Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Blockchain

Blockchain

Published by Kanokkhwan Sirirumran, 2022-07-31 06:01:09

Description: Blockchain

Search

Read the Text Version

เทคโนโลยีที่ใช้ใน การทำธุรกรรม โดยไม่ต้องผ่านบุคคลที่สาม (ฺBlockchain)

https://www.finnomena.com/planet46/what-is-bitcoin-mining/ 1.









ความหมายของบล็อกเชน (Blockchain) ฐานข้อมูล (Database) ที่เก็บไว้ในเครื่องของทุกคนแต่ไว้ใจและเชื่อถือได้แม้ใน ระบบที่ไม่มีใครเป็นผู้ดูแลกลาง คือ ทุกคนสามารถแชร์ข้อมูลร่วมกันได้โดยไม่ต้อง ไปเก็บไว้ที่ไหน ทุกคนถือคนละกอปปี้ที่หน้าตาเหมือนกันไว้ได้เลย ถ้าเกิดมีการ เปลี่ยนแปลง ข้อมูลในมือทุกคนก็จะเปลี่ยนแปลงไปโดยอัตโนมัติ



วิวัฒนาการของเทคโนโลยีบล็อกเชน satoshi nakamoto เกิดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 2008 โดยการนำเสนอ ของ Satoshi Nakamoto จากเอกสาร Bitcoin : A Peer-to-Peer Electronic cash System เป็นการนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการสร้าง แพลตฟอร์ม (Platform) ที่สามารถสร้างความ ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนเงินสกุลดิจิทัลที่ชื่อว่า บิตคอยน์ Bitcoin โดยใช้ทฤษฏีเกี่ยวกับการทำ Cryptography และ Distributed Computing

หลักการทำงานของเทคโนโลยีบล็อคเชน (Blockchain)

องค์ประกอบของเทคโนโลยีบล็อกเชน ชุดบรรจุข้อมูล การจดจำข้อมูลทุกๆ ธุรกรรม การตรวจสอบความถูกต้อง การกำหนดข้อตกลง

บอกว่า block นี้คือ block ที่เท่าไห บอกจำนวนครั้งในการสุ่มหาค่า hash ที่น้อยกว่าค่า target โดยค่า nonce จะเป็น ตัวแปลหนึ่งในสมการ และจะทำการสุ่มค่านี้เข้าไปเรื่อยๆ เป็นข้อมูลที่เราต้องการใส่ลงไปใน block เมื่อ block ถูก verify เสร็จจะได้ค่า HASH มาหนึ่งค่า ซึ่งใช้เป็นค่าอ้างอิงสำหรับ block นั้นๆด้วย เช่น bitcoin จะ HASH แบบ SHA256 Block ข้อมูลที่ใช้เก็บใน blockchain (เปรียบเสมือนข้อมูลที่อยู่บน database)

วิิธีการจดจำข้อมูลทุกๆ ธุรกรรมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกๆ ฝ่ายในระบบ และข้อมูล พร้อมจัดทำเป็นสำเนาแจกจ่ายให้กับทุกคนในระบบ โดยสำเนานั้นจะถูกกระจาย ส่งต่อไปให้ทุกๆ Node ในระบบเพื่อให้ทุกคนรับทราบว่ามีธุรกรรมอะไรเกิดขึ้น ตั้งแต่เปิดระบบบล็อกเชน ถึงแม้ว่า Node ใด เกิดความเสียหายไป ก็ยังสามารถ ยืนยันหรือกู้ข้อมูลธุรกรรมที่เกิดจาก Node อื่น ให้ทั้งระบบได้เหมือนกัน Chain

การกำหนดข้อตกลงและความเห็นชอบร่วมกันระหว่างสมาชิกในเครือข่ายบล็อกเชน โดยสมาชิกต้อง ยอมรับกฎระเบียบร่วมกัน ด้วยกลไกในการควบคุมความถูกต้องของข้อมูลใน Node ผ่านอัลกอริทึมต่างๆ เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องเที่ยงตรงและเป็นข้อมูลชุดเดียวกัน รวมทั้งข้อมูลมีการจัดเก็บที่สอดคล้องและ ใมีลำดับการจัดเก็บตรงกัน 1. Proof-of-Work การกำหนดข้อตกลงโดยการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 2. Proof-of-Stake การกำหนดข้อตกลงโดยการวางสินทรัพย์ 3. Practical Byzantine Fault Tolerance การกำหนดข้อตกลงโดยใช้เสียงข้างมาก 4. Proof-of Authority การกำหนดข้อตกลงโดยการกำหนดสิทธิ์ใช้งาน Consensus

การตรวจสอบความถูกต้องแบบทบทวนทั้งระบบและทุก Node ในระบบบล็อกเชน เพื่อให้แน่ใจว่า จะไม่มีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นไม่ว่าจะมาจากส่วนใดก็ตาม Validation









รูปแบบของเครือข่ายบล็อคเชน

Non-permissioned public ledgers (หรือบางรายเรียกว่า Permissionless Ledgers) เป็น Blockchain ที่ไม่มีใคร เป็นเจ้าของ อนุญาตให้ใครๆ สามารถอ่านเดต้า ส่ง Transaction เดต้าได้, เปิดให้ใครๆ ก็สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการอันประกอบด้วยการระบุว่า block ไหนถูกเพิ่มเข้าไปใน chain ยกตัวอย่างเช่น กลุ่มของสกุลเงินดิจิทัล (Crypto Currency) อย่าง Bitcoin และ Ethereum ที่มองภาพกว้างกว่า Bitcoin โดย ไม่จำกัดอยู่แค่สกุลเงิน แต่เป็นระบบประมวลผลแบบไร้ศูนย์กลาง

Permissioned public ledgers เป็น Distributed ledger ที่มีการถูกคัดเลือกผู้ที่เข้ามาเกี่ยวข้องไว้ก่อน เครือ ข่ายนั้นอาจจะมีเจ้าของ ซึ่งเหมาะกับแอปฯ ที่ต้องการความรวดเร็ว และมีความ โปร่งใส ตัวอย่างเช่น Ripple ซึ่งเป็นระบบแลกเปลี่ยนหน่วยเงินและการโอน เงินข้ามประเทศ

Permissioned private ledgers เป็น Private Blockchain เต็มตัว ทั้งการเข้าถึงข้อมูลและการ submit transaction ถูกจำกัดให้กับกลุ่มที่ถูกกำหนดไว้ก่อน ตัวอย่างเช่น Bankchain ซึ่งเป็นระบบ Clearing และ Settlement ที่ทำงานบน Blockchain











ข้อดีที่ 1: ประสิทธิภาพ ข้อดีที่ 2: ความพร้อมที่จะให้ตรวจสอบบัญชี ข้อดีที่ 3: ความสามารถด้านการติดตาม ข้อดีที่ 4: ความโปร่งใส ข้อดีที่ 5: ความปลอดภัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook