Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฏิบัติการนิเทศ ติดตามและติดตามผล

คู่มือปฏิบัติการนิเทศ ติดตามและติดตามผล

Published by ศน.ซัครียา หมาดบากา, 2022-07-18 12:36:20

Description: คู่มือปฏิบัติการนิเทศ ติดตามและติดตามผล

Search

Read the Text Version

ค่มู อื อ อ นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลเพอื่ พฒั นาการจัดการเรยี นรู้ ในสถานการณโ์ รคไวรัสโคโรนา (COVID 2019) โดยการใช้ DEEP นายซัครียา หมาดบากา ศกึ ษานเิ ทศก์ วิทยฐานะ ศึกษานิเทศกช์ านาญการ สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คู่มือนิเทศ ติดตามและประเมินผลเพ่ือพฒั นาการจัดการเรียนรู้ ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า( COVID 2019 ) โดยการใช้ DEEP นายซัครียา หมาดบากา ศึกษานิเทศก์ วทิ ยฐานะศึกษานิเทศก์ชานาญการ กล่มุ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสตูล สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คานา การนิเทศ มีความสาคัญต่อการพฒั นาคุณภาพการศึกษาอย่างยิ่ง เพราะการนิเทศการศึกษาเป็ น การรวมความคิดทางปัญญาของผูใ้ หก้ ารนิเทศ ผรู้ ับการนิเทศ และผสู้ นบั สนุนการนิเทศเขา้ ดว้ ยกนั เพื่อผล สุดทา้ ย ที่แทจ้ ริง คือ การพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน และคุณภาพการศึกษาให้บรรลุจุดหมายของหลักสูตร และ ผเู้ รียน มีคุณภาพตามที่มุ่งหวงั ไวท้ ุกประการ การนิเทศการศึกษามุ่งหวงั ให้การดาเนินงานประสบผลสาเร็จ ลุล่วงด้วยดี และมีประสิทธิภาพให้สนองตอบกบั สภาพปัจจุบนั ที่โรงเรียนมีความเหลื่อมล้าและแตกต่าง หลากหลาย ท้งั มาตรฐานและคุณภาพ โดยมุ่งหวงั ให้เกิดการนิเทศดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลาย เขา้ ถึงสถานศึกษา ทกุ แห่ง เขา้ ถึงครูทุกพ้ืนท่ีอยา่ งเท่าเทียมกนั เพ่ือการพฒั นาและส่งเสริมใหเ้ กิดคุณภาพการศึกษาที่มีความเท่า เทียมกนั สถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019 ) เมื่อตน้ ปี พ.ศ. 2563 เป็นโรคระบาดท่ีร้ายแรงมาก ทาให้มีการวางแผนการจัดการเรียนรู้ในหลากหลายรูปแบบต่างๆ ท้ังในระดับกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถม/มธั ยมศึกษา และ สถานศึกษาทุกแห่ง ขา้ พเจา้ รับผิดชอบกลุ่มงานส่งเสริมและพฒั นาส่ือนวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการ ศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล จดั ทาคู่มือนิเทศ ติดตามและประเมินผลการพฒั นาการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า( COVID 2019 ) โดยการใช้ DEEP เพ่ือช่วยเหลือ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของ สถานศึกษาในสังกดั เพ่ือสรุปผลการดาเนินการนิเทศการเตรียมความพร้อมในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษาในสังกัด และนาผลการนิเทศ ปัญหาในการนิเทศ ความต้องการรับการนิเทศและ ขอ้ เสนอแนะของครู ผูบ้ ริหารสถานศึกษารวมท้งั ศึกษานิเทศก์ มาใช้เป็ นขอ้ มูลในการวางแผนการนิเทศ การศึกษา ในปี งบประมาณต่อไป ขอขอบพระคุณทุกฝ่ ายท่ีเกี่ยวขอ้ งที่ให้ความร่วมมือ และสนบั สนุนการนิเทศการศึกษา สานกั งาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษาสตูลเป็นอยา่ งดี ขอขอบคุณผชู้ ่วยเหลือให้การจดั ทาคู่มือนิเทศ ติดตามและประเมินผลเพ่ือพฒั นาการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า( COVID 2019 ) โดยการใช้ DEEP ให้สาเร็จลุล่วงไปดว้ ยดีหวงั เป็นอยา่ งย่งิ วา่ เอกสารฉบบั น้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นา คุณภาพการศึกษาในสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษาสตลู หรือหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวขอ้ ง ซคั รียา หมาดบากา

สารบญั ส่วนที่ 1 กรอบนโยบายการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 1 ส่วนท่ี 2 แนวทางการพฒั นาการเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019) 7 ส่วนที่ 3 ข้นั ตอนปฏิบตั ิการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา 15 ส่วนที่ 4 คมู่ ือโดยการใช้ DEEP ( Digital Education Excellence Platform) 23 บรรณานุกรม 33 ภาคผนวก ก ความเป็นมาและความสาคญั 34 ภาคผนวก ข กฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 35 คณะที่ปรึกษา/ ผจู้ ดั ทา 37

1 ส่วนท่ี 1 กรอบนโยบายการพฒั นาคุณภาพการศึกษา การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ท่ีมุ่งเนน้ ผเู้ รียน ใหม้ ีทกั ษะการเรียนรู้และมีใจใส่เรียนรู้ตลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปล่ียน บทบาทครู การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจดั การศึกษาและการพฒั นาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต สอดคลอ้ งกบั แผนการศึกษาแห่งชาติพุทธศกั ราช 2560 – 2579 ในยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพฒั นาศกั ยภาพคน ทุกช่วงวยั และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้มีเป้าหมายใหผูเ้ รียนมีทกั ษะและคุณลกั ษณะพ้ืนฐานของ พลเมืองไทยทกั ษะและคุณลกั ษณะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทกั ษะความรู้ความสามารถ และสมรรณะ ตามมาตฐานการศึกษา มาตรฐานวิชาชีพ และพฒั นคุณภาพชีวิตได้ตามศกั ยภาพ สถานศึกษาทุกระดับ การศึกษาสามารถจดั กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ตามหลกั สูตรอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน รวมท้งั แหล่งเรียนรู้สื่อตาราเรียนและนวตั กรรม ประชาชนสามารถเขา้ ถึงใด้โดยไม่จากดั เวลา และสถานที่มี ระบบและกลไกการวดั การติดตามและประเมินผลมีประสิ ทธิภาพมีระบบการผลิตครู อาจารย์ และ บุคลากรทางการศึกษาไตม้ าตรฐานระดบั สากลครูอาจารยต์ ลดดจนบุคลากรทางการศึกษาไดร้ ับการพฒั นา สมรรถนะตามมาตรฐานการพฒั นาคุณภาพศึกษาใหเ้ กิดคณุ ภาพน้นั

2 ส่ิงหน่ึงที่เป็ นคุณภาพของผูเ้ รียนที่เชื่อมั่นว่าคุณภาพผูเ้ รียนจะเกิดได้และบรรลุหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวตั (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560 ) และหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 น้นั จะตอ้ งมีกระบวนการสู่ความสาเร็จมี องคป์ ระกอบและปัจจยั คือ คุณภาพของผเู้ รียน ที่โรงเรียนตอ้ งประกนั คณุ ภาพต่อผปู้ กครอง และผมู้ ีส่วน ไดส้ ่วนเสียวา่ ผเู้ รียนจะตอ้ งมีคุณภาพและมาตรฐานตามหลกั สูตร มีทกั ษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 ดงั น้นั การพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนน้ัน โรงเรียนต้องประกันคุณภาพเพ่ือสร้างมาตรฐานและความเชื่อม่ัน กระบวนการสู่ความสาเร็จในการพฒั นา 3 กระบวนการ คือ กระบวนการบริหาร กระบวนเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา

3 ซ่ึงกระบวนการนิเทศการศึกษา เป็ นภารกิจจาเป็ นต่อการจัดการศึกษาที่ต้องให้บุคลากร ท่ีเก่ียวขอ้ งในหน่วยงานจดั การศึกษา มีการพฒั นาเพื่อให้การปฏิบตั ิงานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การศึกษาเป็ นกระบวนการ ท่ีมีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือ ช้ี แนะและพัฒนางานให้ ประสบผลสาเร็ จ ทันต่อ ส ภ า พ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ที่ เ กิ ด ข้ึ น อี ก ท้ัง ยัง เ ป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ส า คั ญ ท่ี ช่ ว ย เ ห ลื อ ส นั บ ส นุ น ใ ห้ กระบวนการประกนั คุณภาพ การศึกษา ตามมาตรฐาน การศึกษาของประเทศ ท้งั ยงั เ ป็ น ส่ ว น ส า คัญ ใ น ก า ร ส่งเสริมระบบที่ต้องพฒั นา คุณภาพผู้เรี ยนให้มีทักษะ ท่ีจาเป็ นในศตวรรษที่ 21 เพื่อเขา้ สู่การปฏิรูปการศึกษาและการจดั การศึกษาในยุคประเทศไทย 4.0 ตลอดท้งั มาตรฐานการศึกษาของชาติ ที่มงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนมีคุณภาพ มีคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มีทกั ษะ วิชาการ ทกั ษะอาชีพ ทกั ษะชีวิต ทกั ษะการเป็ นผูน้ าและทกั ษะการนาไปสู่การสร้างนวตั กรรมต่างๆ กระบวนการขบั คล่ือนการพฒั นาคุณภาพการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

4 การนิเทศการศึกษาจึงมีความสาคญั ต่อการพฒั นา ปรับปรุง และเพ่ิม ประสิทธิภาพในการจดั การศึกษา ในสถานศึกษา เพ่ือให้ผูบ้ ริหาร และครูสอนมีความรู้ ความเขา้ ใจ ในด้านการบริ หาร จัดการด้าน หลักสูตร การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ รวมท้ัง การปฏิบัติงานอื่นๆ ที่ส่งผลต่อ การพฒั นาคุณภาพการศึกษา

5 วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือใชเ้ ป็นเอกสารการนิเทศ ติดตามและประเมินผลเพื่อพฒั นาการจดั การเรียนรู้ใน สถานกรณ์โรคไวรัสโคโรนา ( COVID 2019 ) โดยการใช้ DEEP 2. เพอื่ ใหก้ ารจดั การเรียนรู้โดยใชส้ ื่อแพลตฟอร์มดา้ นการศึกษาเพอ่ื ความเป็นเลิศ (Digtal Education Excellence Platform) สามารถพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 3. เพอ่ื ใหส้ ามารถรวบรวมผลการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า (COVID 2019) โดยการใช้ DEEP เป้าหมาย ดาเนินการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการพฒั นาเพ่ือจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัส โคโรนา (COVID 2019) โดยการใช้ DEEP ให้แก่โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสตูล ในระยะ 2 ปี การศึกษา ( 2563-2564) ภาพความสาเร็จ 1. มีแนวทางการขบั เคลื่อนการปฏิบตั ิการนิเทศสูงโรงเรียน 2. มีขอ้ มลู สารสนเทศของการนิเทศ 3. มีระบบและกระบวนการนิเทศตามบริบทของสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 4. มีแผนและคู่มือการนิเทศตามบริบทของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 5. มีการนิเทศโรงเรียนทุกโรงเรียน 6. มีการสรุปและรายงานผลการนิเทศ

6 การนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลเพ่ือพฒั นาการเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า (COVID 2019) โดยการใช้ DEEP วันเดือนปี รายการนิเทศ ผู้รับผิดชอบ 1-30 กนั ยายน 25563 แจ้งนโยบายการใช้ DEEP นายซัครียา หมาดบากา ของกระทรวงศึกษาธิการแก่ทกุ 1 ตลุ าคม - 31 ธนั วาคม 2563 โรงเรียนในสังกดั ศึกษานิเทศก์ประจา 1 มกราคม – 31 พฤษภาคม การศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความ เครือข่าย 2564 ต้องการนเิ ทศ นายซัครียา หมาดบากา -จัดทาคู่มือการใช้ DEEP แก่ผ้รู ับ 1-30 มถิ ุนายน 2564 การนเิ ทศ ( ผ้บู ริหารสถานศึกษา/ นายซัครียา หมาดบากา ครูผู้สอน/นกั เรียน) -จัดทาคู่มือการนเิ ทศ ติดตามและ ประเมนิ ผลเพ่ือพฒั นาการเรียนรู้ใน สถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019 ) โดยการใช้ DEEP -อบรมการใช้ DEEP แก่บคุ ลากรใน สังกดั สพป.สตูล -อบรม(ทางตรง) การใช้ DEEP แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาในสังกดั สพป.สตูล -อบรม(ออนไลน์) การใช้ DEEP แก่ คณะครูทุกโรงเรียนนสังกดั สพป.สตูล - อบรม(ทางตรง) การใช้ DEEP แก่ ผ้บู ริหารและครูในโรงเรียนเป้าหมาย

7 ส่วนท่ี 2 แนวทางการพฒั นาการเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019) ตน้ ปี พ.ศ. 2563 หรือปลายปี การศึกษา 2562 เป็นระยะแรกเร่ิมการระบาดโรคติดเช้ือไวรัส โคโรน่า ( COVID 2019 ) ในประเทศไทย และ ทวีความรุนแรงข้ึนในปี พ.ศ. 2563 ภารกิจใน การจดั การศึกษาจึงตอ้ งมีการวางแผน เตรียมความ พร้อม ป้องกนั และแกป้ ัญหาอยตู่ ลอดเวลา ต้งั แต่ ระดบั กระทรวงศึกษาธิการ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน สานกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา ทกุ เขต ซ่ึงสานกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาสตูลเป็ นหน่ึง ของหน่วยงานที่มีความรับผิดชอบใน การจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพ การศึกษาร่วมกนั

8 สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาสตลู ประกาศจดั ต้งั ศูนย์ เฉพาะกิจการจดั การศึกษาทางไกลใน สถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) (ศฉก.COVID-19) โดยแตง่ ต้งั คณะกรรมการศูนย์ เฉพาะกิจการจดั การศึกษาทางไกล ในสถานการณ์ โรคติดเช้ือไวรัส โคโรน่า 2019 (COVID-19) ประกอบดว้ ย ท่ีปรึกษา/ คณะกรรมการ บริหาร มีหนา้ ที่ ใหค้ าปรึกษา ส่งเสริม สนบั สนุน กากบั ติดตาม และประเมินผลการขบั เคล่ือนการดาเนินงานตามนโยบาย และภารกิจของการจดั การศึกษาทางไกลในสถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ใหส้ าเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี และเกิดประโยชนส์ ูงสุดต่อ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา

9 คณะทางาน มีหนา้ ที่ 1) จดั เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกบั การจดั การศึกษาทางไกล ท้งั ระบบการจดั การศึกษา ทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) และระบบการจดั การศึกษาทางไกลในระบบออนไลน์ และออฟไลน์ เพื่อประโยชนใ์ นการวางแผน แกไ้ ขปัญหา และพฒั นาการจดั การเรียนการสอนทางไกล 2) รวบรวมขอ้ มลู จดั ทาคลงั ส่ือการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) 3) จดั ทาแผนงานโครงการ และปฏิทินปฏิบตั ิงานการดาเนินการจดั การเรียนการ สอน ทางไกล ติดตามวเิ คราะหส์ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 4) จดั ประชุม วางแผนการดาเนินงาน และรวบรวมสรุปผล 5) พฒั นาครู ผบู้ ริหาร และบุคลากรทางการศึกษา ให้ มีความรู้ความเขา้ ใจและทกั ษะการใช้ เทคโนโลยดี ิจิทลั ในการจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) และ การจดั การศึกษาทางไกลใน ระบบออนไลน์และออฟไลน์ 6) นิเทศ ติดตาม และสรุปผลการดาเนินงานและ รายงานผลการดาเนินงานให้ สานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ทราบตามระยะเวลาและแผนการ ดาเนินงานท่ีกาหนด 7) ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอ่ืน ๆ ที่ไดร้ ับมอบหมาย 2. การสร้างความเขา้ ใจกบั ผบู้ ริหารสถานศึกษา และครูผสู้ อนเร่ืองการจดั การเรียนการสอนทางไกลฯ โดย 2.1 สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สตูล ได้จัดทาเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ ใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใชร้ ูปแบบ PICED MODEL ดงั น้ี Plan (ว า ง แ ผ น ) Implementation (ก า ร ป ฏิ บัติ ) Control (การควบคุมกากบั ติดตาม) Evaluation (การประเมินผล) และ Diffusing (การประชาสัมพนั ธ์) โดยได้กาหนดบทบาทหน้าท่ีผูเ้ ก่ียวขอ้ ง ออกเป็ น 4 ฝ่ าย ไดแ้ ก่ บทบาทของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา บทบาทของผบู้ ริหาร บทบาทของครูผสู้ อน บทบาทของผปู้ กครอง และ บทบาทของนกั เรียน สอดคลอ้ งกบั PICED MODEL และกาหนดแนวทางการจดั การเรียนรู้แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ไดแ้ ก่

10 ระยะท่ี 1 การเตรียมความ พร้อม ระหวา่ งวนั ท่ี 1 – 17 พฤษภาคม 2563 ระยะที่ 2 การทดลอง การ จดั การเรียนรู้ ระหวา่ งวนั ท่ี 18 พฤษภาคม – 30 มิถนุ ายน 2563 และ ระยะท่ี 3 การจดั การเรียนรู้ โดยการ จดั การเรียนรู้กาหนดเป็น 4 รูปแบบ ไดแ้ ก่ On-Air Education, Online Education, Interactive Education, Onsite Education ใหโ้ รงเรียนในสงั กดั ใชเ้ ป็นแนว ทางในการจดั การเรียนรู้

11 2.2 แต่งต้งั คณะกรรมการ นิเทศ กากบั ติดตามการจดั การ เรียนรู้ใน สถานการณ์การ แพร่ระบาด ของ เช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โดยใชร้ ูปแบบ PICED MODEL โดยการออกตรวจ เยยี่ มความพร้อม ของโรงเรียน และ เยย่ี มบา้ น ผปู้ กครองนกั เรียน ในช่วงการทดลองการเรียนการสอนทางไกล ระหวา่ งวนั ที่ 18 พฤษภาคม ถึง 30 มิถุนายน 2563 พร้อมรับฟังความคิดเห็น ขอ้ เสนอแนะจากทางโรงเรียน และผปู้ กครอง เพอ่ื เป็นขอ้ มูล ในการปรับปรุงพฒั นาแนวทางการจดั การเรียนการสอนใหม้ ีประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึนต่อไป

12 สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตลู มีขอ้ เสนอแนะท่ีไดด้ าเนินการเพื่อ แกป้ ัญหา สภาพการดาเนินการของโรงเรียน ดงั น้ี 1) จัดทาแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ Covid-19 เพื่อ เผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์การนานโยบายท่ีไดว้ ิเคราะห์สู่วิธีการปฏิบตั ิ โดยกาหนดเป็นข้นั ตอนท่ีชดั เจน ใหโ้ รงเรียน สามารถใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั การเรียนการสอนได้ 2) การลงพ้ืนท่ี กากบั ติตดามการจดั การเรียนการสอนทางไกล โดยผบู้ ริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรที่เก่ียวขอ้ งเพ่ือสร้างความเขา้ ใจกบั ผบู้ ริหาร คณะครู และผปู้ กครองเพื่อลด ความวิตกกงั วล และใหข้ อ้ เสนอแนะในการปรับเปลี่ยนสถานการณ์เฉพาะหนา้ ให้สอดคลอ้ งกบั บริบท ของแต่ละโรงเรียน เช่น การเลือกและกาหนดปริมาณใบงานท่ีเหมาะสม การให้ความช่วยเหลือแก่ นักเรียนที่ขาดความ พร้อม การใชส้ ่ือสังคมออนไลน์เป็ นช่องทางการให้คาปรึกษาแก่ผูป้ กครองและ นกั เรียน เป็นตน้ 3) ควรออกแบบแนวการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์ Covid-19 ตามบริบทของแต่ละ เขตพ้ืนท่ี ซ่ึงอาจมีรูปแบบที่แตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับปัจจัยด้านความพร้อมของผูเ้ รียน ศักยภาพของ ครูผสู้ อน เช่น การทาบทเรียนสาเร็จรูปที่ครูสามารถจดั ทาร่วมกนั ในแต่ละเครือข่ายและมอบหมายให้ นกั เรียนเรียนรู้ไดต้ ามศกั ยภาพ ของตนเอง / การมอบหมายงานเป็ นชิ้นงาน เช่น โครงงานสารวจตาม บริบทเชิงพ้นื ท่ี หรือโครงงานทดลองที่ บูรณาการความรู้จากหลายๆสาระการเรียนรู้ และสังเคราะห์เป็น ชุดความรู้ที่นกั เรียนแสวงหาดว้ ยตนเองได้ เป็นตน้

13 4) โรงเรียนควรประเมินผลการทดลองการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในดา้ นต่างๆ เช่น - ระบบบริหารการจดั การ - ระบบ การเรียนการสอน - ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน - ระบบการรับ-ส่งใบงาน การบา้ น feedback - ระบบการช่องทางติดต่อสื่อสารระหว่างโรงเรียน ครู และผูป้ กครอง 10 กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล รายงานการจดั การเรียนการ สอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สานกั งาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตลู - ระบบการเยย่ี มบา้ นนกั เรียน 5) โรงเรียนทุกโรงควรแต่งต้งั คณะกรรมการขบั เคลื่อนการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โดยมี ฝ่ ายต่าง ๆ เช่น - ฝ่ ายอานวยการ หนา้ ท่ี ให้คาปรึกษา อานวยความสะดวก แก้ไขปัญหา และ ขอ้ เสนอแนะ - ฝ่ ายวิชาการ หน้าที่ การติดตาม ตรวจสอบการจดั การเรียนการสอนตาม รูปแบบท่ีโรงเรียนกาหนด - ฝ่ ายนิเทศติดตาม หนา้ ท่ี ออกแบบ การเยยี่ มบา้ นนกั เรียน - ฝ่ ายขอ้ มูลสารสนเทศ หนา้ ท่ี รวบรวมจดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศของโรงเรียนใน ทกุ มิติ - ฝ่ายดูแลช่วยเหลือนกั เรียน หนา้ ที่ คอยใหค้ วามช่วยเหลือนกั เรียนที่มีปัญหาตา่ ง ๆ เช่น การเรียน สุขภาพ พฤติกรรม ฯลฯ - ฝ่ายประชาสัมพนั ธ์ หนา้ ท่ี ประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่การดาเนินงาน สร้างความ เขา้ ใจใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ ง ในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีเหมาะสม - ฝ่ายประเมิน สรุป และรายงานผล หนา้ ที่ ประเมินผล การดาเนินการ แลว้ จดั ทาสรุป รายงาน ให้ หน่วยงานหรือผทู้ ี่มีส่วนเก่ียวขอ้ ง 6) การใชช้ ่องทาง Line ในการ ติดต่อส่ื อสารกับผู้ปกครอง - ครู ตรวจสอบการเขา้ เรียนของนกั เรียน – ผูป้ กครองแจง้ ปัญหาท่ีนกั เรียนเรียน ไม่เข้าใจ – ครูทาส่ือเสริมเน้ือหาท่ี นกั เรียนไม่เขา้ ใจ เช่น คลิป VDO ใบ ความรู้ ฯลฯ - ผู้ปกครองรายงาน พฤติกรรมนักเรี ยน - ครู นาเสนอ ชิ้นงานนักเรี ยน - ครูแจ้งเร่ื องราว ความเคล่ือนไหวต่างๆ

14 7) การลงพ้นื ที่ติดตาม เยยี่ มเยยี น เพ่อื ใหก้ าลงั ใจ และอธิบาย วตั ถุประสงค์ การเรียนทางไกล 8) การจดั เตรียมใบงาน ตอ้ งคานึง ลกั ษณะกิจกรรม/บริบทของผเู้ รียน ควร เลือกใบงานเฉพาะท่ีสามารถ ปฏิบตั ิไดด้ ว้ ยตนเอง พิจารณาความ เหมาะสมของใบงานกิจกรรมคู/่ กลมุ่ หรืออ่ืนๆท่ีตอ้ งใหผ้ เู้ รียน ปฏิบตั ิร่วมกนั กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาสตูลจึงเป็นกลุ่มงานหลกั ที่มีหนา้ ท่ีวางแผน ประสานงานกบั สถานศึกษาทกุ แห่งในสงั กดั ใช้กระบวนการนิเทศร่วมกับกระบวนการบริหารและกระบวนการจัดการเรียนรู้ ของผูบ้ ริ หาร สถานศึกษาและครูผสู้ อนในสถานศึกษา ศึกษานิเทศกจ์ ึงมีหนา้ ท่ีช่วยเหลือ ใหค้ าปรึกษา อานวยความ สะดวกในการจดั การเรียนรู้ท้งั ในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา ( COVID 2019 ) แก่ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครูผสู้ อน รวมท้งั มีส่วนร่วมในการดูแลสวสั ดิภาพและสวสั ดิการของนกั เรียน ในสังกดั อีกดว้ ย

15 ส่วนที่ 3 ข้นั ตอนปฏิบตั ิการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา การพฒั นาคุณภาพการศึกษาจะสาเร็จไดต้ ามเป้าหมาย จาเป็นตอ้ งมีองคป์ ระกอบสาคญั ในการ พฒั นา คือ กระบวนการบริหาร กระบวนการจดั การเรียนรู้ และกระบวนการนิเทศ ที่ต้องร่วมกัน สนับสนุนส่ งเสริ มไปด้วยกันในลักษณะของ \"เกลียวเชือก\" กระบวนการนิเทศการศึกษา เป็นกระบวนการ ท่ีทาให้เกิดการพฒั นาและปรับปรุง กระบวนการเรียนการสอนของครู โดยมุ่งใหเ้ กิด การจดั การเรียนรู้ ท่ีมีประสิทธิภาพส่งผลถึงคุณภาพของผูเ้ รียน กระบวนการนิเทศช่วยทาให้เกิดการ พฒั นาคน พฒั นางาน สร้างการประสานสัมพนั ธ์ และสร้างขวญั กาลงั ใจ ซ่ึงตอ้ งดาเนินงานใหป้ ระสาน สัมพนั ธ์กบั กระบวนการอื่นในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาใหบ้ รรลุตามเป้าหมาย ทาให้เกิดการพฒั นา ท่ียง่ั ยืนถาวร ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019 ) ขา้ พเจ้าจึงได้เสนอโครงการจดั การ เรี ยนรู้โดยใช้แพลตฟอร์มทางการศึกษาเพื่อความเป็ นเลิศ DEEP ซ่ึงเป็ นนโยบายหน่ึงของ กระทรวงศึกษาธิการ ต่อสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล และจดั ทา “คู่มือนิเทศ ติดตามและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019) โดยการใช้ DEEP เพ่อื ใหก้ ระบวนการนิเทศของศึกษานิเทศกเ์ ช่นขา้ พเจา้ มีเคร่ืองมือสาหรับนิเทศที่ทาให้การนิเทศ บรรลุวตั ถุประสงค์ ใช้ในการปฏิบตั ิงานที่เป็ นประโยชน์ต่อการพฒั นาคุณภาพการศึกษา การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล เพ่ือพฒั นาการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019 ) โดยการใช้ DEEP มีการดาเนินงานตามข้นั ตอนและระยะเวลา ดงั น้ี ข้นั ตอนท่ี 1 การศึกษาขอ้ มูลพ้ืนฐานและความตอ้ งการนิเทศ ( 1 สิงหาคม – 30 กนั ยายน 2563 ) ข้นั ตอนที่ 2 การวางแผนการนิเทศ (1 – 31 ตุลาคม 2563) ข้นั ตอนท่ี 3 จดั ทาเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการนิเทศและการหาคุณภาพเคร่ืองมือ (1 ตุลาคม – 31 ธนั วาคม 2563) ข้นั ตอนที่ 4 ดาเนินการนิเทศ ( 1 มกราคม - 31 ธนั วาคม 2564) ข้นั ตอนที่ 5 การประเมินผลการนิเทศ ( 1 มกราคม – 31 มีนาคม 2565 )

16 รายละเอียดการดาเนินงานนิเทศแตล่ ะข้นั ตอน มีดงั ตอ่ ไปน้ี ข้นั ตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการนิเทศ การดาเนินการข้นั ตอนน้ี เป็ นการศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการจาเป็ นและกาหนด แนวทางในการแก้ปัญหา เพ่ือจดั เตรียมขอ้ มูลสาหรับการกาหนดขอบข่ายแนวทางการดาเนินงาน โดยไดส้ ารวจ สอบถาม และสัมภาษณ์ครูผสู้ อนจากโรงเรียนต่างๆในสังกดั เกี่ยวกบั สภาพปัญหาการ จดั การเรียนการสอนในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019 ) ของโรงเรียนในสังกดั สานกั งาน เขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาสตูล ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร จ า เ ป็ น ใ น ก า ร พั ฒ น า ค ว า ม รู้ ความสามารถใน ก า ร ส อ น Online หรื อ On demand หรื อการสอนใน รูปแบบอื่นๆ ท่ีทา ใ ห้ นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง เ น้ื อ ห า วิ ช า ต า ม หลักสู ตรได้ด้วย จึงมีความจาเป็ นท่ีครูผูส้ อนจะตอ้ งได้รับการพฒั นายกระดบั ความสามารถในการใช้ DEEP เพื่อให้ สามารถพฒั นาการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัส โคโรน่า ( COVID 2019 ) หรือสถานการณ์ ปกติไดเ้ ช่นกนั

17 ข้นั ตอนท่ี 2 การวางแผนการนเิ ทศ การวางแผนดาเนินการนิเทศพฒั นาการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019 ) มีการดาเนินการดงั น้ี 2.1 เสนอโครงการต่อ ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาสตลู โดย ผา่ นความเห็นชอบจาก ผอู้ านวยการกลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสตลู 2.2 จดั ประชุมคณะ ศึกษานิเทศก์ สานกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาสตลู เพ่อื ช้ีแจงทาความเขา้ ใจการพฒั นาการ จดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรค ไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019 ) โดยการใช้ DEEP และจดั กระบวนการนิเทศร่วมกนั ใน ระดบั เขตพ้นื ท่ี 2.3 จดั ทาแผนการนิเทศ โรงเรียนตา่ งๆในสังกดั สานกั งาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ในการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019 ) โดยการใช้ DEEP 2.4 เตรียมดาเนินการจดั อบรมพฒั นาการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019 ) โดยการใช้ DEEP ใหแ้ ก่โรงเรียนในสงั กดั ท้งั หมด จานวน 159 โรง ในรูปแบบ Online และโรงเรียนเป้าหมาย จานวน 10 โรง ในรูปแบบปกติหรือ Onsite ณ โรงเรียนน้นั ๆ

18 2.5 เตรียมติดตามผลการอบรมพฒั นาการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัส โคโรน่า (COVID 2019) โดยการใช้ DEEP 2.6 กาหนดระยะเวลาในการนิเทศ โดยกาหนดระยะเวลาในการนิเทศ (1 กรกฎาคม 2564 – 31 ธนั วาคม 2564 ) ข้นั ตอนท่ี 3 จัดทาเคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการนิเทศและการหาคุณภาพเคร่ืองมือ 3.1 จดั ทาเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การพฒั นาการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัส โคโรน่า (COVID 2019) โดยการใช้ DEEP โดยขา้ พเจา้ เป็นผดู้ ูแลระบบการใช้ DEEP แพลตฟอร์ม ดา้ นการศึกษาเพือ่ ความเป็นเลิศในระดบั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล ไดจ้ ดั ทา เอกสารเพ่ือใชก้ ารประชุม อบรม ช้ีแจงทาความเขา้ ใจแก่ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครูผสู้ อน และนกั เรียน ในการใช้ DEEP จานวน 3 เลม่ คือ 1) คมู่ ือการใช้ DEEP เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ในสถานการณ์ ไวรัสโคโรน่า (COVID 2019) สาหรับผดู้ ูแลผใู้ ชร้ ะบบ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา) 2) คู่มือการใช้ DEEP เพ่อื พฒั นาการเรียนรู้ในสถานการณ์ ไวรัสโคโรน่า (COVID 2019) สาหรับครูผสู้ อน 3) คู่มือการใช้ DEEP เพ่ือ พฒั นาการเรียนรู้ในสถานการณ์ ไวรัสโคโรน่า (COVID 2019) สาหรับนกั เรียน

19 โดยการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในการใช้ DEEP ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และจากการฝึกอบรมผูด้ ูแลระบบระดบั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสตูล ทาให้ขา้ พเจา้ สามารถออกแบบ จดั ทา เรียบเรียงเน้ือหาวิธีการใชข้ องเอกสารท้งั 3 เลม่ น้ีไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ 3.2 จดั ทาเอกสารทางวิชาการเกี่ยวกบั การนิเทศเพื่อพฒั นาการจดั การเรียนรู้ใน สถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า (COVID 2019) โดยการใช้ DEEP เพื่อใชด้ าเนินการนิเทศและ การประเมินผล จานวน 1 เลม่ คือ “คูม่ ือนิเทศ ติดตามและประเมินผลเพ่ือพฒั นาการจดั การ เรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019 ) โดยการใช้ DEEP ” สาหรับ ศึกษานิเทศก์ เช่น ขา้ พเจา้ ซ่ึงหมายถึงเอกสาร ฉบบั น้ีนน่ั เอง โดยการนาขอ้ มูลจากการประชุมระดบั กระทรวงศึกษาธิการ ระดบั สานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (สพฐ.) ระดบั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตลู (สพป.สตลู ) และระดบั การมอบนโยบายของ ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสตลู ต่อผอู้ านวยการสถานศึกษา มาประมวลสรุปเป็นการ พฒั นาการเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019 ) นามาจดั ทา“ค่มู ือนิเทศ ติดตาม และประเมินผลเพ่ือพฒั นาการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า (COVID 2019) โดยการใช้ DEEP ” เพื่อใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา

20 ข้นั ตอนที่ 4 ดาเนินการนเิ ทศ 4.1 ดาเนินการจดั อบรมพฒั นาการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019 ) โดยการใช้ DEEP ใหแ้ ก่ โรงเรียนในสงั กดั ท้งั หมด(กล่มุ ประชากร) จานวน 159 โรง ในรูปแบบ Online และ โรงเรียนเป้าหมาย(กลุ่มตวั อยา่ ง จานวน 10 โรง ในรูปแบบการอบรมปกติ (Onsite) ณ โรงเรียนน้นั ๆ 4.2 ติดตามผลการอบรม โดยมอบคมู่ ือการ ใช้ DEEP เพ่ือพฒั นาการเรียนรู้ใน สถานการณ์ไวรัสโคโรน่า (COVID 2019) สาหรับผดู้ ูแลผใู้ ชร้ ะบบ (ผบู้ ริหาร สถานศึกษา) คมู่ ือการใช้ DEEP เพ่ือ พฒั นาการเรียนรู้ในสถานการณ์ไวรัสโคโรน่า (COVID 2019) สาหรับครูผสู้ อน และค่มู ือการใช้ DEEP เพ่ือพฒั นาการเรียนรู้ในสถานการณ์ไวรัสโคโรน่า (COVID 2019) สาหรับนกั เรียน ใหก้ บั ทุกโรงเรียน

21 4.3 บนั ทึกการนิเทศการติดตามผลการอบรม พฒั นาการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัส โคโรน่า ( COVID 2019 ) โดยการใช้ DEEP โดยนิเทศตามข้นั ตอน ระยะเวลา และใชเ้ คร่ืองมือ ตามที่กาหนด การสะทอ้ นผลการนิเทศ ปรับปรุง และพฒั นาการดาเนินงาน เสนอต่อที่ปร ะชุมกล่มุ นิเทศติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตลู และ ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา สตลู ตามลาดบั

22 ข้นั ตอนที่ 5 การประเมนิ ผลการนิเทศ ดาเนินการประเมินผลการนิเทศ ตามลาดบั ดงั น้ี 5.1 ประมวลผลจากการบนั ทึกการนิเทศการติดตามผลการอบรมพฒั นาการจดั การเรียนรู้ ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019 ) โดยการใช้ DEEP 5.2 ประเมินผลการใช้ DEEP เพื่อพฒั นาการเรียนรู้ในสถานการณ์ไวรัสโคโรน่า (COVID 2019) ของผรู้ ับการนิเทศ 5.3 ประเมินพฤติกรรมการนาความรู้ไปใชข้ อง ผเู้ ขา้ รับการนิเทศ 5.4 ประเมินความพงึ พอใจของผรู้ ับการนิเทศที่มีต่อการใช้ DEEP เพ่ือพฒั นาการเรียนรู้ใน สถานการณ์ไวรัสโคโรน่า (COVID 2019) 5.5 เสนอผลการประเมินเพอ่ื พฒั นาการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ( COVID 2019) โดยการใช้ DEEP รายงานผลการนิเทศต่อผเู้ กี่ยวขอ้ ง 5.6 นาผลการนิเทศท่ีเป็นปัญหา อุปสรรคและขอ้ เสนอแนะไปพฒั นาการนิเทศในคร้ัง ตอ่ ไปหรือในปี การศึกษาตอ่ ไป

23 ส่วนท่ี 4 คู่มือการใช้ DEEP (Digital Education Excellence Platform) “ระบบ DEEP” หมายถึง แพลตฟอร์มด้านความการศึกษาเพื่อความเป็ นเลิศ (Digital Education Excellence Platform) ของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีเร่ิ มใช้งานในปี การศึกษา 2563 เป็ น แพลตฟอร์มที่จะใช้ เป็ นฐานการเรียนเพิ่มเติมจากการเรียนออนไลน์ และในอนาคตจะเป็ นส่วนหน่ึง ของการบริหารจดั การเร่ือง School Management System จดั การเรียนการสอน การสอบ และติดตามวดั และประเมินผลของครูและ นกั เรียนดว้ ย เช่น ครูสามารถเขา้ ศึกษาอบรมเครื่องมือการจดั การเรียนการ สอนออนไลน์ไดจ้ ากเวบ็ ไซต์ Deep By MOE ที่มีเคร่ืองมือ การจดั การสอนออนไลน์ดว้ ย G Suite และ Microsoft Teams เป็ นช่องทางให้ ภาคเอกชนท่ีสนใจอยากจะพฒั นาการศึกษาไทยไดเ้ ขา้ มานาเสนอ ขอ้ มูลสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั ผเู้ รียน ในการเรียนรู้ในอนาคต โดยจะมีข้นั ตอน เทคนิค วธิ ีในการ ปฏิบตั ิงานสาหรับผดู้ ูแลระบบและนายทะเบียนขอ้ มูลสารสนเทศ ดงั น้ี 1. การจดั การผ้มู สี ิทธ์สิ มัครใช้งาน ผดู้ ูแลระบบของโรงเรียนเขา้ สู่ระบบ DEEP เพือ่ สร้าง whitelist เตรียมพร้อมสาหรับการ ลงทะเบียนของ ผดู้ ูแลระบบโรงเรียน, นายทะเบียน, นกั เรียน, อาจารย์

24 เมื่อเขา้ ระบบแลว้ เลือกเมนู ผู้มีสิทธ์สิ มคั รใช้งาน ระบบจะแสดงรายการ รายช่ือผมู้ ีสิทธ์ิสมคั ร ใชง้ าน ที่ไดม้ ีการสร้างไว้ โดยผใู้ ชง้ านสามารถ สร้าง แกไ้ ข ลบ คน้ หารายชื่อ ในระบบได้ 1.1 การสร้าง ผู้มีสิทธ์ิสมคั รใช้งาน ผู้ ใชง้ านกดป่ ุม +สร้าง เพือ่ เขา้ สู่ฟอร์มสร้างคุณครู / นกั เรียนในโรงเรียนจากน้นั ระบบจะแสดงฟอร์มใหก้ รอกขอ้ มลู ข้นึ จากน้นั ผใู้ ชง้ านกรอก รายละเอียดท่ี ตอ้ งการให้ครบ

25 และกด บนั ทกึ เมื่อกรอกเรียบร้อย 1.2 การแก้ไข whitelist ผใู้ ชค้ น้ หารายการท่ีตอ้ งการแกไ้ ขจากน้นั กดป่ มุ แก้ไข

26 เม่ือกดป่ ุม แกไ้ ข ระบบจะแสดงฟอร์มของรายการที่เลือกเพ่อื ให้ ทาการแกไ้ ข รายละเอียด เม่ือแกไ้ ขรายละเอียดเรียบร้อยแลว้ กด บันทกึ เพ่ือทาการบนั ทึกรายละเอียด ที่ไดท้ าการแกไ้ ขไป 1.3 การลบ whitelist ผใู้ ชค้ น้ หารายการที่ตอ้ งการแกไ้ ขจากน้นั กดป่ มุ ลบ

27 เมื่อกดป่ ุม ลบ ระบบจะแจง้ เตือนวา่ ต้องการลบข้อมูลใช่หรือไม่? หากลบแลว้ คณุ จะไม่สามารถ นาขอ้ มลู กลบั มาได้ หากไมต่ อ้ งการลบกด ปิ ด หากยนื ยนั ในการลบขอ้ มูลกด ใช่, ฉันต้องการลบข้อมูล 2. การ Reset Password แอดมินโรงเรียนมีสิทธ์ิในการ reset password ผใู้ ชง้ านซ่ึงสามารถทาไดบ้ นระบบดงั น้ี เมื่อเขา้ ระบบ DEEP แลว้ น้นั ใหผ้ ูด้ ูแลเขา้ ที่เมนู ผ้ใู ช้งาน จากน้นั ระบบจะแสดงรายละเอียดรายการผู้ ใชง้ าน ข้ึนมาผดู้ ูสามารถ คน้ หา, ดูรายละเอียด, เปล่ียนรหสั ผา่ น, แกไ้ ข รายละเอียดที่เก่ียวขอ้ งกบั ผใู้ ชง้ านได้

28 2.1 การดูรายละเอียดผู้ ดูแลสามารถดูรายละเอียดของผใู้ ชง้ านไดโ้ ดยกดป่ มุ ดูรายละเอยี ด เมื่อ กดป่ ุม ดูรายละเอียดระบบจะแสดงรายละเอียดผใู้ ชง้ านที่ เลือกไวข้ ้ึนมาเมื่อดูรายละเอียดเสร็จเรียบร้อย ร้อยสามารถกลบั ไปยงั หนา้ เมนูเดิมไดโ้ ดยกดป่ มุ กลบั

29 2.2 การเปลย่ี นรหสั ผ่านผใู้ ชง้ าน ผดู้ ูแลสามารถเปล่ียนรหัสผา่ นใหผ้ ใู้ ชง้ านไดโ้ ดยกดป่ มุ เปลย่ี นรหัสผ่าน เมื่อกดแลว้ ระบบจะใหท้ าการเปลี่ยนรหสั ผา่ น ผดู้ ูแลตอ้ งใส่รหสั ผา่ นใหม่โดยมีเงื่อนไขรหสั ผา่ นดงั น้ี 1. ความยาวอยา่ งนอ้ ย 8 ตวั 2. มีอกั ษร และตวั เลขอยา่ งนอ้ ย 1 ตวั 3. มีอกั ขระพิเศษอยา่ งนอ้ ย 1 ตวั 4. (` !@#$%^&*()-_+=:;\"',./? `)

30 เมื่อเปล่ียนเรียบร้อยแลว้ กดป่ ุม บนั ทึก หากตอ้ งการยกเลิกกด กลบั 2.3 การแก้ไข ขอ้ มูลผู้ ใชง้ าน ผู้ ดูแลสามารถเขา้ แกไ้ ขไดโ้ ดยกดป่ มุ แก้ไข เมื่อกดป่ ุมแกไ้ ขแลว้ หนา้ จอระบบจะแสดงฟอร์มแกไ้ ขผใู้ ชง้ านข้ึนผดู้ ูแลสามารถแกไ้ ข รายละเอียดต่าง ๆ ไดโ้ ดยรายละเอียดท่ี สามารถแกไ้ ขไดไ้ ดแ้ ก่ คานาหนา้ , ช่ือ, สกลุ , คานาหนา้ องั กฤษ, ช่ือ องั กฤษ, นามสกุล องั กฤษ, เบอร์โทร, LINE ID, อีเมลสารอง เม่ือแกไ้ ขเรียบร้อยแลว้ กดป่ ุม บันทกึ เมื่อตอ้ งการยกเลิกกด กลบั

31 3. จัดการห้องเรียน เม่ือผใู้ ชง้ านเขา้ สูร้ ะบบบเขา้ ท่ี เมนู ห้องเรียน ผใู้ ช้ งานจะสามารถ สร้าง, คน้ หา, ดูตารางสอน, แกไ้ ขหอ้ งเรียน, ลบหอ้ งเรียนได้ 3.1 การสร้างห้องเรียน สามารถทาไดโ้ ดยกดป่ ุม +สร้าง จากน้นั ระบบจะแสดงฟอร์มสร้างหอ้ งเรียนข้ึนมาเพื่อใหผ้ ใู้ ชง้ านกรอกรายละเอียดของ หอ้ งเรียนท่ีตอ้ งการสร้าง โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ● ช่ือห้องเรียน ● ปี การศึกษา ● ภาคการศึกษา ● รายละเอียดหอ้ งเรียน ● เลือกประเภทหอ้ งเรียน (ขอ้ มลู ที่ใหเ้ ลือก super admin เป็นคนใส่ใหแ้ ลว้ admin เลือก) ● เลือกระดบั ช้นั (ขอ้ มูลที่ใหเ้ ลือก super admin เป็นคนใส่ใหแ้ ลว้ admin เลือก) 3.2 จัดการนาเข้ารายช่ือนกั เรียนเข้าห้องเรียน เม่ือกรอกรายละเอียดขอ้ มลู หอ้ งเรียนขอ้ 4.1 เรียบร้อยแลว้ อีกส่วนนึงท่ีตอ้ งดาเนินการคือนารายชื่อนกั เรียนเขา้ หอ้ งเรียนซ่ึงจะอยสู่ ่วนลา่ งของฟอร์ม สร้างหอ้ งเรียน ระบบจะแสดงรายช่ือนกั เรียนท่ีไดท้ าการลงทะเบียนกบั ระบบแลว้ ข้ึนมาแสดงเพื่อให้ ผใู้ ชง้ านไดเ้ ลือกจดั การนาเขา้ เรียนเขา้ หอ้ งเรียนท่ีจะสร้างข้ึน

32 ปัญหา อุปสรรค ในการปฏิบัติงาน ในการดาเนินการส่งเสริม และพฒั นาสื่อนวตั กรรมทางการศึกษาและเทคโนโลยที างการศึกษา ในส่วนของ แพลตฟอร์ม DEEP ของกระทรวงศึกษาธิการน้นั มีปัญหา อปุ สรรคในการดาเนินการดงั น้ี 1. ครูผสู้ อนไมส่ ามารถลงทะเบียนเขา้ ใชง้ านในระบบได้ 2. นกั เรียนไม่สามารถลงทะเบียนเขา้ ใชง้ านในระบบได้ 3. ผดู้ ูแลระบบระดบั โรงเรียนไมส่ ามารถเขา้ ระบบของผดู้ ูแลระบบได้ 4. การดาเนินการลงทะเบียนของนกั เรียนไม่สามารถดาเนินการได้ แนวทางการแก้ไขปัญหา 1. กรณีท่ีนกั เรียนและครูผสู้ อนไม่สามารถลงทะเบียนในระบบ DEEP ไดน้ ้นั เน่ืองจากการ ดาเนินการลงทะเบียนโดยใชเ้ ลขประจาตวั ประชาชนเป็นช่ือผใู้ ช้ และใชว้ นั เดือนปี เกิดเป็นรหสั ผา่ น โดยระบบไดด้ ึงขอ้ มลู จากมาระบบ DMC อาจจะมีการคลาดเคลื่อนของขอ้ มลู แนวทางการแกป้ ัญหา สามารถทาไดโ้ ดยผดู้ ู แลระบบระดบั โรงเรียนและในระดบั สานกั งานเขตพ้ืนท่ี ทาการเพม่ิ ขอ้ มลู ผู้ ใชใ้ น ทกุ ระดบั 2. กรณีที่ผดู้ ูแลระบบระดบั โรงเรียนไม่สามารถเขา้ ระบบของผดู้ ูแลระบบได้ แนวทางการ แกป้ ัญหาทางผดู้ ูแลระบบในระดบั สานกั งานเขตพ้นื ที่ไดเ้ ปิ ดการลงทะเบียนผา่ นกลุม่ Line Open Chat : AdminDeep_Spesao

33 เอกสารอ้างองิ กระทรวงศึกษาธิการ.(2563). คู่มือการใช้งาน DEEP. กรุงเทพฯ: ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ือสาร สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ. สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตลู . (2561). แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา. สตลู : กลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการพฒั นาการจดั การศึกษา สานกั เขตพ้นื ที่การศึกษา ประถมศึกษาสตูล. สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล.(2563). รายงานการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019(COVID-19) ของโรงเรียนในสังกดั . สตูล : กลมุ่ ติดตามและประเมินผลการพฒั นาการจดั การศึกษา สานกั เขตพ้นื ท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสตลู .

34 ภาคผนวก ก ขอบเขตการดาเนนิ งาน ขอบเขตการดาเนินงาน 1. การดาเนินงานของผดู้ ูแลระบบในระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา (Co-Leader) ของแพลตฟอร์ม DEEP 2. การดาเนินงานของผูด้ ูแลระบบ และนายทะเบียนขอ้ มูลสารสนเทศระดบั โรงเรียน นิยาม ศพั ทเ์ ฉพาะ “สถานศึกษา” หมายถึง สถานศึกษาในสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตลู “ระบบ DEEP” หมายถึง แพลตฟอร์มด้านความการศึกษาเพื่อความเป็ นเลิศ (Digital Education Excellence Platform) ของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีเร่ิมใชง้ านในปี การศึกษา 2563 “ผดู้ ูแลระบบในระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษา” หมายถึง ศึกษานิเทศก์ท่ีได้รับการแต่งต้งั ให้เป็ น Co-Leader ระบบ DEEP และ ศึกษานิเทศก์ท่ีไดร้ ับการแต่งต้งั ให้เป็ นผูด้ ูแลระบบในระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษา “ผูด้ ูแลระบบระดับ โรงเรียน” หมายถึง ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ไดร้ ับการแต่งต้งั จากโรงเรียน มีหนา้ ท่ี 4 อย่างเกี่ยวกับระบบ DEEP คือ 1) ดาเนินการเก่ียวกับระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ผ่าน www.deep.go.th 2) พิจารณาและตรวจสอบการนาเข้าข้อมูลผ่านระบบการจัดการเรียนการสอน ออนไลน์ผ่าน www.deep.go.th 3) ให้คาปรึกษาและทาการช่วยเหลือเม่ือมีปัญหาติดขัดด้านระบบ ระหว่างการจดั การเรียนการ สอนแบบออนไลน์ผ่าน www.deep.go.th 4) ปฏิบตั ิงานอ่ืนท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ระบบการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน www.deep.go.th “นายทะเบียนขอ้ มูลสารสนเทศ ระดับโรงเรียน” หมายถึง ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ท่ีไดร้ ับการแต่งต้งั จากโรงเรียน มีหน้าท่ี 4 อย่างเกี่ยวกบั ระบบ DEEP คือ 1) ดาเนินการเกี่ยวกบั ขอ้ มูลพ้ืนฐาน ขอ้ มูลเฉพาะกิจทางการ จัดการเรียนการสอนออนไลน์ผ่าน www.deep.go.th 2) พิจารณาการให้ข้อมูล และเปิ ดเผยข้อมูล 3) จดั ให้มีระบบการรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลพ้ืนฐาน และขอ้ มูลเฉพาะกิจ 4) ปฏิบตั ิงานอ่ืนที่ เก่ียวขอ้ งกบั ขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นการศึกษา

35 ภาคผนวก ข กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคบั ท่เี กย่ี วข้อง 1. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2562 และที่แกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2545 หมวดที่ 9 เทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา มาตราที่ 65 กล่าววา่ “ใหม้ ีการพฒั นาบุคลากรท้งั ดา้ นผผู้ ลิต และ ผใู้ ชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา เพือ่ ใหม้ ีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการผลิต รวมท้งั การใช้ เทคโนโลยที ี่เหมาะสม มีคณุ ภาพ และประสิทธิภาพ” 2. ประกาศยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 – 2580) ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการพฒั นาและ เสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ขอ้ 4.3 ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 ขอ้ 4.3.1 การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการพฒั นาทกั ษะสาหรับศตวรรษท่ี 21 กล่าววา่ “การปรับเปล่ียนระบบการเรียนรู้ใหเ้ อ้ือต่อการพฒั นาทกั ษะสาหรับศตวรรษที่ 21 โดยออกแบบ กระบวนการเรียนรู้ในทุกระดบั ช้นั อย่างเป็นระบบ ต้งั แต่ระดบั ปฐมวยั จนถึงอุดมศึกษาที่มุ่งเนน้ การใช้ ฐานความรู้และระบบคิดในลกั ษณะสหวิทยาการ อาทิ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และการต้งั คาถาม ความ เขา้ ใจ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และการคิดเพ่ือหาทาง แกป้ ัญหา ความรู้ และทกั ษะทางศิลปะ และความรู้ดา้ นคณิตศาสตร์และระบบคิดของเหตผุ ลและการหา ความสัมพนั ธ์ การพฒั นา ระบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการท่ีเนน้ การลงมือปฏิบตั ิมีการสะทอ้ นความคิด/ ทบทวนไตร่ตรอง การสร้างผูเ้ รียน ให้สามารถกากบั การเรียนรู้ของตนได้การหล่อหลอมทกั ษะการ เรียนรู้และความคิดสร้างสรรคท์ ่ีผูเ้ รียนสามารถ นาองค์ความรู้ไปใช้ในการสร้างรายไดห้ ลายช่องทาง รวมท้งั การเรียนรู้ดา้ นวิชาชีพและทกั ษะชีวิต” ขอ้ 4.3.2 การเปล่ียนโฉมบทบาท ‘ครู’ ให้เป็ นครูยุคใหม่ กล่าวว่า “การเปลี่ยนโฉมบทบาท ‘ครู’ ให้เป็ นครูยุคใหม่ โดยปรับบทบาทจาก “ครูสอน” เป็ น “โคช้ ” หรือ “ผูอ้ านวยการการเรียนรู้” ทาหน้าท่ีกระตุน้ สร้างแรงบนั ดาลใจ แนะนาวิธีเรียนรู้และวิธีจดั ระเบียบการสร้าง ความรู้ ออกแบบ กิจกรรมและสร้างนวตั กรรมการเรียนรู้ให้ผูเ้ รียน และมีบทบาทเป็นนกั วิจยั พฒั นา กระบวนการเรียนรู้ เพื่อผลสัมฤทธ์ิของผู้เรี ยน รวมท้ังปรับระบบการผลิตและพัฒนาครู ต้ังแต่การดึงดูด คัดสรร ผมู้ ีความสามารถสูงให้เขา้ มาเป็นครูคุณภาพ มีระบบการพฒั นาศกั ยภาพและสมรรถนะครูอยา่ งต่อเนื่อง ครอบคลุมท้งั เงินเดือน เส้นทางสายอาชีพ การสนบั สนุนส่ือการสอนและสร้างเครือข่ายพฒั นาครูให้มี

36 การแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหวา่ งกนั รวมถึงการพฒั นาครูที่มีความเชี่ยวชาญดา้ นการสอนมาเป็นผสู้ ร้างครู รุ่นใหม่ อยา่ งเป็นระบบ และวดั ผลงานจากการพฒั นาผเู้ รียนโดยตรง” ขอ้ 4.3.6 การวางพ้ืนฐานระบบรองรับการเรียนรู้โดยใชด้ ิจิทลั แพลตฟอร์ม กล่าววา่ “การวาง พ้ืนฐานระบบรองรับการเรียนรู้โดยใชด้ ิจิทลั แพลตฟอร์ม โดยเนน้ การพฒั นาทกั ษะดิจิทลั ทกั ษะการคดั กรองความรู้ องคค์ วามรู้ การใชเ้ ทคโนโลยผี สมผสานกบั คุณค่าของครูไปพร้อมกนั การพฒั นาส่ือ การ เรียนรู้ท่ีมีคณุ ภาพท่ีประชาชนสามารถเขา้ ถึงทรัพยากรและใชป้ ระโยชน์จากระบบการเรียนรู้และพฒั นา ตนเองผา่ นเทคโนโลยกี ารเรียนรู้สมยั ใหมใ่ หเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด” 4 3. จุดเน้นของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล“4 สร้าง สู่ก้าวที่ 5 เทคโนโลยี” ความมุ่งมนั่ เทคโนโลยี(ICT Commitment) กล่าวว่า “การแสดงความมุ่งมน่ั ในรูปแบบของนโยบาย เป้าหมายและโครงการการจดั การเรียน การสอนดว้ ย เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลและมีการ ส่ือสาร ภายในองคก์ รใหท้ ราบโดยทวั่ กนั ” ปฏิบตั ิการเทคโนโลยี (ICT Activity) กล่าวว่า “การดาเนินกิจกรรม ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานและโครงการการ จดั การเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลท่ีสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษา เชียงใหม่ เขต 3 กาหนด” ระบบเทคโนโลยี (ICT System) กล่าววา่ “การบริหารการจดั การเรียนการสอน ดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล อย่างเป็นระบบ มีการติดตาม ประเมินผลและทบทวนเพ่ือการพฒั นา อย่างต่อเน่ือง” วฒั นธรรมเทคโนโลยี (ICT Culture) กล่าวว่า “การท่ีทุกคนในองค์กรมีการดาเนินงาน ร่วมกนั ในการดาเนินงานการจดั การเรียนการสอนดว้ ย เทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลจนกลายเป็นส่วน หน่ึงของวฒั นธรรมองค์กร” เครือข่ายเทคโนโลยี (ICT Network) กล่าวว่า “การขยายขอบเขตของการ ดาเนินงานการจดั การเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล จาก ภายในองคก์ รสู่ภายนอก องคก์ ร”

37 คณะท่ีปรึกษา 1. นายประหยดั สุขขี ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตลู 2. นายอภิปราย โสภายง่ิ รองผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตลู 3. นายอานวย สีนาค รองผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตลู 4. นางสาวศุจิรัตน์ ไชยบลู ย์ รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล 5. นายนภดล ยง่ิ ยงสกุล ผอู้ านวยการกลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา ผู้จดั ทา นายซคั รียา หมาดบากา ศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะศึกษานิเทศกช์ านาญการ กล่มุ งานส่งเสริมและพฒั นาสื่อ นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา กล่มุ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาสตลู

สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสตลู สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ