Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2-co-or-so-2-3

2-co-or-so-2-3

Published by ENTG NKTC.IVENE1, 2021-11-15 09:03:25

Description: 2-co-or-so-2-3

Search

Read the Text Version

ชอ่ื สถาบันอดุ มศกึ ษา สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1 วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วทิ ยาลยั เทคนิคหนองคาย / เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนกิ ส์ หมวดที่ 1 ข้อมลู ทวั่ ไป 1. รหสั และชื่อรายวิชา 24-4105-2401 การวเิ คราะหแ์ ละจำลองวงจรไฟฟ้า 2. จำนวนหน่วยกติ 3 (2-2-5) 3. หลกั สตู ร และประเภทรายวิชา เทคโนโลยบี ัณฑิต (ทล.บ.) กล่มุ ทกั ษะวิชาชพี เฉพาะ 4. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบรายวชิ า นายรงุ่ เรอื ง เพญ็ กญุ กิจ 5. ระดับการศึกษา / ชัน้ ปีทเ่ี รียน ภาคการศึกษาที่ 1 ของชน้ั ปีท่ี 1 6. รายวิชาทตี่ ้องเรยี นมากอ่ น (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี 7. รายวิชาท่ีต้องเรยี นพรอ้ มกัน (Co-requisites) (ถา้ ม)ี ไมม่ ี 8. สถานท่เี รียน วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย ห้องเรียนปรญิ ญาตรีอิเล็กทรอนิกส์ 9. วนั ท่จี ัดทำรายละเอียดของรายวชิ า หรือวันที่มีการปรับปรงุ คร้ังลา่ สดุ 15 มีนาคม 2563 หมวดที่ 2 จดุ ม่งุ หมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวชิ า เพือ่ ใหน้ กั ศกึ ษามีความรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกับการวเิ คราะห์และจำลองวงจรไฟฟา้ 1. เพ่ือให้นักศกึ ษามีความรู้ ความเขา้ ใจ เกยี่ วกบั การวเิ คราะห์และจำลองวงจรไฟฟา้ 2. เพื่อให้นักศกึ ษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับพารามเิ ตอร์ของการวเิ คราะห์และจำลองวงจรไฟฟา้ 3. เพื่อใหน้ ักศึกษามีความรู้ ความเขา้ ใจ เกีย่ วกบั อปุ กรณ์วงจรไฟฟา้ 4. เพื่อให้นกั ศกึ ษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกบั คณุ ลกั ษณะของการวิเคราะหแ์ ละจำลองวงจรไฟฟา้ 5. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ วงจรไฟฟ้า 6. เพ่อื ให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เก่ยี วกบั การประยกุ ต์ใช้ทฤษฎวี งจรไฟฟ้าในการทดลองโดยใช้ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ 2. วัตถปุ ระสงคใ์ นการพัฒนา/ปรับปรุงรายวชิ า 1. เพื่อให้นักศึกษามีฐานความรู้ที่เป็นรูปธรรมในการศึกษาวิชาอื่นๆ ในสาขาวิชาเทคโนโลยี อิเล็กทรอนกิ ส์ 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยกุ ต์ฐานความรู้ในวิชาน้ีเพ่ือแกป้ ัญหาท่ีเกิดขึ้นในสาขาวิชาเทคโนโลยี อิเล็กทรอนกิ ส์ หมวดที่ 3 สว่ นประกอบของรายวชิ า 1. คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติดว้ ยโปรแกรมจำลองทฤษฎวี งจรไฟฟา้ การวิเคราะห์สภาวะชั่วขณะเนื่องจากไฟฟา้ กระแสตรงและไฟฟา้ กระแสสลับการทดลองโดยใชอ้ ปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละ/หรือใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปในการ วเิ คราะห์รูปคลืน่ ไฟฟา้ กระแสสลับผลตอบสนองในสภาวะคงตัวและอปุ กรณ์ในวงจรความถี่เชงิ ซอ้ นเฟสเซอร์การ ตอบสนองความถรี่ โี ซแนนซว์ งจรข่ายงานสองทางอนุกรมฟเู รยี ร์สาหรบั การวเิ คราะห์วงจรไฟฟา้ เพาเวอรแ์ ละเพาเวอร์ แฟกเตอรก์ ารประยุกตใ์ ช้ในวงจรไฟฟา้ 3 เฟสการทดลองโดยใชอ้ ุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกสแ์ ละ/หรือใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการวิเคราะห์ 2. จำนวนชัว่ โมงที่ใช้/ภาคการศกึ ษา บรรยาย สอนเสรมิ การฝกึ ปฏิบัติ/งาน การศึกษาด้วยตนเอง 32 ชว่ั โมง ตามความต้องการของ ภาคสนาม/การฝึกงาน 80 ช่วั โมง นกั ศกึ ษาเฉพาะราย 32 ชัว่ โมง 3. ระบุวันเวลาท่อี าจารย์จะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวชิ าการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

- ครูประจำรายวชิ า ประกาศเวลาให้คำปรึกษา - ครูจดั เวลาใหค้ ำปรึกษาเปน็ รายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายท่ี ต้องการ) หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรูข้ องนกั ศกึ ษา 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 1.1 คณุ ธรรม จริยธรรมที่ต้องพฒั นา ความรับผิดชอบต่องานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย วินัย จรรยาบรรณวิชาชีพ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ ความถ่อมตน และจิตใจเมตตาตอ่ เพ่อื นรว่ มงาน ความไม่ละโมบ และการปฏิบตั หิ นา้ ทีท่ ี่ดขี องประชาชนไทยตามรัฐธรรมนญู 1.2 วธิ กี ารสอนที่จะใชพ้ ัฒนาการเรียนรู้ 1.2.1 ให้ทำโครงงานท่ีต้องประยกุ ตค์ วามรู้ในวชิ ากบั ปัญหาจริง โดยให้นกั ศึกษาทำเปน็ กลมุ่ 1.2.2 สอนแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรมสามารถในระหวา่ งที่ทำโครงงานโดยการพดู คยุ กับนักศกึ ษา เน้น ความรับผิดชอบตอ่ งาน วนิ ัย จรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าท่ีในกลุ่ม ความถอ่ มตนและ ความมีนำ้ ใจต่อเพอ่ื นร่วมงาน และความไมล่ ะโมบ 1.2.3 สำหรบั เร่อื งหนา้ ทีท่ ี่ดีของประชาชนไทย การสอนอาจทำโดยยกตัวอยา่ งปญั หาที่เกี่ยวกบั หนา้ ที่ ของประชาชนในสงั คมแล้วโยงเข้าหาการคำนวณทีใ่ ส่ความรู้จากวิชานี้ เชน่ ความรู้ระหว่างกลมุ่ อาชีพสามารถจำลองโดยใช้กราฟ 1.3 วธิ ีการประเมนิ ผล สังเกตพฤตกิ รรมต่าง ๆ ของนกั ศึกษาทเ่ี กดิ ระหว่างการทดลองใชว้ ธิ กี ารสอนในขอ้ (2) ข้างต้นว่าเปน็ ไปตาม คาดหมายไวห้ รือไม่ ถา้ ไมเ่ ป็นไปตามที่คาดหมาย ก็อาจเปลย่ี นสถานการณ์หรอื ปรับโครงการใหเ้ หมาะสมมากขนึ้ 2. ความรู้ 2.1 ความร้ทู ่ีจะได้รับ เตมิ เต็มองคค์ วามรู้ด้าน Discrete Structures ตามท่ีระบุในกรอบมาตรฐาน ได้แก่ บทท่ี 1 การวเิ คราะห์วงจรและวศิ วกรรมไฟฟ้า บทที่ 2 อุปกรณ์พน้ื ฐานและวงจรไฟฟ้า บทท่ี 3 กฎของแรงดันและกระแสไฟฟ้า บทท่ี 4 การวเิ คราะห์ Nodal และ Mesh พน้ื ฐาน บทที่ 5 วธิ กี ารวเิ คราะห์วงจรทม่ี ปี ระโยชน์ บทที่ 6 วงจรขยายแบบ Operational บทท่ี 7 ตัวเก็บประจุและตัว Inductors บทท่ี 8 วงจร RL และ RC พน้ื ฐาน

บทที่ 9 วงจร RLC บทที่ 10 การวเิ คราะห์แบบ Sinusoidal Steady-State บทที่ 11 การวิเคราะหก์ ำลงั ไฟฟา้ ของวงจร AC บทที่ 12 วงจร Polyphase บทท่ี 13 วงจร Magnetically Coupled บทท่ี 14 Two-Port Network 2.2 วิธกี ารสอน บรรยายโดยใช้ปัญหานำและตามดว้ ยการแกป้ ัญหา อภปิ รายโตต้ อบระหว่างอาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษา การทำงาน กลมุ่ การนำเสนอรายงาน และการวเิ คราะห์กรณีศกึ ษา 2.3 วิธีการประเมนิ 2.3.1 ทดสอบยอ่ ย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ 2.3.2 นำเสนอสรปุ การอ่านจากการคน้ คว้าขอ้ มลู ทเ่ี กีย่ วข้อง 2.3.3 วิเคราะหก์ รณีศกึ ษา 3. ทักษะทางปญั ญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ตอ้ งพฒั นา ความสามารถในการคดิ และหาเหตุผลอย่างเป็นระบบ ความสามารถในการประยุกตค์ วามรใู้ นวิชาน้เี พื่อแก้ปัญหา ในสาขาวชิ าเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 3.2 วธิ กี ารสอน มอบหมายใหน้ ักศกึ ษาแกป้ ัญหาทีก่ ำหนดโดยใช้ความรู้ในวิชานี้ และนำเสนอผลการแก้ปัญหาในรูปของการอภปิ ราย กลมุ่ 3.3 วธิ กี ารประเมินผลทกั ษะทางปญั ญาของนกั ศึกษา ทดสอบยอ่ ย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบทีม่ กี ารวเิ คราะหแ์ ละการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา 4. ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรบั ผิดชอบ 4.1 ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและความรับผิดชอบท่ตี ้องการพฒั นา 4.1.1 ทกั ษะการสรา้ งสมั พันธภาพระหว่างนกั ศกึ ษาด้วยกัน 4.1.2 ทกั ษะความเปน็ ผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทมี 4.1.3 ทักษะการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง และมคี วามรับผดิ ชอบในงานทม่ี อบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา 4.1.4 ทกั ษะการปฏบิ ตั ิหน้าท่ีที่ดขี องนักศกึ ษาและการปฏิบัติตัวที่ดีตอ่ อาจารย์ 4.2 วธิ กี ารสอน 4.2.1 ให้ทำงานร่วมกนั เป็นกลมุ่ โดยเนน้ การประยุกต์ความรูท้ ่เี รยี นในวชิ ากับปัญหาทก่ี ำหนด 4.2.2 เชิญบคุ ลท่ีผลความสำเรจ็ ในธรุ กิจท่ีเก่ียวขอ้ งมาเลา่ ประสบการณ์ความสำเร็จและทักษะตา่ ง ๆ 4.2.3 แทรกประสบการณ์ของอาจารยใ์ นระหวา่ งสอนโดยผา่ นการเล่าเร่ืองต่าง ๆ

4.2.4 พูดคุยกับนักศกึ ษาถึงความจำเป็นของทกั ษะตา่ ง ๆ ในระหว่างรบั ประทานอาหารร่วมกนั 4.3 วธิ กี ารประเมนิ 4.3.1 ประเมนิ ตนเอง และเพื่อน ดว้ ยแบบฟอรม์ ท่กี ำหนด 4.3.2 ประเมินรายงานทน่ี ำเสนอและพฤติกรรมการทำงานเป็นทมี 4.3.3 ประเมนิ พฤตกิ รรมนอกหอ้ งเรยี น เช่น ชว่ งรับประทานอาหารร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา ในชน้ั เรยี น 5. ทกั ษะการวเิ คราะห์การวิเคราะห์และจำลองวงจรไฟฟา้ 5.1 ทกั ษะการวิเคราะห์การวเิ คราะห์และจำลองวงจรไฟฟ้า 5.1.1 ทักษะการคดิ การเรยี นรู้การวิเคราะห์และจำลองวงจรไฟฟ้า 5.1.2 ทักษะการวเิ คราะหป์ ัญหาและการโยงรปู ธรรมของปัญหาไปสนู่ ามธรรมการวเิ คราะห์และจำลอง วงจรไฟฟา้ 5.1.3 ทกั ษะในการสอ่ื สารทง้ั การพูด การฟัง การแปล การเขยี น โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชนั้ เรียน 5.1.4 ทกั ษะในการวเิ คราะหข์ ้อมูลจากกรณีศึกษา 5.1.5 ทักษะในการคน้ หาความรู้เพมิ่ เตมิ ด้วยตัวเองโดยการสืบค้นข้อมลู ทางอนิ เทอรเ์ น็ต 5.1.6 ทกั ษะการใช้งานโครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชีพการวิเคราะห์และจำลองวงจรไฟฟ้า 5.1.7 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รปู แบบ เคร่อื งมอื และเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม 5.2 วธิ กี ารสอน 5.2.1 เน้นการสอนท่ีใช้ปัญหานำ ทฤษฏีตาม และการพัฒนาแนวคิดจากปัญหาเพ่ือนำไปสู่การแกป้ ัญหา 5.2.2 มอบหมายงานให้ศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง จาก Website สอื่ การสอน e-Learning และทำรายงาน โดย เนน้ การนำตัวเลข หรอื มสี ถติ ิอ้างองิ จากแหลง่ ที่มาขอ้ มูลทน่ี ่าเชอ่ื ถือ 5.2.3 นำเสนอโดยใช้รปู แบบและเทคโนโลยีท่เี หมาะสม 5.2.4 ทา้ ทายเชงิ วิชาการต่อนกั ศึกษาในระหวา่ งการสอนโดยการตัง้ คำถามทีม่ าจากปัญหาจริงในอตุ สาหกรรม หรือบทความวิชาการ เพือ่ ใหน้ ักศึกษาฝึกคดิ หาวธิ กี ารแก้ปญั หา 5.3 วิธีการประเมนิ 5.3.1 การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสอ่ื เทคโนโลยี 5.3.2 การมีส่วนรว่ มในการอภปิ รายและวิธีการอภปิ ราย หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน

สปั ดาหท์ ี่ หัวข้อ/รายละเอยี ด จำนวน กิจกรรมการเรียน การสอน ผู้สอน (ชัว่ โมง) สือ่ ท่ใี ช้ (ถ้ามี) 1 บทท่ี 1 การวเิ คราะห์วงจรและ 4 บรรยาย อภิปราย การเขยี น นายรงุ่ เรอื ง เพญ็ กญุ กิจ วิศวกรรมไฟฟ้า กระดาน ใชส้ ื่อประสมและ ปฏิบัติโปรแกรมจำลอง 2 บทที่ 2 อปุ กรณ์พนื้ ฐานและ 4 บรรยาย อภปิ ราย การเขยี น นายรงุ่ เรือง เพ็ญกญุ กิจ วงจรไฟฟ้า กระดาน ใชส้ ่อื ประสมและ ปฏิบัติโปรแกรมจำลอง 3 บทท่ี 3 กฎของแรงดันและ 4 บรรยาย อภิปราย การเขยี น นายรงุ่ เรอื ง เพญ็ กญุ กจิ กระแสไฟฟา้ กระดาน ใช้สอ่ื ประสมและ ปฏิบัติโปรแกรมจำลอง 4 บทที่ 4 การวเิ คราะห์ Nodal และ 4 บรรยาย อภปิ ราย การเขียน นายรงุ่ เรอื ง เพญ็ กญุ กจิ Mesh พื้นฐาน กระดาน ใชส้ อ่ื ประสมและ ปฏิบัตโิ ปรแกรมจำลอง 5 บทที่ 5 วธิ กี ารวเิ คราะห์วงจรทม่ี ี 4 บรรยาย อภปิ ราย การเขยี น นายรงุ่ เรอื ง เพ็ญกญุ กจิ ประโยชน์ กระดาน ใช้สอ่ื ประสมและ ปฏิบัตโิ ปรแกรมจำลอง 6 บทท่ี 6 วงจรขยายแบบ 4 บรรยาย อภปิ ราย การเขียน นายรงุ่ เรอื ง เพ็ญกญุ กิจ Operational กระดาน ใช้ส่อื ประสมและ ปฏิบัตโิ ปรแกรมจำลอง 7 บทท่ี 7 ตัวเกบ็ ประจุและตวั 4 บรรยาย อภปิ ราย การเขียน นายรงุ่ เรอื ง เพ็ญกญุ กิจ Inductors กระดาน ใชส้ ่อื ประสมและ ปฏบิ ัตโิ ปรแกรมจำลอง 8 บทที่ 8 วงจร RL และ RC 4 พืน้ ฐาน 9 สอบกลางภาค 4 10 บทท่ี 9 วงจร RLC 4 บรรยาย อภปิ ราย การเขยี น นายรุ่งเรือง เพ็ญกญุ กจิ 11-12 บทที่ 10 การวิเคราะหแ์ บบ กระดาน ใชส้ ื่อประสมและ Sinusoidal Steady-State ปฏิบัติโปรแกรมจำลอง 8 บรรยาย อภิปราย การเขียน นายรุ่งเรอื ง เพ็ญกญุ กิจ กระดาน ใช้สื่อประสมและ ปฏบิ ัติโปรแกรมจำลอง

13 บทที่ 11 การวเิ คราะห์ 4 บรรยาย อภิปราย การเขยี น นายรุ่งเรือง เพ็ญกญุ กิจ กำลงั ไฟฟา้ ของวงจร AC กระดาน ใชส้ ื่อประสมและ ปฏบิ ัตโิ ปรแกรมจำลอง 14 บทที่ 12 วงจร Polyphase 4 บรรยาย อภปิ ราย การเขยี น นายรงุ่ เรอื ง เพญ็ กญุ กจิ 15 บทท่ี 13 วงจร Magnetically กระดาน ใช้ส่ือประสมและ Coupled ปฏิบตั ิโปรแกรมจำลอง 16-17 บทท่ี 14 Two-Port Network 4 บรรยาย อภปิ ราย การเขยี น นายรุง่ เรอื ง เพ็ญกญุ กิจ กระดาน ใชส้ ่อื ประสมและ 18 สอบปลายภาค ปฏบิ ัตโิ ปรแกรมจำลอง รวม 8 บรรยาย อภปิ ราย การเขียน นายรงุ่ เรือง เพญ็ กญุ กิจ กระดาน ใชส้ อ่ื ประสมและ ปฏิบัติโปรแกรมจำลอง 4 72 2. แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ผลการ กจิ กรรมการประเมิน (เช่น การเขียนรายงาน โครงงาน กำหนดการ สัดสว่ นของการ เรยี นรู้* การสอบย่อย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค) ประเมิน ประเมินผล (สัปดาห์ท)่ี 2.1 ทดสอบยอ่ ย 30% 2.3.1,2.3.3 สอบกลางภาค 5,11 20% 30% 3.1,3.3 สอบปลายภาค 9 18 1.1, 1.3 การเข้าชนั้ เรยี น ตลอดภาค 10% 10% การบ้าน การศกึ ษา * ระบุผลการเรยี นรู้หวั ขอ้ ย่อยตามแผนท่ีแสดงการกระจายความรบั ผิดชอบต่อผลการเรยี นรู้ หมวดท่ี 6 ทรพั ยากรประกอบการเรียน

1. ตำราและเอกสารหลกั - Hayt/Kemmerly/Durbin - เดชวฒุ ิ ขาวปรสิ ทุ ธ์ิ , 1/2551 2. เอกสารและขอ้ มลู สำคญั - วิเคราะห์วงจรไฟฟ้า)Engineering Circuit Analysis) , Hayt/Kemmerly/Durbin - เดชวุฒิ ขาวปริสทุ ธิ์ 3. เอกสารและข้อมลู แนะนะ - ตำราภาษาไทยทีใ่ ช้ชือ่ ต่อไปนี้ วเิ คราะหว์ งจรไฟฟ้า - เว็บไซตท์ ่ีเกี่ยวกับหวั ข้อในประมวลรายวชิ า เช่น Wikipedia คำอธิบายศพั ท์ - เอกสาร E-Learning หมวดที่ 7 การประเมินรายวิชาและกระบวนการปรับปรงุ 1. กลยุทธก์ ารประเมินประสทิ ธิผลของรายวชิ าโดยนกั ศกึ ษา - การสนทนากล่มุ ระหวา่ งผสู้ อนและผู้เรยี น - การสะท้อนคดิ จากพฤติกรรมของผเู้ รียน - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวชิ า 2. กลยทุ ธ์การประเมนิ การสอน - การสงั เกตการณ์สอนของผูร้ ว่ มทีมการสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 3. การปรบั ปรุงการสอน - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวชิ าของนักศกึ ษา - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสมุ่ ตรวจผลงานของนกั ศึกษาโดยอาจารยอ์ น่ื หรอื ผทู้ รงคุณวุฒิ ท่ี ไม่ใชอ่ าจารย์ผู้สอน แตอ่ าจารยท์ ่ีทวนสอบตอ้ งมคี วามรู้ในวชิ านี้ - มกี ารต้งั คณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรูข้ องนกั ศึกษา โดยตรวจสอบ ขอ้ สอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสทิ ธผิ ลของรายวชิ า - ปรับปรุงรายวชิ าทกุ 3 ปี หรอื ตามขอ้ เสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิต์ ามข้อ 7.4

- เปลี่ยนหรือสลับอาจารยผ์ ู้สอนทกุ ปี เพอื่ ให้นักศึกษามมี มุ มองในเรอ่ื งการประยกุ ตค์ วามร้นู ี้กบั ปญั หา ทม่ี าจากงานวจิ ัยของอาจารยห์ รอื อตุ สาหกรรมต่าง ๆ ช่ือสถาบนั อดุ มศกึ ษา สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1 วทิ ยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาลัยเทคนคิ หนองคาย / เทคโนโลยีอิเล็กทรอนกิ ส์

หมวดที่ 1 ขอ้ มูลทัว่ ไป 1. รหัสและชอ่ื รายวชิ า 24-4105-1301 ทกั ษะการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 2. จำนวนหนว่ ยกติ 3 (2-2-5) 3. หลกั สตู ร และประเภทรายวิชา เทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) ทกั ษะการคดิ และการแกป้ ญั หา )กลุม่ วิชาคณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์) 4. อาจารยผ์ ูร้ บั ผดิ ชอบรายวชิ า นายจิระพจน์ ประพิน 5. ระดับการศึกษา / ชนั้ ปที ีเ่ รียน ภาคการศึกษาท่ี 1 ของช้นั ปที ี่ 1 6. รายวิชาทต่ี อ้ งเรยี นมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไมม่ ี 7. รายวชิ าที่ต้องเรียนพรอ้ มกัน (Co-requisites) (ถา้ มี) ไม่มี 8. สถานทเ่ี รียน วิทยาลัยเทคนคิ หนองคาย ห้องเรยี นปรญิ ญาตรีอิเล็กทรอนิกส์ 9. วันทีจ่ ัดทำรายละเอียดของรายวิชา หรือวันที่มกี ารปรบั ปรงุ ครั้งลา่ สุด 15 มนี าคม 2562 หมวดท่ี 2 จดุ มุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จดุ ม่งุ หมายของรายวิชา เพ่อื ใหน้ ักศกึ ษามีความรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกับทักษะการเรยี นรู้และการจัดการความรู้ 1. เพ่อื ใหน้ ักศกึ ษามคี วามรู้ ความเข้าใจ เก่ยี วกบั ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละการจัดการความรู้

2. เพ่อื ใหน้ กั ศึกษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกีย่ วกบั การวิเคราะห์ทกั ษะการเรียนรูแ้ ละการจัดการความรู้ 3. เพ่อื ให้นกั ศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกบั วิธกี ารวดั ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละการจดั การความรู้ 4. เพื่อใหน้ กั ศึกษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั คุณลกั ษณะทักษะการเรยี นรแู้ ละการจัดการความรู้ 5. เพื่อใหน้ ักศกึ ษามคี วามรู้ ความเข้าใจ เก่ยี วกบั แผนการจัดการทกั ษะการเรียนรแู้ ละการจดั การ ความรู้ 6. เพื่อให้นักศึกษามคี วามรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกบั การประยุกต์ใช้ทฤษฎีทักษะการเรียนร้แู ละการจดั การ ความรู้ 2. วตั ถุประสงคใ์ นการพฒั นา/ปรบั ปรงุ รายวิชา 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั ทักษะการเรียนรู้ และการจดั การความรู้ 2. วเิ คราะหว์ ิธกี ารแสวงหาความรู้ การแยกแยะข้อมลู กับขอ้ เท็จจรงิ การอา่ นแก้ปัญหา การ สร้างความคดิ และการคดิ อย่างสร้างสรรค์ 3. ประยุกตก์ ารเรยี นรูแ้ ละการจดั การความรู้ในการแกป้ ญั หา หมวดที่ 3 สว่ นประกอบของรายวชิ า 1. คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏบิ ัติเก่ยี วกับการพัฒนาการเรยี นร้อู ยา่ งยงั่ ยนื ของนักศึกษา ศึกษาการจัดการความรแู้ ละ กระบวนการการเรยี นรผู้ ่านกจิ กรรมกลุม่ ท่ีนักศึกษาสนใจ การศึกษาวิธกี ารแสวงหาความรู้ การแยกแยะข้อมูลกบั ขอ้ เทจ็ จริง การอา่ น แกป้ ญั หา การสรา้ งความคิด การคิดอยา่ งสร้างสรรค์ การสร้างแบบจำลองการจดั การความรู้ การ ตดั สินใจ การประเมินผล และการนำเสนอผลงาน 2. จำนวนช่วั โมงทใี่ ช้/ภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัต/ิ งาน การศึกษาด้วยตนเอง 36 ช่ัวโมง ตามความต้องการของ ภาคสนาม/การฝกึ งาน 90 ช่วั โมง นกั ศกึ ษาเฉพาะราย 36 ช่ัวโมง 3. ระบวุ ันเวลาท่อี าจารยจ์ ะใหค้ ำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นกั ศกึ ษาเปน็ รายบคุ คล - ครูประจำรายวชิ า ประกาศเวลาให้คำปรึกษา - ครูจัดเวลาให้คำปรึกษาเปน็ รายบคุ คล หรอื รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ช่วั โมงตอ่ สัปดาห์ (เฉพาะรายท่ี ต้องการ)

หมวดท่ี 4 การพัฒนาการเรียนรขู้ องนกั ศึกษา 1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1.1 คณุ ธรรม จริยธรรมที่ตอ้ งพัฒนา ความรับผิดชอบต่องานที่ไดร้ ับมอบหมาย วินัย จรรยาบรรณวิชาชีพ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ ความถ่อมตน และจติ ใจเมตตาต่อเพอื่ นรว่ มงาน ความไมล่ ะโมบ และการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีทดี่ ีของประชาชนไทยตามรฐั ธรรมนญู 1.2 วิธกี ารสอนท่จี ะใชพ้ ัฒนาการเรยี นรู้ 1.2.1 ให้ทำโครงงานทีต่ อ้ งประยุกตค์ วามรใู้ นวชิ ากบั ปญั หาจรงิ โดยใหน้ ักศกึ ษาทำเป็นกลมุ่ 1.2.2 สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรมสามารถในระหว่างที่ทำโครงงานโดยการพดู คุยกับนกั ศกึ ษา เนน้ ความรบั ผดิ ชอบต่องาน วนิ ัย จรรยาบรรณ ความซือ่ สตั ย์ตอ่ หนา้ ที่ในกลมุ่ ความถ่อมตนและ ความมนี ้ำใจตอ่ เพ่อื นรว่ มงาน และความไมล่ ะโมบ 1.2.3 สำหรบั เรือ่ งหน้าทท่ี ่ีดีของประชาชนไทย การสอนอาจทำโดยยกตัวอยา่ งปัญหาท่เี กีย่ วกบั หน้าที่ ของประชาชนในสังคมแล้วโยงเขา้ หาการคำนวณทใี่ สค่ วามร้จู ากวชิ านี้ เช่น ความรู้ระหว่างกลุ่ม อาชพี สามารถจำลองโดยใช้กราฟ 1.3 วธิ ีการประเมนิ ผล สังเกตพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ของนักศกึ ษาทเี่ กดิ ระหวา่ งการทดลองใช้วิธีการสอนในขอ้ (2) ข้างต้นว่าเปน็ ไปตาม คาดหมายไว้หรอื ไม่ ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมาย ก็อาจเปล่ียนสถานการณห์ รอื ปรบั โครงการใหเ้ หมาะสมมากขน้ึ 2. ความรู้ 2.1 ความรทู้ ี่จะได้รบั เติมเตม็ องค์ความรดู้ ้าน Discrete Structures ตามท่ีระบุในกรอบมาตรฐาน ไดแ้ ก่ บทท่ี 1 ความรู้พ้ืนฐานเกยี่ วกบั การจัดการเรียนรู้ บทที่ 2 ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ บทท่ี 3 รูปแบบ เทคนคิ และทกั ษะการสอน บทที่ 4 การจัดการเรยี นรูท้ เี่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั บทท่ี 5 วธิ ีการจดั การเรยี นรู้ บทที่ 6 นวตั กรรมการเรยี นรู้ บทท่ี 7 การจัดการช้นั เรยี นและสง่ิ แวดล้อมเพอ่ื การเรียนรู้ บทท่ี 8 การจัดการเรียนรู้แบบเรียนรวม บทท่ี 9 แผนการจัดการเรียนรู้ บทท่ี 10 ส่ือและแหล่งการเรียน 2.2 วิธกี ารสอน

บรรยายโดยใช้ปัญหานำและตามดว้ ยการแกป้ ัญหา อภปิ รายโต้ตอบระหว่างอาจารยแ์ ละนกั ศึกษา การทำงาน กลุม่ การนำเสนอรายงาน และการวเิ คราะหก์ รณีศึกษา 2.3 วธิ กี ารประเมนิ 2.3.1 ทดสอบยอ่ ย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดว้ ยขอ้ สอบ 2.3.2 นำเสนอสรุปการอ่านจากการคน้ คว้าขอ้ มูลทเี่ กยี่ วขอ้ ง 2.3.3 วิเคราะหก์ รณีศกึ ษา 3. ทกั ษะทางปัญญา 3.1 ทกั ษะทางปญั ญาท่ตี ้องพัฒนา ความสามารถในการคดิ และหาเหตุผลอย่างเป็นระบบ ความสามารถในการประยุกตค์ วามรใู้ นวิชานีเ้ พ่ือแก้ปัญหา ในสาขาวชิ าเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 3.2 วธิ ีการสอน มอบหมายให้นกั ศึกษาแก้ปญั หาท่กี ำหนดโดยใช้ความรใู้ นวิชาน้ี และนำเสนอผลการแก้ปญั หาในรูปของการอภปิ ราย กลุม่ 3.3 วิธีการประเมนิ ผลทักษะทางปัญญาของนกั ศกึ ษา ทดสอบยอ่ ย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบท่มี ีการวเิ คราะหแ์ ละการประยุกตค์ วามร้ทู ่ีศึกษา 4. ทักษะความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 4.1 ทักษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคลและความรับผดิ ชอบที่ตอ้ งการพฒั นา 4.1.1 ทักษะการสรา้ งสมั พันธภาพระหวา่ งนกั ศกึ ษาดว้ ยกนั 4.1.2 ทกั ษะความเปน็ ผู้นำและผู้ตามในการทำงานเปน็ ทมี 4.1.3 ทกั ษะการเรยี นรู้ด้วยตนเอง และมคี วามรับผิดชอบในงานท่มี อบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา 4.1.4 ทกั ษะการปฏิบัติหน้าท่ีท่ีดขี องนักศึกษาและการปฏบิ ัติตัวที่ดีต่ออาจารย์ 4.2 วธิ ีการสอน 4.2.1 ให้ทำงานรว่ มกนั เป็นกลมุ่ โดยเน้นการประยุกต์ความร้ทู ี่เรยี นในวิชากบั ปัญหาท่ีกำหนด 4.2.2 เชิญบุคลทผ่ี ลความสำเรจ็ ในธรุ กิจที่เก่ยี วข้องมาเล่าประสบการณค์ วามสำเรจ็ และทักษะต่าง ๆ 4.2.3 แทรกประสบการณ์ของอาจารยใ์ นระหว่างสอนโดยผ่านการเลา่ เร่ืองตา่ ง ๆ 4.2.4 พดู คุยกับนกั ศึกษาถึงความจำเปน็ ของทกั ษะตา่ ง ๆ ในระหวา่ งรบั ประทานอาหารร่วมกนั 4.3 วธิ ีการประเมิน 4.3.1 ประเมินตนเอง และเพ่อื น ดว้ ยแบบฟอรม์ ท่กี ำหนด 4.3.2 ประเมินรายงานทีน่ ำเสนอและพฤติกรรมการทำงานเป็นทมี 4.3.3 ประเมนิ พฤตกิ รรมนอกห้องเรียน เชน่ ช่วงรบั ประทานอาหารรว่ มกันระหวา่ งอาจารย์และนกั ศึกษา

ในช้ันเรยี น 5. ทักษะการวิเคราะห์การเรียนรู้และการจดั การความรู้ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์การเรยี นรู้และการจัดการความรู้ 5.1.1 ทกั ษะการคดิ การเรยี นร้แู ละการจัดการความรู้ 5.1.2 ทกั ษะการวิเคราะห์ปญั หาและการโยงรูปธรรมของปัญหาไปส่นู ามธรรมการเรียนรู้และการจดั การ ความรู้ 5.1.3 ทักษะในการส่อื สารท้ังการพดู การฟัง การแปล การเขยี น โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชนั้ เรียน 5.1.4 ทักษะในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู จากกรณีศกึ ษา 5.1.5 ทักษะในการค้นหาความรู้เพิ่มเติมดว้ ยตัวเองโดยการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเ์ นต็ 5.1.6 ทกั ษะการใช้การเรยี นรแู้ ละการจดั การความรู้ในการส่อื สาร 5.1.7 ทกั ษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รปู แบบ เครอ่ื งมอื และเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม 5.2 วธิ ีการสอน 5.2.1 เนน้ การสอนที่ใช้ปัญหานำ ทฤษฏีตาม และการพัฒนาแนวคิดจากปญั หาเพ่อื นำไปสูก่ ารแก้ปญั หา 5.2.2 มอบหมายงานให้ศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง จาก Website ส่ือการสอน e-Learning และทำรายงาน โดย เนน้ การนำตัวเลข หรือมีสถิตอิ ้างอิง จากแหลง่ ท่มี าขอ้ มูลทน่ี า่ เชอ่ื ถือ 5.2.3 นำเสนอโดยใชร้ ูปแบบและเทคโนโลยีท่เี หมาะสม 5.2.4 ท้าทายเชงิ วิชาการต่อนักศกึ ษาในระหวา่ งการสอนโดยการตั้งคำถามที่มาจากปัญหาจรงิ ในอุตสาหกรรม หรอื บทความวชิ าการ เพอื่ ให้นกั ศึกษาฝึกคดิ หาวิธีการแก้ปญั หา 5.3 วิธีการประเมนิ 5.3.1 การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2 การมีสว่ นร่วมในการอภปิ รายและวธิ ีการอภปิ ราย หมวดท่ี 5 แผนการสอนและการประเมนิ ผล 1. แผนการสอน สปั ดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน กจิ กรรมการเรียน การสอน ผูส้ อน ท่ี (ชว่ั โมง) สื่อทีใ่ ช้ (ถา้ มี) 1-2 บทท่ี 1 ความรู้พ้นื ฐานเกย่ี วกบั การ 8 บรรยาย อภปิ ราย การเขียน นายจริ ะพจน์ ประพนิ จัดการเรยี นรู้ กระดาน ใช้สอื่ ประสม

3-4 บทที่ 2 ทฤษฎีการเรยี นรู้ 8 บรรยาย อภิปราย การเขียน นายจิระพจน์ ประพนิ กระดาน ใช้ส่ือประสม 5-6 บทที่ 3 รูปแบบ เทคนคิ และทกั ษะ การสอน 8 บรรยาย อภิปราย การเขียน นายจริ ะพจน์ ประพนิ กระดาน ใชส้ ื่อประสม 7-8 บทท่ี 4 การจดั การเรียนร้ทู เี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั 8 บรรยาย อภปิ ราย การเขียน นายจิระพจน์ ประพนิ กระดาน ใชส้ ่ือประสม 9 สอบกลางภาค 4 10-11 บทท่ี 5 วธิ ีการจัดการเรยี นรู้ 8 บรรยาย อภิปราย การเขียน นายจริ ะพจน์ ประพนิ กระดาน ใชส้ อ่ื ประสม สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด ท่ี จำนวน กิจกรรมการเรยี น การสอน ผสู้ อน (ชว่ั โมง) สือ่ ท่ีใช้ (ถา้ มี) 12-13 บทท่ี 6 นวตั กรรมการเรียนรู้ 8 บรรยาย อภิปราย การเขียน นายจริ ะพจน์ ประพนิ 14 บทท่ี 7 การจัดการชั้นเรียนและ กระดาน ใช้ส่ือประสม สิ่งแวดล้อมเพือ่ การเรยี นรู้ 4 บรรยาย อภปิ ราย การเขยี น นายจิระพจน์ ประพนิ 15 บทที่ 8 การจดั การเรยี นรู้แบบเรยี น กระดาน ใชส้ ื่อประสม รวม 4 บรรยาย อภปิ ราย การเขียน นายจริ ะพจน์ ประพนิ 16 บทท่ี 9 แผนการจัดการเรียนรู้ กระดาน ใชส้ ื่อประสม 17 บทที่ 10 สือ่ และแหลง่ การเรียน 4 บรรยาย อภปิ ราย การเขียน นายจิระพจน์ ประพนิ กระดาน ใช้สือ่ ประสม 18 สอบปลายภาค รวม 4 บรรยาย อภปิ ราย การเขยี น นายจิระพจน์ ประพนิ กระดาน ใชส้ ือ่ ประสม 4 72 2. แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ผลการ กจิ กรรมการประเมิน (เช่น การเขียนรายงาน โครงงาน กำหนดการ สดั สว่ นของการ เรยี นรู้* การสอบยอ่ ย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค) ประเมิน ประเมนิ ผล (สปั ดาหท์ ่ี) 2.1 ทดสอบย่อย 30% 2.3.1,2.3.3 สอบกลางภาค 5,11 20% 30% 3.1,3.3 สอบปลายภาค 9 18

1.1, 1.3 การเขา้ ชั้นเรียน ตลอดภาค 10% 10% การบ้าน การศกึ ษา * ระบุผลการเรยี นรหู้ ัวข้อยอ่ ยตามแผนที่แสดงการกระจายความรบั ผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ หมวดที่ 6 ทรพั ยากรประกอบการเรียน 1. ตำราและเอกสารหลกั - กุลิสรา จิตรชญาวณชิ สนพจฬุ า. ครง้ั ท่ี :1 / พ .ศ.2562 2. เอกสารและข้อมลู สำคญั - การจัดการเรยี นรู้, กุลิสรา จติ รชญาวณชิ 3. เอกสารและข้อมูลแนะนะ - ตำราภาษาไทยที่ใชช้ ่ือตอ่ ไปน้ี ทักษะการเรยี นรแู้ ละการจัดการเรียนรู้ - เวบ็ ไซตท์ เ่ี กีย่ วกบั หัวข้อในประมวลรายวชิ า เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์ - เอกสาร E-Learning หมวดที่ 7 การประเมนิ รายวิชาและกระบวนการปรบั ปรุง 1. กลยุทธ์การประเมนิ ประสทิ ธิผลของรายวิชาโดยนักศกึ ษา - การสนทนากล่มุ ระหว่างผสู้ อนและผู้เรียน - การสะทอ้ นคิด จากพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมนิ รายวชิ า 2. กลยทุ ธ์การประเมนิ การสอน - การสังเกตการณ์สอนของผูร้ ่วมทมี การสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมนิ การเรยี นรู้ 3. การปรับปรงุ การสอน - สัมมนาการจดั การเรียนการสอน - การวจิ ัยในและนอกช้นั เรยี น 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิรายวชิ าของนกั ศึกษา

- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนกั ศกึ ษาโดยอาจารย์อ่นื หรอื ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ ไม่ใชอ่ าจารย์ผู้สอน แตอ่ าจารยท์ ่ีทวนสอบตอ้ งมคี วามร้ใู นวชิ าน้ี - มกี ารต้งั คณะกรรมการในสาขาวชิ า ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วธิ ีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 5. การดำเนนิ การทบทวนและการวางแผนปรบั ปรุงประสทิ ธผิ ลของรายวิชา - ปรับปรงุ รายวชิ าทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธต์ิ ามข้อ 7.4 - เปลย่ี นหรือสลับอาจารยผ์ ู้สอนทกุ ปี เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเร่อื งการประยกุ ต์ความรู้น้ีกับปญั หา ทม่ี าจากงานวิจยั ของอาจารยห์ รืออุตสาหกรรมตา่ ง ๆ ช่ือสถาบันอุดมศึกษา สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1 วทิ ยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาลยั เทคนคิ หนองคาย / เทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนกิ ส์ หมวดที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป 1. รหัสและช่อื รายวชิ า 24-4105-2301 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์ 2. จำนวนหนว่ ยกติ

3 (2-2-5) 3. หลกั สูตร และประเภทรายวิชา เทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) กลมุ่ ทกั ษะวชิ าชพี เฉพาะ 4. อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบรายวชิ า นายสตั ยา กำแพงศิรชิ ัย 5. ระดบั การศึกษา / ชน้ั ปีทเี่ รยี น ภาคการศึกษาท่ี 1 ของชน้ั ปีที่ 1 6. รายวชิ าที่ต้องเรยี นมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไมม่ ี 7. รายวชิ าท่ีต้องเรียนพรอ้ มกนั (Co-requisites) (ถา้ ม)ี ไม่มี 8. สถานทเ่ี รียน วิทยาลยั เทคนคิ หนองคาย ห้องเรยี นปริญญาตรีอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 9. วนั ทจ่ี ัดทำรายละเอยี ดของรายวชิ า หรือวันท่ีมีการปรับปรงุ ครั้งล่าสดุ 15 มนี าคม 2562 หมวดท่ี 2 จดุ มุ่งหมายและวัตถปุ ระสงค์ 1. จุดมงุ่ หมายของรายวชิ า เพ่ือให้นักศกึ ษามีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์ 1. เพือ่ ให้นักศึกษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับเทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 2. เพ่ือใหน้ ักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกบั การวเิ คราะห์เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 3. เพอ่ื ใหน้ ักศกึ ษามีความรู้ ความเขา้ ใจ เกยี่ วกับอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 4. เพอ่ื ให้นกั ศกึ ษามคี วามรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกบั คณุ ลกั ษณะเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 5. เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสมการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพิวเตอร์

6. เพื่อให้นักศกึ ษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎีเทคโนโลยีสารสนเทศและ คอมพิวเตอร์ในการทดลองโดยใช้อปุ กรณ์เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์ 2. วตั ถุประสงคใ์ นการพัฒนา/ปรบั ปรุงรายวิชา 1. แสดงความร้เู กย่ี วกบั องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ การนำเสนอ ผลงานและเลือกใช้วิธีการสืบคน้ ข้อมูลเพ่อื ใหไ้ ด้ข้อมูลที่ถูกตอ้ ง 2. วิเคราะห์และวางแผนการดำเนินการในงานอุตสาหกรรม เลือกใช้คอมพิวเตอร์และ โปรแกรมพ้นื ฐานในการวิเคราะห์ออกแบบเครือ่ งมอื ในงานเทคโนโลยี 3. ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ในการแก้ปญั หาทางวิชาชพี หมวดที่ 3 สว่ นประกอบของรายวชิ า 1. คำอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิเกยี่ วกับองคค์ วามรู้ทางเทคโนโลยสี ารสน เทศและคอมพิวเตอร์การนำเสนอผลงาน ในรูปแบบต่างๆ อาทิเช่น กราฟ แผนภูมิ แผนผัง เป็นตน้ เลอื กใช้วธิ ีการสืบค้นขอ้ มูลเพอื่ ให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง คัด กรอง แยกแยะ จัดกลุ่มข้อมูลที่สืบค้นได้ และสรุปองค์ความรู้จากข้อมูลอย่างถูกตอ้ ง วเิ คราะห์และวางแผนการ ดำเนนิ การในงานอุตสาหกรรม เลอื กใช้คอมพิวเตอรแ์ ละโปรแกรมพ้นื ฐานในการวิเคราะห์ออกแบบเครอื่ งมือในงาน เทคโนโลยตี ่างๆ ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์ในการแกป้ ัญหาทางวชิ าชีพ 2. จำนวนชว่ั โมงท่ีใช้/ภาคการศกึ ษา บรรยาย สอนเสรมิ การฝึกปฏิบตั /ิ งาน การศกึ ษาดว้ ยตนเอง 36 ชั่วโมง ตามความต้องการของ ภาคสนาม/การฝึกงาน 90 ชวั่ โมง นกั ศกึ ษาเฉพาะราย 36 ชวั่ โมง 3. ระบุวนั เวลาที่อาจารยจ์ ะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวชิ าการแกน่ ักศกึ ษาเป็นรายบุคคล - ครูประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรกึ ษา - ครจู ดั เวลาใหค้ ำปรกึ ษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุม่ ตามความต้องการ 1 ช่วั โมงตอ่ สัปดาห์ (เฉพาะรายท่ี ต้องการ) หมวดท่ี 4 การพฒั นาการเรยี นรู้ของนกั ศึกษา 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 1.1 คณุ ธรรม จริยธรรมท่ีต้องพฒั นา

ความรับผิดชอบต่องานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย วินัย จรรยาบรรณวิชาชีพ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ ความถ่อมตน และจิตใจเมตตาต่อเพือ่ นร่วมงาน ความไมล่ ะโมบ และการปฏบิ ตั หิ นา้ ทที่ ่ดี ขี องประชาชนไทยตามรัฐธรรมนญู 1.2 วิธีการสอนทจี่ ะใช้พัฒนาการเรียนรู้ 1.2.1 ให้ทำโครงงานทตี่ ้องประยกุ ตค์ วามรใู้ นวชิ ากับปัญหาจริง โดยใหน้ ักศกึ ษาทำเป็นกลมุ่ 1.2.2 สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรมสามารถในระหวา่ งทีท่ ำโครงงานโดยการพูดคยุ กบั นักศึกษา เนน้ ความรบั ผดิ ชอบต่องาน วินัย จรรยาบรรณ ความซ่ือสตั ย์ตอ่ หนา้ ทีใ่ นกลมุ่ ความถอ่ มตนและ ความมนี ้ำใจตอ่ เพ่อื นรว่ มงาน และความไม่ละโมบ 1.2.3 สำหรับเรื่องหนา้ ท่ที ีด่ ีของประชาชนไทย การสอนอาจทำโดยยกตัวอยา่ งปัญหาทเี่ กย่ี วกับหนา้ ท่ี ของประชาชนในสงั คมแล้วโยงเข้าหาการคำนวณท่ใี ส่ความรูจ้ ากวิชานี้ เชน่ ความรู้ระหวา่ งกลุ่ม อาชีพสามารถจำลองโดยใชก้ ราฟ 1.3 วธิ ีการประเมินผล สังเกตพฤตกิ รรมต่าง ๆ ของนักศกึ ษาทีเ่ กดิ ระหวา่ งการทดลองใชว้ ธิ ีการสอนในข้อ (2) ข้างต้นวา่ เป็นไปตาม คาดหมายไวห้ รอื ไม่ ถ้าไมเ่ ป็นไปตามที่คาดหมาย ก็อาจเปลยี่ นสถานการณห์ รอื ปรบั โครงการให้เหมาะสมมากขึ้น 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่จะได้รบั เตมิ เต็มองค์ความรู้ด้าน Discrete Structures ตามที่ระบใุ นกรอบมาตรฐาน ได้แก่ 1. บทท่ี 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. บทที่ 2 ข้อมลู และสารสนเทศ 3. บทที่ 3 การจัดการขอ้ มูลและสารสนเทศ 4. บทที่ 4 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 5. บทที่ 5 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 6. บทท่ี 6 คอมพวิ เตอร์ 7. บทท่ี 7 องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 8. บทท่ี 8 การสือ่ สารขอ้ มลู และเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ 9. บทที่ 9 เทคโนโลยีสอ่ื สมัยใหม่ 2.2 วธิ ีการสอน บรรยายโดยใชป้ ัญหานำและตามดว้ ยการแก้ปัญหา อภิปรายโตต้ อบระหวา่ งอาจารย์และนกั ศึกษา การทำงาน กลมุ่ การนำเสนอรายงาน และการวเิ คราะห์กรณีศึกษา 2.3 วธิ ีการประเมนิ

2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดว้ ยขอ้ สอบ 2.3.2 นำเสนอสรปุ การอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลทเ่ี ก่ียวข้อง 2.3.3 วิเคราะห์กรณศี ึกษา 3. ทักษะทางปญั ญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา ความสามารถในการคิดและหาเหตุผลอย่างเปน็ ระบบ ความสามารถในการประยกุ ตค์ วามรู้ในวิชาน้ีเพ่ือแก้ปัญหา ในสาขาวิชาเทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 3.2 วิธกี ารสอน มอบหมายใหน้ กั ศึกษาแกป้ ญั หาท่ีกำหนดโดยใช้ความรใู้ นวิชาน้ี และนำเสนอผลการแก้ปญั หาในรูปของการอภิปราย กล่มุ 3.3 วิธกี ารประเมินผลทกั ษะทางปญั ญาของนักศกึ ษา ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเนน้ ขอ้ สอบทมี่ กี ารวิเคราะหแ์ ละการประยุกตค์ วามร้ทู ี่ศกึ ษา 4. ทกั ษะความสัมพันธ์ระหวา่ งบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ 4.1 ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบทต่ี ้องการพัฒนา 4.1.1 ทกั ษะการสรา้ งสมั พันธภาพระหวา่ งนกั ศกึ ษาดว้ ยกนั 4.1.2 ทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเปน็ ทีม 4.1.3 ทักษะการเรียนรดู้ ้วยตนเอง และมีความรับผดิ ชอบในงานทม่ี อบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา 4.1.4 ทักษะการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีท่ีดขี องนักศึกษาและการปฏบิ ตั ติ วั ทีด่ ีตอ่ อาจารย์ 4.2 วธิ กี ารสอน 4.2.1 ให้ทำงานร่วมกันเปน็ กล่มุ โดยเนน้ การประยุกต์ความร้ทู ่เี รยี นในวชิ ากบั ปญั หาท่กี ำหนด 4.2.2 เชิญบคุ ลท่ผี ลความสำเร็จในธรุ กิจท่ีเกยี่ วข้องมาเลา่ ประสบการณค์ วามสำเรจ็ และทกั ษะต่าง ๆ 4.2.3 แทรกประสบการณข์ องอาจารยใ์ นระหวา่ งสอนโดยผ่านการเลา่ เรอื่ งต่าง ๆ 4.2.4 พูดคยุ กับนกั ศกึ ษาถึงความจำเป็นของทกั ษะต่าง ๆ ในระหว่างรับประทานอาหารร่วมกนั 4.3 วิธกี ารประเมนิ 4.3.1 ประเมินตนเอง และเพอ่ื น ด้วยแบบฟอร์มทีก่ ำหนด 4.3.2 ประเมนิ รายงานทีน่ ำเสนอและพฤติกรรมการทำงานเป็นทมี 4.3.3 ประเมินพฤตกิ รรมนอกหอ้ งเรียน เช่น ช่วงรบั ประทานอาหารรว่ มกนั ระหวา่ งอาจารยแ์ ละนักศกึ ษา ในชั้นเรยี น 5. ทักษะการวิเคราะห์เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 5.1 ทกั ษะการวิเคราะห์เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์ 5.1.1 ทักษะการคิดเทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์

5.1.2 ทักษะการวิเคราะหป์ ัญหาและการโยงรปู ธรรมของปญั หาไปสู่นามธรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและ คอมพิวเตอร์ 5.1.3 ทักษะในการสื่อสารท้ังการพูด การฟัง การแปล การเขยี น โดยการทำรายงาน และนำเสนอในช้ันเรียน 5.1.4 ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 5.1.5 ทักษะในการค้นหาความรเู้ พม่ิ เติมดว้ ยตัวเองโดยการสบื คน้ ข้อมลู ทางอนิ เทอรเ์ นต็ 5.1.6 ทักษะการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการสอื่ สาร 5.1.7 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เคร่อื งมอื และเทคโนโลยีท่เี หมาะสม 5.2 วิธกี ารสอน 5.2.1 เนน้ การสอนท่ใี ช้ปัญหานำ ทฤษฏีตาม และการพัฒนาแนวคิดจากปญั หาเพ่ือนำไปสู่การแกป้ ัญหา 5.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง จาก Website ส่อื การสอน e-Learning และทำรายงาน โดย เน้นการนำตวั เลข หรือมีสถิตอิ ้างองิ จากแหล่งทีม่ าขอ้ มูลทนี่ า่ เชือ่ ถอื 5.2.3 นำเสนอโดยใช้รปู แบบและเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม 5.2.4 ท้าทายเชงิ วชิ าการตอ่ นักศกึ ษาในระหวา่ งการสอนโดยการตัง้ คำถามท่ีมาจากปญั หาจรงิ ในอตุ สาหกรรม หรอื บทความวิชาการ เพ่อื ใหน้ ักศกึ ษาฝึกคิดหาวธิ ีการแกป้ ญั หา 5.3 วธิ ีการประเมนิ 5.3.1 การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2 การมีสว่ นรว่ มในการอภิปรายและวธิ กี ารอภิปราย หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมนิ ผล 1. แผนการสอน สัปดาห์ หวั ข้อ/รายละเอียด จำนวน กจิ กรรมการเรียน การสอน ผู้สอน ท่ี (ช่ัวโมง) ส่อื ทีใ่ ช้ (ถ้ามี) 1-2 บทท่ี 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยี 8 บรรยาย อภิปราย การเขียน นายสัตยา กำแพงศิริชยั สารสนเทศ กระดาน ใช้สอ่ื ประสมและ ปฏบิ ตั ิโปรแกรมจำลอง 3-4 บทท่ี 2 ขอ้ มลู และสารสนเทศ 8 บรรยาย อภิปราย การเขียน นายสัตยา กำแพงศริ ิชัย กระดาน ใชส้ ื่อประสมและ

5-6 บทที่ 3 การจดั การข้อมูลและ ปฏบิ ตั ิโปรแกรมจำลอง สารสนเทศ 8 บรรยาย อภปิ ราย การเขยี น นายสัตยา กำแพงศิริชยั 7-8 บทท่ี 4 เทคโนโลยสี ารสนเทศ กระดาน ใช้สื่อประสมและ ปฏบิ ัติโปรแกรมจำลอง 9 สอบกลางภาค 8 บรรยาย อภปิ ราย การเขียน นายสัตยา กำแพงศริ ชิ ยั กระดาน ใชส้ ือ่ ประสมและ ปฏิบตั โิ ปรแกรมจำลอง 4 10-11 บทที่ 5 องคป์ ระกอบของระบบ 8 บรรยาย อภิปราย การเขยี น นายสัตยา กำแพงศริ ิชยั สารสนเทศ กระดาน ใชส้ อ่ื ประสมและ ปฏบิ ตั โิ ปรแกรมจำลอง 12-13 บทท่ี 6 คอมพิวเตอร์ 8 บรรยาย อภิปราย การเขียน นายสัตยา กำแพงศริ ิชัย 14 บทท่ี 7 องค์ประกอบของระบบ กระดาน ใชส้ อื่ ประสมและ คอมพิวเตอร์ ปฏิบตั ิโปรแกรมจำลอง 15-16 บทท่ี 8 การส่อื สารข้อมลู และ 4 บรรยาย อภปิ ราย การเขียน นายสัตยา กำแพงศริ ชิ ัย เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ กระดาน ใช้ส่อื ประสมและ ปฏิบัติโปรแกรมจำลอง 17 บทที่ 9 เทคโนโลยีส่อื สมยั ใหม่ 8 บรรยาย อภปิ ราย การเขยี น นายสัตยา กำแพงศริ ิชยั 18 สอบปลายภาค กระดาน ใช้สื่อประสมและ รวม ปฏิบตั โิ ปรแกรมจำลอง 4 บรรยาย อภิปราย การเขยี น นายสตั ยา กำแพงศิริชัย กระดาน ใช้สอ่ื ประสมและ ปฏิบัติโปรแกรมจำลอง 4 72 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ผลการ กจิ กรรมการประเมนิ (เช่น การเขียนรายงาน โครงงาน กำหนดการ สดั ส่วนของการ เรยี นรู้* การสอบย่อย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค) ประเมิน ประเมินผล (สัปดาห์ท่ี) 2.1 ทดสอบย่อย 30% 2.3.1,2.3.3 สอบกลางภาค 5,11 20% 9

3.1,3.3 สอบปลายภาค 18 30% 1.1, 1.3 การเขา้ ช้นั เรียน ตลอดภาค 10% 10% การบ้าน การศึกษา * ระบผุ ลการเรยี นรหู้ วั ข้อยอ่ ยตามแผนทแี่ สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการเรยี นรู้ หมวดที่ 6 ทรพั ยากรประกอบการเรียน 1. ตำราและเอกสารหลกั - วชิราพร พมุ่ บานเยน็ ศนู ยห์ นังสอื ซเี อ็ด 2. เอกสารและขอ้ มลู สำคัญ - เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์, วชิราพร พมุ่ บานเยน็ 3. เอกสารและขอ้ มูลแนะนะ - ตำราภาษาไทยท่ใี ชช้ ่ือต่อไปน้ี ระบบควบคุมและอินเทอร์เนต็ เชอื่ มต่อสรรพส่ิง - เวบ็ ไซตท์ ่เี กี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เชน่ Wikipedia คำอธบิ ายศพั ท์ - เอกสาร E-Learning หมวดท่ี 7 การประเมินรายวชิ าและกระบวนการปรับปรงุ 1. กลยุทธก์ ารประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของรายวิชาโดยนักศกึ ษา - การสนทนากลุม่ ระหว่างผสู้ อนและผู้เรียน - การสะท้อนคดิ จากพฤติกรรมของผเู้ รียน - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 2. กลยทุ ธก์ ารประเมินการสอน - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทมี การสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมนิ การเรียนรู้

3. การปรับปรุงการสอน - สมั มนาการจัดการเรยี นการสอน - การวจิ ัยในและนอกชน้ั เรยี น 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิรายวิชาของนักศกึ ษา - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสมุ่ ตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อ่ืน หรือผ้ทู รงคุณวุฒิ ท่ี ไมใ่ ชอ่ าจารย์ผู้สอน แต่อาจารย์ที่ทวนสอบต้องมีความรู้ในวิชานี้ - มกี ารตงั้ คณะกรรมการในสาขาวชิ า ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนกั ศกึ ษา โดยตรวจสอบ ขอ้ สอบ รายงาน วธิ กี ารให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤตกิ รรม 5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรบั ปรุงประสทิ ธิผลของรายวชิ า - ปรับปรุงรายวิชาทกุ 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ติ ามขอ้ 7.4 - เปลยี่ นหรือสลับอาจารย์ผู้สอนทกุ ปี เพอ่ื ใหน้ ักศึกษามมี มุ มองในเรือ่ งการประยกุ ต์ความรนู้ ้ีกบั ปญั หา ที่มาจากงานวจิ ยั ของอาจารยห์ รอื อุตสาหกรรมต่าง ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook