บทพากย์เอราวณั
ประวัตผิ ู้แต่ง • พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั พระนามเดมิ วา่ ฉมิ • เป็นพระราชโอรสลาดบั ท่ี ๔ ในพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช (รชั กาลท่ี ๑) • ทรงพระราชสมภพเมอื่ วนั ท่ี ๒๔ กุมภาพนั ธ์ พ. ศ. ๒๓๑๐ • เมื่อสมเด็จพระบรมชนกนาถปราบดาภเิ ษกเปน็ ปฐมกษัตริยแ์ หง่ กรุงรตั นโกสินทร์ใน พ.ศ. ๒๓๒๕ พระองค์ทรงไดร้ ับการ สถาปนาเป็นเจา้ ฟ้ากรมหลวงอศิ รสุนทร • พระบาทสมเด็จพระพุทธมาลยั เสดจ็ ข้ึนครองราชยใ์ น พ.ศ. ๒๓๕๒ • เสดจ็ สวรรคต เมอื่ พ.ศ. ๒๓๖๗ ครองสิรริ าชสมบตั ิ เปน็ เวลา ๑๕ ปี
ประวตั ผิ ู้แต่ง • ทรงปรับปรุงทา่ ราต่าง ๆ ท้ังโขนและละคร ซ่ึงกลายเปน็ ต้นแบบมาถึงปัจจบุ ัน ทรงประพันธเ์ พลง \"บุหลันลอย เล่อื น\" หรือ \"บุหลนั ลอยฟ้า\" ทรงพระราชนิพนธ์ วรรณกรรมมากมาย เชน่ ขนุ ชา้ ง ขนุ แผน คาวี สังข์ ทอง ไกรทอง อิเหนา • ทรงแกะสลกั บานประตูวิหารพระศรีศากยมนุ ี ทว่ี ดั สุทัศนเทพวราราม ปัจจุบันเก็บรกั ษาไว้ ณ พิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาตพิ ระนคร
ลักษณะคำประพันธ์ บทพากยเ์ อราวัณใช้คาประพนั ธ์ประเภทกาพยฉ์ บงั ๑๖ ซ่งึ มลี กั ษณะดงั นี้ ๑ บทมี ๑๖ คาแบ่งเปน็ ๓ วรรค วรรคแรกมีจานวน ๖ คา วรรคที่ ๒ มี ๔ คา วรรคสดุ ทา้ ยมี ๖ คา ฉนั ทลักษณก์ าพย์ฉบัง ๑๖ บทที่๑ บทท่ี๒
อนิ ทรชติ เป็นโอรสองคโ์ ตของนางมณโฑกบั ทศกณั ฐ์ เดิมชอื่ รณพักตร์ เปน็ พ่นี างสดี าและไพ นาสรุ ยิ วงศ์ มชี ายาชือ่ นางสวุ รรณกนั ยุมา มีโอรส ๒ องค์ คอื ยามลิวนั และ กนั ยเุ วก เมื่อเม่ืออายุ ๑๔ ปี ไปเรยี นวิชากบั ฤๅษโี คบุตร รพู้ ระเวทชื่อ “มหากาลอัคคี” คือ ถา้ บชู าพระเป็นเจ้าท้งั สามไดแ้ ก่ พระ อิศวร พระนารายณ์ และพระพรหมครบ ๗ ปี จะมีฤทธิ์ยง่ิ เม่ือครบ ๗ ปี พระอศิ วรประทาน ศร พรหมาสตร์ และพระเวทใหแ้ ปลงเปน็ พระอนิ ทร์ได้ พระพรหมประทาน ศรนาคบาศ และให้พรว่าตายกใ็ ห้ ตายกลางอากาศ หากศีรษะตกพน้ื โลกจะลกุ ไหม้ ด้วยไฟกัลป์ ตอ้ งนาพานแกว้ ของพระพรหมมารบั พระ นารายประทานศรวษิ ณุปาณมั ทศกณั ฐใ์ ช้ให้ไปปราบพระอนิ ทร์ พระอินทร์แพท้ ง้ิ จักรแกว้ ไว้ จงึ นามา ถวายทศกณั ฐ์ ทศกณั ฐ์จงึ ตงั้ ชือ่ ให้ใหมว่ ่า “อินทรชติ ” แปลว่า “ผ้พู ิชติ พระอนิ ทร์”
เนอ้ื เร่ือง ตอนท่ีจะนาเสนอต่อไปนี้ เปน็ ตอน การทาศกึ สงครามครง้ั ท3ี่ ของอินทรชิตกบั พระลกั ษมณ์ ในศึกครัง้ ทส่ี าม อนิ ทรชติ ได้ยกทพั ออกรบกบั พระลักษณ์ โดยให้บริวารยกั ษแ์ ปลงเปน็ เทวดา การณุ ราชแปลงกายเปน็ ชา้ งเอราวณั ช้างทรงของพระอนิ ทร์ และ ตัวอนิ ทรชติ เองกแ็ ปลงกายเป็นพระอนิ ทรด์ ้วย ชา้ งเอราวัณของพระอนิ ทร์มคี วามอลงั การ เป็นช้างเผอื กสีขาว มี ๓๓ หวั แต่ละหัวมี ๗ งา แตล่ ะงามี สระบัว ๗ สระ แต่ละสระบวั มีบัว๗ กอ แตล่ ะกอมีดอกบวั ๗ ดอก แต่ละดอกมกี ลีบ ๗ กลบี ในแต่ละ กลบี มีเทพธิดาทสี่ วยงามยงิ่ นกั ๗ องค์ และเทพธิดาแต่ละองคก์ ม็ นี างบริวารอกี องคล์ ะ ๗ คน บรรดา นางเทพธิดากาลงั รา่ ยากนั เปน็ ท่ีรนื่ เรงิ และทุกหวั ของช้างเอราวณั จะมวี มิ านแกว้ ทีส่ วยงามมากหวั ละ ๑ หลัง
ส่วนช้างเอาราวัณก็ทรงเคร่ืองประดับสวยงาม โลทันแปลงร่าง เป็นควาญช้าง บรรดาไพร่พล ยกั ษก์ แ็ ปลงเปน็ เทวดาอารักษ์ มีนาค ครุฑ กินนร ฤาษี วิทยาธร คนธรรพ์ที่มีอาวุธครบมือตามมา พร่ัง พรอ้ มลอยมาบนฟา้ ไปยังสมรภูมชิ ัย กล่าวฝ่ายพระราม พระลักษณ์ก็เสด็จข้ึนรถทรงเคล่ือนพลไปยัง สมรภูมิชัยอย่างอลังการเช่นกัน โดยมมี าตลี เปน็ ผู้ขบั รถให้ บรรดาไพรพ่ ลโห่รอ้ งเอาชยั กันสนั่น สรรพส่ิงทีเ่ สดจ็ ผ่าน เช่น ภเู ขาก็ โนม้ ลงมาบรรจบกนั ประดจุ ประนมมอื ไหว้อวยชยั ให้พร ฟ้าดินก็สะเทือน เลื่อนลั่น เหล่าพลวานรก็หักถอน ต้นไม้มาถือเป็นอาวุธ บรรดาเทพ เทวัญท้ังหลายก็แซ่ซ้องอานวยอวยชัยให้ รถทรงล่องลอยมาบน ยอดทวิ ไม้ลอ้ รถไม้ได้เตะพนื้ เลย
เนื้อเรือ่ ง ครน้ั พอถงึ ยงั สยามรบ พระลกั ษณ์พอเหน็ พระอนิ ทรย์ กทพั มา ด้วยก็เกิดความสงสัยจงึ ตรสั ถามสุครพี สคุ รพี จงึ ตรสั ตอบไปวา่ ทกุ ครั้งทพี่ ระอนิ ทรเ์ สดจ็ จะเสดจ็ ท่ามกลางหมู่เทวดา แต่คร้ัง นี้ดแู ปลกๆให้พระลกั ษณร์ ะวงั พระองคอ์ าจเปน็ กลอุบายของยกั ษก์ ไ็ ด้ ฝ่ายอินทรชติ ครัน้ เห็น กองทัพฝ่ายพระรามยกมากส็ ง่ั เสนาให้จับระบาราฟอ้ นมาใหฝ้ ่ายตรงข้าศกึ ดู และพระลกั ษณ์ก็ เคลิบเคลม้ิ จนเผลมลืมพระองค์ อินทรชิตจึงแผลงศรพรหมาสตร์ เข้าใส่จนพระลักษณ์ตกจากรถ ม้าทรงทนั ที ในครง้ั นพี้ ระลักษมณถ์ ูกศรพรหมาสตร์สลบไปพร้อมพลวานรหนุมานตรงเขา้ หกั คอชา้ ง เอราวณั หนุมานถูกอินทรชิตตดี ว้ ยคนั ศรจนสลบไป และเมื่อหนมุ านต้องกระแสลมพดั จึงฟน้ื ข้ึน ประกอบกับพระราม และพเิ ภก มายังสมรภมู พิ เิ ภกจึงให้หนุมานไปนายาทเ่ี ขาสรรพยาพระ ลกั ษมณแ์ ละไพร่พลได้กลนิ่ ยาจึงฟืน้ อนิ ทรชิตจึงกลบั ไปต้ังพธิ ีกมุ ภนิยาชุบศร ๓ เล่มแต่พระ ลักษมณ์ลา้ งพธิ ไี ด้
คณุ ค่าด้านสงั คมและสะทอ้ นวถิ ไี ทย บทพากย์เอราวณั เป็นวรรณคดที ี่มคี วามโดดเด่นทางด้านวรรณศลิ ปใ์ นขณะเดยี วกนั กส็ ะทอ้ นใหเ้ ห็นสภาพ สังคมของสมัยรัตนโกสนิ ทรต์ อนต้น ดงั นี้ ๑. ความเชือ่ เร่อื งเทพเจ้า บทพากยเ์ อราวณั ไดส้ ะทอ้ นให้เหน็ วา่ ในชว่ งเวลาดงั กลา่ วหรือกอ่ นหน้านั้นศาสนา พราหมณฮ์ นิ ดไู ด้เขา้ มามีอทิ ธิพลตอ่ ความเชื่อของสงั คมไทยจนกระท่ังออกมาในรปู แบบของศิลปกรรม นาฏศิลปแ์ ละวรรณกรรม ๒. ความเชื่อในเรอ่ื งโชคลาง ในบทพากยเ์ อราวณั มีเนอ้ื หาพรรณนาใหเ้ ห็นภาพของกองทัพของพระลกั ษณ์ พร้อมท่ีจะสรู้ บกบั กองทพั ของอนิ ทรชติ โดยได้มกี ารเปา่ แตรและสังข์ พรอ้ มกบั ทหารโห่รอ้ งเอาชยั ซง่ึ ไดส้ ะท้อน ให้เห็นความเชือ่ บางประการทม่ี ีความเชอื่ มโยงกบั ศาสนาพราหมณฮ์ นิ ดู
จัดทำโดย นาย ชวภณ ดารงกิจอุดม เลขท่ี 2 ชนั้ ม.3/3 ด.ช. ณัชญ์เศรษฐ สวาสดิพ์ ล เลขที่ 5 ชั้น ม.3/3 ด.ช. ณฐั กร แสงสุกวาว เลขท่ี 6 ชนั้ ม.3/3 น.ส. ดุสติ า ศิลาลอย เลขที่ 15 ช้นั ม.3/3 น.ส. พรพรรณ เจียมหยนิ เลขที่ 20 ชน้ั ม.3/3 ด.ญ. วรพิชชา สขุ ไสใจ เลขที่ 28 ชัน้ ม.3/3
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: