืช ติดตอกันไปเรื่อยจนกระทั่งเก็บเก่ียวและผลผลิตน้ีต่ํากวาผลผลิตของมันสําปะหลังท่ีไดรับการ ดูแลรักษาใหอยูในสภาพปราศจากวัชพืชตลอดฤดูปลูกถึง 10-15 เปอรเซ็นต ซึ่งผลผลิตนี้ลด ต่ําลงไปอีกถาเริ่มกําจัดวัชพืชลาชาออกไปอีก ทั้งน้ีมีบันทึกวาผลผลิตลดลง 5 เปอรเซ็นต เนอื่ งจาก วชั พชื ทีข่ ้นึ มาในเดอื นแรก นอกจากการใชแรงงานกําจัดวัชพืชแลวยังมีการใชเคร่ืองมือทุนแรง เชน รถไถเดินตาม รถแทรกเตอร หรือไถพนื้ เมือง ซึง่ ใชกาํ จัดวชั พืชแตกตางกันไปตามความเหมาะสมสําหรับแตละ ทองท่ีซึ่งมีสภาพแวดลอมตางๆ กัน มีรายงานวาการใชเครื่องจักรกลทุนแรงขนาดใหญทําใหผล ผลิตของมันสําปะหลังลดลงต่ํากวาการใชสารกําจัดวัชพืช คือเมื่อใชเครื่องจักรกลขณะท่ีปลูก มันสําปะหลังได 15 วัน และการใชเครื่องจักรกลลาไปกวาน้ี ทําใหกระทบกระเทือนตอหัวมัน สําปะหลงั ในกลุมประเทศแถบตะวันออกเฉียงเหนือของอเมริกาใตไดแนะนําใหใชอะทราซีนหรือ ไดยูรอนปองกันการงอกของวัชพืช แตการปลูกมันสําปะหลังที่เวเนซุเอลา ฟจิ และโคลอมเบีย ใชในอัตราท่ีแตกตางออกไป นอกจากนี้ในโคลอมเบีย เวเนซุเอลา ไนจีเรีย และประเทศไทย พบวาฟลูโอมีทูรอนมีประสิทธิภาพดีที่สุดสําหรับการปองกันการงอกของเมล็ดวัชพืชได ไมเปน อนั ตรายกบั มนั สําปะหลังทป่ี ลกู ดว ยทอนพันธุ เปนวิธีท่ีประหยัดตนทุนไดมากถึง 70 เปอรเซ็นต เม่ือเปรียบเทียบกับวิธีใชแรงงาน แตสารกําจัดวัชพืชน้ีทําใหมันสําปะหลังท่ีปลูกดวยเมล็ด เสียหาย สารกําจัดวัชพืชพาราควอทถูกนํามาใชเม่ือมันสําปะหลังมีอายุ 3 เดือน เพ่ือทําลาย วัชพืชจนกระทั่งเก็บเก่ียว อลาคลอรและทีซีเอเปนสารกําจัดวัชพืชที่ไดรับการแนะนําใหใชใน ประเทศมาเลเซีย ทางแถบตะวันตกที่มีการปลูกมันสําปะหลัง การทดสอบสารกําจัดวัชพืชบาง ชนดิ ในประเทศไทยมรี ายงานวา มันสําปะหลังไดร บั ความเสียหายเน่ืองจากไมทนทานตอพิษของ สารกําจัดวัชพืชในทางตรงกันขามในประเทศโคลอมเบีย มันสําปะหลังทนทานตออลาคลอรใน อัตราสูงมาก (ชาญ และคณะ, 2537) ในประเทศไทยสารกําจัดวัชพืชทําลายโดยวิธีสัมผัสคือ พาราควอท ถูกนํามาใชในมัน สําปะหลังอยางแพรหลาย กอนสารกําจัดวัชพืชอื่นใด โดยเฉพาะในแหลงปลูกดั้งเดิมในภาค ตะวันออกชายฝงทะเลภาคตะวันออก หรือสภาพแวดลอมภูมิอากาศที่แหงแลง และความอุดม สมบรู ณของดินไมเสริมสรา งการงอกและการเจรญิ เติบโตของวัชพชื แมวาในภาครัฐไดทุมเทความพยายามหลายรูปแบบ ท่ีจะลดพื้นท่ีการปลูกมันสําปะหลัง ถึงกระนั้นความเปล่ียนแปลงของเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะบริเวณพ้ืนท่ีชายฝงทะเลภาค ตะวันออก ประกอบกับการปรับเปลี่ยนพืชปลูกพืชไรอ่ืนๆ เพราะราคาพืชผลตกตํ่าจึงมีการปลูก มันสําปะหลังในพ้ืนท่ีใหมหลายจังหวัดเชน เขตจังหวัดพิษณุโลก เพชรบูรณ ตาก และ กําแพงเพชรเปนตน ในพื้นท่ีเหลานี้เปนแหลงปลูกใหมท่ีมีปญหาวัชพืชรุนแรงมากจนกระทั่ง จาํ เปนตอ งใชส ารกาํ จัดวัชพืชทั้งประเภทคุมการงอกและทําลายพวกที่งอกขึ้นมาแลวมากกวาใน พืน้ ทีป่ ลูกด้งั เดิม และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

40 หลักการควบคุมวัชพืชในมันสําปะหลังน้ัน มีความพิเศษแตกตางจากพืชอื่นโดยเหตุผล ของธรรมชาติการใชประโยชน การปรับเปลี่ยนเทคนิคและการนําเอาผลิตภัณฑใหมทาง วทิ ยาศาสตรมาใชร วมดว ยหลายประการดังน้ี 1. การปลูกดวยทอนพันธุซ่ึงมีอัตราการงอกและการเจริญเติบโตของตนมันสําปะหลัง ในระยะแรกชา 2. ใชร ะยะปลูกกวาง ซึ่งมีระยะปลูกตามคําแนะนํา 1x1 เมตร พื้นท่ีวางระหวางตนและ แถวจงึ ทําใหว ัชพชื งอกข้ึนมาไดเปนเวลานานถงึ 2 เดือนอยางนอ ย 3. การปลูกโดยอาศัยน้ําฝนธรรมชาติเพียงอยางเดียว เปนธรรมดาท่ีภาวะฝนไม แนนอน การกระจายตัวไมสมํ่าเสมอ มีปริมาณไมเพียงพอที่จะทําใหมันสําปะหลัง เจริญไดอยา งรวดเรว็ ในระยะแรก ยิ่งประสบกับภาวะฝนแลงในชวงที่พุมใบยังไมชน กัน มันสําปะหลังจะชะงักงัน แตวัชพืชสามารถอยูไดเปนปกติ ในระดับความชื้นตํ่า หรอื เม่ือมีฝนชกุ มากกก็ ลับเหมาะสมกบั วชั พชื 4. สามารถปลูกไดทุกเวลาตลอดป การปลูกพืชไรบางชนิดเชน ถ่ัวตางๆ งา ขาวฟาง และฝายมีฤดูกาลปลูกเฉพาะจํากัดกําหนดปลูกท่ีแนนอน แตมันสําปะหลังปลูกได ทุกเดือนของป ในชวงปลายฝนของปต้ังแตเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธปริมาณฝนจะตํ่ากวาชวงฤดู ฝนระหวา งเดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม ซ่ึงการเกิดและการแพรระบาดของวัชพืชจะแตกตางกัน ไปตามระดับอุณหภูมิและความช้ืนในภูมิอากาศ ในปลายฤดูฝนท่ีอากาศคอนขางเย็นและ ปริมาณความชื้นต่ําจึงมีวัชพืชเกิดนอย ตรงกันขามกับในตนฤดูฝนถึงกลางฝน หากปลูกในชวง น้ีจะพบวัชพืชมากมายหลายชนิด เกิดในระยะตนออนของมันสําปะหลังเพราะเปนฤดูกาลที่รอน ชื้นเหมาะสําหรับการงอกและการเจริญเติบโตของวัชพืชหลายชนิดเชน หญาขจรจบ หญานกสี ชมพู หญายาง หญาเขมร หญาดอกขาว ซึ่งวัชพืชเหลาน้ีจะไมงอกหรืองอกนอยมากในชวง ปลายป 5. ใชลําตนขยายพันธุ เปนธรรมดาท่ีการปองกันและกําจัดวัชพืช ดวยวิธีใดก็ตาม เมื่อ ถึงระยะหนึ่งท่ีพืชโตแลวจะหลีกเล่ียงไมใหกระทบกระเทือน ทําใหลําตนมัน สําปะหลังเสียหาย หรือหยุดกําจัดวัชพืชเม่ือเห็นวาเส่ียงตอการท่ีจะทําใหลําตนที่จะ ใชเปน พันธุบอบชํ้า 6. เร่ิมใชทอนพันธุยาว ในแหลงปลูกบางแหลงท่ีไมทําการไถพรวนดิน หรือไถพรวน ดินกอนปลูกเลือกใชทอนพันธุยาวกวาปกติ คือ 40-50 เซนติเมตร หรือยาวกวา เพื่อใหใชสารกําจัดวัชพืชไดเร็วกวาการใชทอนพันธุขนาด 15 เซนติเมตรและลด ความเสียหายได ดวยปจจุบันเหตเุ ฉพาะของมนั สําปะหลงั ท่กี ลาววา จึงควรเลือกสรรวิธีการควบคุมท่ีเปน ประโยชนของแตละวิธีมาใชเสริม สมทบและเพ่ิมเติม สลับ สับเปล่ียน หมุนเวียนตามความ

41 จําเปน เพือ่ ประหยัดและปลอดภัยสําหรับส่ิงแวดลอม และการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติที่รวม ความถึงวงจรของจลุ ินทรียแ ละพืชพันธทุ ้ังหลาย สารกําจัดวัชพืชเกือบเปนสิ่งท่ีขาดไมไดสําหรับการปลูกมันสําปะหลังโดยเฉพาะพารา ควอท และไกลโฟเสท และเปนความประจวบเหมาะของดินท่ีปลูกมันสําปะหลังซ่ึงคอนขางเปน ดิน รวนทราย เอ้ืออํานวยใหทําการเขตกรรมไดในระยะแรก ในขณะท่ีการใชสารกําจัดวัชพืช ถูกจํากดั ดวยความไมแ นนอนของฝน หากใชไปอาจเปนการสูญเปลา ดังน้ันหลังจากท่ีไถชักรอง 1 คร้ังในระยะที่มันสําปะหลังเปนตนออน ในชวงนี้เขาสูชวงที่มีฝนแลว จึงควรนําเอาสารกําจัด วชั พชื ประเภทคุมการงอก เชน เมโทลาคลอร หรืออลาคลอร มาพนในระหวางแถวมันสําปะหลัง เปนการลดภาระคาใชจาย ตน ทนุ แรงงานการเขตกรรม หรอื เมอ่ื ฝนชุกชกั รองครง้ั ที่ 2 ไมไ ด ในกรณีที่ปลูกมันสําปะหลังเพ่ือใชเปนตนพันธุ การใชสารกําจัดวัชพืชบางชนิดไมวาจะ เปนประเภททําลายโดยวิธีสัมผัส หรือมีคุณสมบัติเลือกทําลายเฉพาะใบแคบ ใบกวาง ควรเลือก สารกําจัดวัชพืชท่ีไมเปนพิษตอมันสําปะหลังและหลีกเลี่ยงการใชในระยะกอนเก็บเก่ียว เพ่ือ ปอ งกันความเสียหายทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ ตอตาขา งลาํ ตนมันสาํ ปะหลัง อันเน่อื งมาจากการใชผ ดิ วิธีหรอื เกนิ อตั รา . ตารางท่ี 12 รายชอ่ื สารกาํ จดั วัชพชื อัตราการใชแ ละวธิ ีการใชในมันสาํ ปะหลัง สารกาํ จดั วัชพืช อตั ราการใชก รัมสาร กาํ หนดการใช วชั พชื ทีค่ วบคมุ หมายเหตุ

42 (Herbicides) ออกฤทธติ์ อ ไร (Time of ได (Susceptible (Remark) (Rates) (gm.ai/rai) Application) Weeds) ไดยูรอน (diuron) พน คลุมดนิ กอ น (120-240) วัชพชื งอก วชั พชื ท่งี อกจาก ใชอัตราตํ่า เมโทลาคลอร (pre-mergence) เมลด็ ชนิดใบแคบ สําหรับดิน (metolachlor) (240-360) พนคลมุ ดินกอ น วัชพืชงอก และใบกวา ง ทรายจัด อลาคลอร (240-360) (pre-mergence) วัชพชื ทีง่ อกจาก (alachlor) พนคลุมดินกอ น เมลด็ ชนิดใบแคบ (160-320) วชั พชื งอก เมทรบิ ลชู นิ (pre-mergence) และใบกวาง (metribuzin) (40-80) พนคลุมดนิ กอ น วัชพชื ท่ีงอกจาก วัชพืชงอก เมล็ดชนดิ ใบแคบ ฟลอู าซฟิ อบ - (20-40) (pre-mergence) บวิ ทลิ หลงั วัชพชื งอกมี และใบกวาง วชั พชื ท่ีงอกจาก ใชอัตราต่ํา (fluazifop-butyl) 3-5 ใบ เมล็ดชนดิ ใบแคบ สําหรับดิน (post- ฮาลอ กซฟิ อบ - emergence) และใบกวาง ทราย เมทธลิ หลงั วชั พชื งอกมี วัชพชื ชนดิ ใบแคบ 3-5 ใบ (halozyfop- (post- วชั พชื ชนิดใบแคบ methyl) emergence) พนี อกซาฟอน (25-40) หลงั วชั พชื งอกมี วัชพชื ชนิดใบแคบ ใชครอบ (fenozaprop-p- (80-120) 3-5 ใบ วัชพชื ทกุ ชนดิ กนั ละออง (post- สารกําจดั ethyl) วชั พืช emergence) พาราควอท (paraquat) หลงั วชั พชื งอกมี 3-5 ใบ (post- emergence) ตารางท่ี 12 (ตอ ) รายช่อื สารกําจดั วัชพชื อตั ราการใชและวิธกี ารใชใ นมนั สําปะหลงั สารกาํ จัดวชั พชื อัตราการใชก รมั สาร กาํ หนดการใช วชั พืชทคี่ วบคมุ หมายเหตุ

43 (Herbicides) ออกฤทธต์ิ อไร (Time of ได (Susceptible (Remark) ออ กซฟิ ลูออเฟน (Rates) (gm.ai/rai) Application) Weeds) พน คลมุ ดนิ กอ น ใชครอบ ไกลโฟเสท (40-50) วชั พชื งอก วัชพืชท่งี อกจาก กนั ละออง เมล็ดชนิดใบกวา ง สารกําจัด (240-480) พนระหวางแถว วชั พชื ในมันสาํ ปะหลงั และใบแคบ ทใ่ี ชทอ นพันธุ วัชพชื ทุกชนดิ ยาวปลูกเม่ือมนั สําปะหลังสูงเกิน 80 ซม. ตารางท่ี 13 รายชื่อสามญั และชอ่ื การคา สารกาํ จัดวชั พชื ในมนั สาํ ปะหลัง ชอ่ื สามญั ชื่อการคา สตู ร ไดยูรอน (Diuron) 80% WP ซูรอน 80 80% WP อลาคลอร (Alachlor) คารแ มกซ 80% WP ไดยรู อน 80 80% WP เมโทลาคลอร (Metolachlor) ไดยรู อน 80% WP เมทริบซู นิ (Metribuzin) 80% WP ยูรสี 80% WP คารเ ตอร 80% WP ไดรอกซ 80 พีซรี อน 48% W/V EC 48% W/V EC ฯลฯ 48% W/V EC อะลาคลอร 48% W/V EC 48% W/V EC แลสโซ 48% W/V EC คาลาร อคี ลิปโซ 40% W/V EC โซโล 40% W/V EC แลนเซอร ฯลฯ 70% WP ดอู ัล 400 อซี ี เมโทลาคลอร 400 อีซี เซง็ คอร 70 ดับบลวิ พี

ฟูลอะซิฟอ พ-บูทิล 44 35% W/V EC (Flazifop-metyl) ฮาโลซฟี่ อ พ-เมทธลิ วนั ไซด 25% W/V EC (Haloxyfop-metyl) ฟน อ็ กซาฟอพ-พี-เอทธลิ กาลแลน็ ท 240 เอม็ .อี 7.5% W/V EC (Fenoxafop-p-ethyl) ออ กซีฟลูออรเ ฟน วปิ 7.5 23.5% W/V EC (Oxyfluorfen) พาราควอท (Paraquat) โกล 2 อี 27.6% W/V AS 27.6% W/V AS ไกลโฟเสท (Glyphosate) พาราควอท 27.6% W/V AS พาราควอท 27.6% W/V AS กรัมมอ กโซน 27.6% W/V AS นอ คโซน 27.6% W/V AS พรี าโซน 27.6% W/V AS แชมปเ ปย น 27.6% W/V AS รูตา 48% W/V AS ท-ี คอท 48% W/V AS ฯลฯ 16% W/V AS ไกลโฟเสท 16% W/V AS ไกลโฟเสท 48% 48% W/V AS (36% ae) ไกลโฟเสท 16 16% W/V AS (16% EC) ฟอรม ูลา 16 48% W/V AS ราวดอ พั 48% W/V AS แบน-อิช 48% W/V AS คอนวอย มสั แตง โฟลอพั๊ ฯลฯ ระบบการปลูกพืชโดยใชมนั สําปะหลังเปนพืชหลัก

45 เน่ืองจากมันสําปะหลังเปนพืชท่ีใชอาหารบางอยางในดินมากเปนพิเศษ จึงทําใหดิน เสื่อมคุณภาพไดอยางรวดเร็ว เพราะฉะน้ัน ควรพยายามเปล่ียนที่ปลูกอยูเสมอ โดยการปลูก หมุนเวียนกับพืชไรพวกถ่ัวชนิดตางๆ หรือพืชไรชนิดอื่นๆ ท่ีมีระบบรากตางกันก็ได เพ่ือเพิ่ม ความอุดมสมบูรณใหแ กดิน การจัดระบบการปลูกพืชสาํ หรบั มันสาํ ปะหลัง มวี ตั ถปุ ระสงคท ส่ี ําคัญไดแก 1. เพ่ือปองกนั การเสือ่ มความอุดมสมบูรณของดนิ ที่ปลกู มันสําปะหลงั ติดตอ กัน 2. เพอ่ื ปรับปรงุ ระบบการปลกู ใหเหมาะสม โดยทไ่ี มทาํ ใหผ ลผลติ มนั สาํ ปะหลงั ลดลง มากนัก 3. เพอ่ื ใหก สิกรมรี ายไดเ รว็ ข้นึ และเพ่มิ มากขึ้น เพอ่ื ทจ่ี ะใหเปน ไปตามวตั ถปุ ระสงคขอแรก จําเปน ตอ งใชพชื ตระกลู ถว่ั เปนพชื รว มใน ระบบ และซากของพชื ตระกูลถว่ั จะตองกลบลงไปในดินเนอ่ื งจากกสิกรอาจไมอ ยากปลกู พชื เพอื่ ไถกลบเพยี งอยางเดียว ดงั นน้ั ในวตั ถปุ ระสงคข อท่ีสอง คนจะตองใชพชื ตระกลู ถวั่ ทส่ี ามารถเก็บ เกี่ยวเมลด็ เพอ่ื จําหนา ยเปน รายไดอ กี ดวย จากการปลูกพืชหลายชนิดรวมกันมีอยู 3 แบบ ไดแก พืชแซม พืชเหลื่อมฤดูและปลูก พืชตาม สําหรับมันสําปะหลังแลวใชไดระบบเดียวคือ พืชแซมโดยการปลูกพืชแซมกับพืชหลัก พรอมกัน หรือกอนหลังกันเล็กนอย เนื่องจากมันสําปะหลังมีอายุเก็บเกี่ยว 12 เดือน การที่จะ ปลูกพืชตามมันสําปะหลังเทากับเปนการปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชเหลื่อมฤดูใน มนั สําปะหลังทําไดย าก เน่อื งจากมีวชั พชื มากในระยะทจี่ ะเกบ็ เกีย่ วมนั สําปะหลงั สาขาพืชหวั กองพืชไร กรมวชิ าการเกษตร ไดเรม่ิ ศกึ ษาทดลองเกบ็ เก่ยี วกบั พืชแซมมนั สาํ ปะหลังเร่อื ยมา เร่ิมดว ยการหาชนิดพชื และระบบการปลกู พชื แซมมันสาํ ปะหลังวาเปนสิ่งท่ี เปนไปไดห รือไม มพี ืชชนดิ ใดบา งทจ่ี ะนาํ มาใชเปนพืชแซมไดด ี ซงึ่ ทาํ ใหไ ดขอมูลข้นั ตนอันเปน ข้ันทส่ี ําคญั ทก่ี า วตอ ไปคือ จากพืชหลายชนิดทน่ี ํามาศึกษาปลกู เปน พืชแซม มพี ชื บางชนิดไม เหมาะทีจ่ ะนํามาปลูกเปนพชื แซมมันสําปะหลงั เชน พรกิ ชนดิ ตางๆ ซงึ่ ตอ งการดแู ลรกั ษามาก ไมทนสภาพแลง เกดิ โรคและมกั ตายกอ นแกจดั ถัว่ ดําเปน เถาเลือ้ ยพนั ตนมนั สาํ ปะหลงั ทาํ ให ลําบากในการปฏบิ ตั บิ าํ รุงรกั ษาและเกบ็ เก่ียว ผลผลิตตํ่ามากตอ งดแู ลรกั ษามาก ขาวโพดเลยี้ ง สตั วซ ึง่ ไมใ ชพ ืชบํารุงดนิ และมอี ายเุ ก็บเกยี่ วนาน มผี ลทําใหเ กดิ การแขง ขนั ในดานผลผลิต มันสําปะหลงั พืชท่เี ห็นควรจะใชเปน พชื แซมได ไดแก ถ่วั ลิสง ถวั่ เขยี ว ถวั่ เหลือง ซ่ึงเปน พืช บํารงุ ดนิ และขาวโพดหวานซึง่ มีอายเุ ก็บเกีย่ วส้ัน แมจะไมใ ชพ ืชบาํ รงุ ดิน เพื่อใหเหน็ ขอดขี องพืชแซมแตล ะชนดิ จึงไดแ ยกศกึ ษาขอมูลของแตล ะพชื ดังน้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook