หนว่ ยท่ี 1หลักการส่ือสารข้อมูลเครือข่ายแบบ Client-Server, การทาํ งานของ Web Server ลกั ษณะสาํ คญั ของการเขียนโปรแกรมบนเวบ็ (Web-Based Application) คือการแสดงผลจะอยบู่ นเวบ็ บราวเซอร์ (Web Browser) ซงึ่ ผูใ้ ชส้ ามารถเข้าถงึ ได้ทุกที่ ทุกเวลาโดยใชบ้ ริการ World Wide Web หรือWWW ผา่ นเครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ ในลกั ษณะของ Client-Server คอื มีการเช่ือมตอ่ ของเครอ่ื งผู้ให้บริการ(Server) กับเคร่ืองผู้ใช้บริการ (Client) ดังรปู Request Response Client Server รูปที่ 1.1จากรปู จะเหน็ ว่าเมื่อเครื่อง Client ร้องขอใช้บริการ (Request) จากเครื่อง Server หลงั จากนั้นเคร่ือง Serverจะจดั เตรียมข้อมูลตามทเ่ี ครอ่ื ง Client ร้องขอและตอบกลับ (Response) ไปยงั เครื่อง Client โดยท่ีเครอ่ื งServer อาจมีเพยี งเครื่องเดียวแต่มีเคร่อื ง Client หลายเคร่ืองและเครื่องเหลา่ นั้นอาจร้องขอใชบ้ ริการจากเครื่อง Server พร้อมๆ กนั ก็ได้ การส่อื สารแบบ Client-Server ถูกนาํ มาประยุกตใ์ ช้ในองคก์ รมากขึน้เน่ืองจากมีความสะดวก รวดเร็ว ประหยัดและปลอดภยั เช่นการใช้ทรัพยากรร่วมกนั ได้แกใ่ ช้ Printer รว่ มกนัในลักษณะของ Print Server หรือใชฐ้ านขอ้ มลู รว่ มกันเปน็ Database Server เป็นต้นRequest PrinterResponse Client Server Database รปู ท่ี 1.2จากรูปท่ี 2 เมอื่ Printer ตอ่ อย่กู บั Server จะเรยี กได้วา่ เป็น Print Server ทําหนา้ ที่ให้บริการด้านการพิมพ์ถา้ เคร่ือง Client ตอ้ งการพิมพเ์ อกสารจะสามารถสงั่ พมิ พ์ไดท้ ันทีจากเครอ่ื ง Client นนั้ ๆ ขอ้ มลู ท่ีตอ้ งการพิมพ์จะถูกส่งมายัง Print Server และทาํ การพิมพ์ออกทาง Printer ขอ้ ดีคือสามารถใช้ Printer เพยี งเครอื่ งเดยี วรองรบั การพมิ พง์ านจากเคร่อื ง Client ได้ท้ังหมดทาํ ให้ประหยดั งบประมาณในการจัดซื้อเคร่ืองพมิ พ์
สําหรบั การจดั ทาํ Database Server จะเป็นการจัดเกบ็ ข้อมลู ไว้ทเี่ ครื่อง Server เพียงเครอ่ื งเดียว การจัดการขอ้ มลู ตา่ งๆ เช่นการเพ่มิ ลบ แก้ไขข้อมูลจะกระทาํ กับข้อมูลตัวเดียวกนั ทาํ ใหข้ ้อมลู มีความเป็นหน่งึ เดียวไม่กระจดั กระจาย ข้อมลู มีความถูกต้องนา่ เชอื่ ถือ การเขียนโปรแกรมบนเวบ็ ที่ต้องอาศยั บริการ WWW กเ็ ชน่ เดยี วกนั กับตัวอยา่ งข้างตน้ เมื่อตอ้ งการทําเป็น Web Server ดงั รูปWeb Browser Request Web Server โปรโตคอล HTTP Response รูปท่ี 1.3เครอ่ื ง Server หนง่ึ เครอ่ื งอาจทําเปน็ Web Server ดว้ ยก็ได้ซ่งึ จะทาํ หนา้ ที่ใหบ้ ริการต่างๆ เกีย่ วกับเวบ็ทั้งหมด โดยไฟลท์ เี่ กย่ี วข้องจะถูกจัดเก็บไวใ้ นเคร่ืองน้ี การขอใชบ้ รกิ ารของเคร่ือง Client จะกระทําผ่านบราวเซอร์ (Browser) เช่น Internet Explorer, Chrome, Firefox เปน็ ต้น เมื่อเว็บบราวเซอร์ของเครื่องClient รอ้ งขอหนา้ เว็บเพจดว้ ยการพมิ พ์ URL (Universal Resource Locator) ] ลงไป ขอ้ มลู จะถูกกระทําผ่านโปรโตคอล HTTP (Hypertext Transfer Protocol) ไปยงั เครอื่ ง Server เม่ือ Web Server ได้รบั คํารอ้ งขอก็จะส่งหนา้ เว็บเพจน้ันกลับไปยังเวบ็ บราวเซอร์ของเครื่อง Clientประเภทของโปรแกรมบนเว็บ สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทคือ 1. Static Programming 2. Dynamic ProgrammingStatic Programming เปน็ โปรแกรมบนเวบ็ ที่มีลักษณะตายตัว ไมม่ ีการเปลย่ี นแปลงบ่อยนักเชน่ ประวัตคิ วามเป็นมาขององค์กรเป็นต้น การสร้างไฟลเ์ วบ็ เพจอาจใช้ Text Editor หรอื โปรแกรมสาํ เรจ็ รปู เชน่ Notepad, EditPlus,Dreamweaver เปน็ ต้น เม่ือสรา้ งเสรจ็ แลว้ กอ็ พั โหลดข้ึนไปเก็บบน Web Server หากตอ้ งการแก้ไขก็กระทําในลักษณะเดียวกนั ซงึ่ พบวา่ ไม่มคี วามยดื หยุ่นและย่งุ ยากในการพัฒนาเว็บเพจ โปรแกรมที่ใชเ้ ขียนไดแ้ กภ่ าษาHTML เปน็ ตน้
Web Browser ร้องขอเว็บเพจ Web Server ส่งเวบ็ เพจกลบั ไปยังเวบ็ บราวเซอร์ รูปท่ี 1.4Dynamic Programming เป็นโปรแกรมบนเวบ็ ที่เหมาะสําหรบั ข้อมลู ท่ีมกี ารเปลี่ยนแปลงอยบู่ อ่ ยครั้งหรอื เป็นเว็บท่ีมีการจดั เก็บข้อมูลจาํ นวนมากบนฐานข้อมูลเช่นราคาสินค้า บญั ชรี ายรบั รายจา่ ยเป็นตน้ มคี วามยดื หยุ่นมากกว่า StaticProgramming การเขียนโปรแกรมแบบน้ีต้องอาศัยองค์ความรู้หลายด้านเช่นโปรแกรมท่ีใช,้ ระบบฐานข้อมูล,Web Server รวมถึงโปรแกรมแปลภาษา Web Browser 1.รอ้ งขอเว็บเพจ Web Server ซอฟต์แวร์แปล 2.เรยี กซอฟตแ์ วรแ์ ปล โปรแกรมภาษา โปรแกรมภาษาข้นึ มา ประมวลผลไฟลโ์ ปรแกรม4.สง่ ผลลัพธเ์ ป็น HTMLกลับไปยงั เว็บบราวเซอร์ โปรแกรมภาษา รปู ที่ 1.5 3.ติดตอ่ กับฐานข้อมลู (ถ้าม)ีจากรปู จะเห็นว่าเมื่อเครื่อง Client ร้องขอเวบ็ เพจท่มี ีการเขียนโปรแกรมแบบ Dynamic Programming ผา่ นเว็บบราวเซอร์ เคร่ือง Server จะเรยี กซอฟต์แวร์แปลภาษาขนึ้ มาแปลภาษาโปรแกรมใหเ้ ป็นภาษาเครอื่ ง(Machine Language) เนื่องจากคอมพวิ เตอรเ์ ข้าใจเฉพาะภาษาเครื่องเทา่ น้ัน ในระหวา่ งนี้ถา้ โปรแกรมมคี ําส่งัติดต่อฐานข้อมูลก็จะดาํ เนนิ การตามคําสัง่ ทไี่ ด้รบั โดยฐานข้อมูลอาจอยูใ่ น Server เคร่ืองเดยี วกันนีห้ รืออยู่ในเครือ่ งอน่ื ก็ได้ หลงั จากประมวลผลเสรจ็ เรยี บรอ้ ยจะสง่ ผลลัพธ์เปน็ HTML กลับไปยังเว็บบราวเซอร์ของเคร่ืองเครอื่ ง Client นนั่ เอง
การเตรียมความพร้อมในการเขยี นโปรแกรมภาษา PHP การเขยี นโปรแกรมเว็บเพจดว้ ยภาษา PHP สิ่งทผ่ี พู้ ฒั นาโปรแกรมต้องมีประกอบด้วย • เครือ่ งคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องหรืออยา่ งน้อย 1 เครื่อง เพือ่ ทําเป็น Web Server และ Web Browser • ระบบปฏิบัตกิ าร Windows หรือ Linux • โปรแกรม Web Server เช่น Apache Web Server, Internet Information Service (IIS), Personal Web Server โดยเลอื กใช้ตวั ใดตวั หน่ึง • PHP Engine หรอื ตวั แปลภาษา PHP ซง่ึ ทําหนา้ ท่แี ปลภาษา PHP ให้เปน็ ภาษาเครื่องที่คอมพวิ เตอร์ เข้าใจและทาํ งานไดต้ ามตอ้ งการ • โปรแกรมฐานข้อมูล ซ่ึง PHP รองรบั ฐานข้อมูลหลายประเภทได้แก่ dBase, IMAP, MySQL, MS Access, Oracle เป็นต้น • phpMyAdmin ซึ่งเปน็ โปรแกรมจดั การฐานขอ้ มลู MySQL • โปรแกรมประเภท Editor หรอื Web Authoring เช่น Adobe Dreamweaver, EditPlus เปน็ ต้นขนั้ ตอนการพัฒนาเวบ็ ไซต์ ข้ันตอนการพฒั นา เวบ็ ไซต์ แบ่งออกเปน็ ขนั้ ตอนต่างๆ ซ่งึ สามารถสรุป เพ่ือให้เหมาะกับผเู้ รมิ่ ตน้ ใช้เป็นแนวทางในการสร้าง เวบ็ ไซต์ดังน้ี 1. กาํ หนดเปา้ หมายและวางแผน (Site Definition and Planning) 2. วิเคราะหแ์ ละจัดโครงสรา้ งขอ้ มลู (Analysis and Information Architecture) 3. ออกแบบเวบ็ ไซต์ และเตรียมข้อมูล (Page Design and Content Editing) 4. ลงมอื สรา้ งและทดสอบ (Construction and Testing) 5. เผยแพร่เว็บไซต์ และส่งเสรมิ ให้เป็นทร่ี จู้ ัก (Publishing and Promotion) 6. ดูแลและพฒั นา เวบ็ ไซต์ (Maintenance and Innovation)1. กําหนดเปา้ หมายและวางแผน (Site Definition and Planning) ในการพัฒนา เวบ็ ไซต์ควรกําหนดเป้าหมายและวางแผนไว้ลว่ งหนา้ เพื่อใหก้ าร พัฒนาเว็บไซต์มีแนวทางท่ีชดั เจน ซง่ึ ประกอบไปด้วย 1.1 กาํ หนดวตั ถปุ ระสงค์ของเว็บไซต์ เพื่อใหเ้ หน็ ภาพท่ีชัดเจนวา่ เว็บไซต์ นีต้ อ้ งการนําเสนอส่งิ ใด มีวตั ถปุ ระสงค์อย่างไร 1.2 กาํ หนดกลมุ่ ผชู้ มเปา้ หมาย เพือ่ จะไดร้ ู้วา่ ผชู้ มหลักของเราคือใคร และออกแบบเวบ็ ไซต์ ให้ตอบสนองความต้องการผู้ชมกลมุ่ นน้ั ให้มากที่สุด 1.3 เตรยี มแหล่งข้อมลู ข้อมลู คอื สาระสําคญั ของ เวบ็ ไซต์เราต้องรู้วา่ จาํ เป็นต้องใช้ข้อมูลจากแหล่งใดบ้าง และใชข้ อ้ มลู อะไรบา้ ง 1.4 เตรยี มทกั ษะหรือบุคลากร การสร้าง เว็บไซต์ต้องอาศัยทกั ษะหลายๆ ด้านเช่น การเตรียมเนอ้ื หาออกแบบกราฟิก เขียนโปรแกรมและการดแู ลเวบ็ เซริ ฟ์ เวอร์ เปน็ ต้น
1.5 เตรียมทรพั ยากรตา่ งๆที่จําเปน็ เช่น การจดทะเบียนโดเมนเนม การหาผใู้ ห้บริการรบั ฝากเว็บไซต์ บคุ ลากรในการจัดทําเว็บไซต์และขอ้ มลู ต่างๆ ในการจัดทําเวบ็ ไซต์2. วเิ คราะห์และจัดโครงสร้างขอ้ มลู (Analysis and Information Architecture) ขัน้ ตอนนจ้ี ะเป็นการนําข้อมลู ต่างๆ ท่รี วบรวมไดจ้ ากขนั้ แรก ไมว่ า่ จะเปน็ วัตถปุ ระสงค์ของเว็บไซต์คณุ ลักษณะ ข้อจาํ กัดของกล่มุ เป้าหมาย รวมไปถงึ เนื้อหาหลกั ของเวบ็ ไซต์ นาํ มาประเมินวิเคราะห์ และจดั ระบบ เพื่อให้ได้โครงสรา้ งขอ้ มลู และข้อกําหนด โดยจะนาํ ไปสรา้ งแผนผงั เว็บไซต์ รปู แบบของเมนู รวมไปถงึองค์ประกอบต่างๆของเวบ็ เช่น รปู ภาพและกราฟิก, เสยี ง, วิดโี อ, มลั ติมเี ดีย3. ออกแบบเว็บไซต์ และเตรียมข้อมลู (Page Design and Content Editing) ขน้ั การออกแบบจะตอ้ งสามารถแปลมโนทัศน์ หลักการหรือเนื้อหาย่อยออกมาเป็นภาพให้ได้ หลกัสาํ คญั ในขัน้ ออกแบบน้ีคือการกําหนดสครปิ ตแ์ ละการทาํ Story Board ซึ่งจะทําให้ผูอ้ อกแบบสามารถมองเหน็ภาพของเวบ็ เพจแตล่ ะหนา้ ได้อย่างทะลปุ รโุ ปร่งรวมถงึ การสร้างระบบนาํ ทางเข้าถงึ เน้อื หา (Navigation) ที่น่าสนใจดว้ ย ดงั นนั้ ผูท้ ีท่ าํ หน้าท่นี ้ีควรมคี วามสามารถทางด้านศิลปะพอสมควร4. ลงมอื สร้างและทดสอบ (Construction and Testing) เป็นขัน้ ตอนที่เว็บเพจจะถูกสร้างข้นึ มาจรงิ ๆ ทีละหน้า โดยอาศัย Story Board และองคป์ ระกอบกราฟิกตามทอ่ี อกแบบไว้ เนอื้ หาตา่ งๆจะถกู นาํ มาใส่และจัดรปู แบบ ลงิ คแ์ ละระบบนาํ ทางถกู สรา้ งขน้ึองค์ประกอบเสริมต่างๆ ถูกวางเข้าที่ และเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามท่ีออกแบบไวก้ ารลงมือสร้างเวบ็ เพจต้องอาศยัทกั ษะเกย่ี วกับภาษาที่ใช้เขยี น ทักษะด้านการออกแบบตัวอักษร การเลือกรปู ภาพและการเลอื กใช้โปรแกรมชว่ ยเขยี นเว็บเพจเชน่ Adobe Dreamweaver, Adobe Photoshop เปน็ ต้น อยา่ งไรก็ตามเมื่อลงมือสรา้ งเว็บเพจจริงๆ อาจพบว่าส่ิงที่ไดอ้ อกแบบไว้แล้วอาจไมเ่ หมาะสม หรือควรได้รับการปรบั แต่ง กส็ ามารถทําได้เชน่ กัน5. เผยแพร่เวบ็ ไซต์ และส่งเสรมิ ให้เป็นที่รจู้ กั (Publishing and Promotion) โดยท่ัวไปการนาํ เว็บไซตข์ ้ึนเผยแพรบ่ นอนิ เทอรเ์ น็ต จะทาํ ด้วยการอพั โหลดไฟลท์ ้งั หมดคือ PHP,HTML และไฟล์อืน่ ทเ่ี กย่ี วข้อง ขนึ้ ไปเกบ็ บนเซิร์ฟเวอร์ทีเ่ ปิดบริการไว้ การแลก Banner กบั เว็บไซต์อน่ื การใส่ขอ้ มูลใน Meta Data เพ่ือให้ Search Engine ค้นหาได้ง่ายเปน็ ต้น การอัพโหลดเวบ็ ไซต์หรอื บางครงั้ เราเรยี กว่า “พับลิช” ซึ่งอาจทาํ ด้วยโปรแกรมสรา้ งเว็บไซต์เองหรอื ใชโ้ ปรแกรมสาํ หรบั อัพโหลดโดยเฉพาะก็ได้6. ดแู ลและพฒั นาเว็บไซต์ (Maintenance and Innovation) เม่อื เวบ็ ไซตถ์ ูกเผยแพร่ออกไป ควรปรับปรงุ ดแู ลโดยตลอดให้สอดคล้องกบั ความต้องการของผู้ชม ซ่ึงหน้าทน่ี ้ีครอบคลุมหลายเร่อื ง ตั้งแต่การตรวจสอบเว็บเซิร์ฟเวอร์ว่าไม่หยุดทํางานบ่อยๆ ลงิ คท์ ่เี ชอ่ื มโยงไปภายนอกยงั คงใช้ได้หรือไม่ คอยตอบคําถามท่ีมผี ูม้ าฝากไวบ้ นเวบ็ เพจ ถา้ เปน็ เวบ็ ข่าวสารกต็ ้องปรับปรุงข้อมลูให้ทันสมัยอยตู่ ลอดเวลา และถา้ มกี ารใช้ฐานข้อมลู ก็ต้องแบ็คอัพข้อมลู อยา่ งสม่ําเสมอ
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: