Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตร ผบก. วสส.ยะลา

คู่มือผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตร ผบก. วสส.ยะลา

Published by สมศรี ซื่อต่อวงศ์, 2019-07-22 03:15:53

Description: คู่มือผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตร ผบก. วสส.ยะลา

Search

Read the Text Version

คมู ือผเู ขารบั การอบรม หลกั สตู รผบู ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุนท่ี ๓3 ประจาํ ปง( บประมาณ 2562 ระหวางวันท่ี 30 มถิ นุ ายน - ๒6 กรกฎาคม ๒๕62 ณ โรงแรมหาดใหญรามา อําเภอหาดใหญ จงั หวัดสงขลา จดั โดย วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จงั หวัดยะลา

1 คํานํา การอบรมหลักสูตรผูบริหารการสาธารณสุขระดับกลาง รุนท่ี ๓3 ประจําปงบประมาณ 2562 เป(นการพัฒนาตามนโยบายของผูบริหาร และสมรรถนะที่ผูบริหารจะตองมีโดยใหเป(นไปตามสมรรถนะ ที่พึงประสงค3สําหรับผูบริหารสาธารณสุข ใหสามารถบริหารจัดการ และบริหารงานไดอยางมืออาชีพ เป(นแบบอยางท่ีดีดานคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึกในความรับผิดชอบตอบทบาทหนาที่ และจรรยาบรรณ วิชาชีพ เสริมสรางความสามัคคี และใชความสามารถในความหลากหลายของทีมงานในการทํางานรวมกัน เป(นเครือขายการบริหารงานในการรวมกันขับเคล่ือนภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข และเป(นผูมีสุขภาพกาย สขุ ภาพจิตท่ดี ีเหมาะสมกับบทบาทหนาทีผ่ บู ริหาร ดังนั้น เพื่อใหการอบรมดังกลาว ดําเนินการไปดวยความเรียบรอย เป(นไปในแนวทาง และมาตรฐานเดียวกันบรรลุตามเป:าหมาย และวัตถุประสงค3ของหลักสูตรอยางมีประสิทธิภาพ วิทยาลัยการ สาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา จึงไดจัดทําคูมือการอบรมหลักสูตรผูบริหารการสาธารณสุขระดับกลาง รุนท่ี ๓3 ประจําปงบประมาณ ๒๕62 ข้ึน สําหรับผูเขารับการอบรมใชเป(นแนวทางปฏิบัติกอนการอบรม และระหวางการอบรม คณะผจู ัดการอบรม วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จงั หวดั ยะลา 18 มีนาคม ๒๕62 หลักสตู รผูบรหิ ารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง รุนท่ี 33 ประจาํ ปงบประมาณ 2562621

สารบญั 2 คํานํา หนา สารบัญ แนะนําวทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สิรินธร จังหวัดยะลา ๑ ทาํ เนียบผอู าํ นวยการวทิ ยาลัยการสาธารณสขุ สิรนิ ธร จังหวดั ยะลา ๒ หลกั สตู รผูบรหิ ารการสาธารณสุขระดบั กลาง ๓ หลกั การและเหตผุ ล 5 ปรัชญาของหลกั สตู ร 6 วตั ถุประสงคห3 ลักสตู ร ๖ เปา: หมายของหลักสูตร ๖ กลุมเปา: หมาย 7 โครงสรางหลักสูตร ๗ รายละเอียดหลักสตู รการอบรม ๗ 8 - หนวยการเรียนที่ ๑ การเตรยี มความพรอมในการอบรม ๑1 - หนวยการเรยี นท่ี ๒ การเรยี นรูทางดานทฤษฎีและฝIกปฏิบัติ ๑1 - หนวยการเรียนท่ี ๓ แลกเปลย่ี นสรุปผลการเรียนรูและรับประกาศนยี บตั ร ๑2 การประเมนิ ผลการอบรม ๑9 การรับรองผลการอบรม 21 การเตรียมความพรอมของผเู ขารับการอบรม 22 รายละเอยี ดการเดินทาง 23 24 หลกั สตู รผบู ริหารการสาธารณสุขระดับกลาง รนุ ท่ี 33 ประจาํ ปงบประมาณ 2562622

3 แนะนาํ วิทยาลยั การสาธารณสขุ สริ นิ ธร จงั หวดั ยะลา ประวัติวิทยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร จงั หวดั ยะลา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา ต้ังอยู เลขที่ 91 ถนนเทศบาล 1 ตําบลสะเตง อําเภอเมือง จังหวัดยะลา มีเนื้อที่ 16 ไร ต้ังอยูในบริเวณเดียวกันกับสวนราชการตางๆสังกัดกระทรวง สาธารณสขุ ในจังหวดั ยะลา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา เป(นสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษา สังกัด สถาบันพระบรมราชชนก สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เริม่ กอตง้ั เมอ่ื พ.ศ. 2509 โดยใชชื่อวา “ศนู ย3ฝIกและอบรมอนามัยภาคใต จังหวัดยะลา” แตในระยะแรกของการกอตั้งน้ัน ไดใชสถานทีจ่ ังหวัดราชบุรี เป(นสถานที่เรียนช่ัวคราว ตอมา พ.ศ. 2510 จึงยายมาเรียนท่ีจังหวัดยะลา และในป พ.ศ. 2511 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภมู พิ ลอดุลยเดช พรอมดวยสมเด็จพระนางเจาสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ ทรงพระ กรุณาโปรดเกลาฯ เสด็จพระราชดาํ เนินทรงประกอบพิธีเปUด เม่ือวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2511 ตอมาในป พ.ศ. 2517 เปลี่ยนช่ือเป(น “ศูนย3ฝIกอบรมการสาธารณสุขภาคใต จังหวัดยะลา” และเปลี่ยนช่ืออีกคร้ังในป พ.ศ. 2521 เป(น “วิทยาลัยการสาธารณสุขภาคใต จังหวัดยะลา” สังกัดกองฝIกอบรม สํานักงานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุขตอมา วันท่ี 7 มกราคม 2537 ไดรับพระราชทานช่ือเป(น “วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิริน ธร จังหวัดยะลา” และพระราชทานพระราชานุญาตใหอัญเชิญอักษรพระนามาภิไธยของสมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี “สธ” เปน( สญั ลักษณข3 องวทิ ยาลัย วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา แหงน้ีกอตั้งมาเป(นระยะเวลาถึง ๕3 ป มีความม่ันคง กาวหนา มาเป(นลําดับ ปVจจุบันไดผลิตบุคลากรดานสาธารณสุขในระดับตํ่ากวาปริญญาตรี ระดับปริญญาตรี และ ระดับปริญญาโท จํานวน ๖ หลักสตู ร ดังนี้ ระดับตาํ่ กวาปริญญาตรี มี ๒ หลกั สูตร 1) หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั้ สูงสาธารณสขุ ศาสตร3 (เทคนิคเภสัชกรรม) ๒) หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั้ สงู ปฏิบตั ิการฉุกเฉนิ การแพทย3 หลกั สูตรปริญญาตรี มี 3 หลกั สูตร 1) หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ (สาธารณสุขศาสตร3) 2) หลกั สูตรการแพทยแ3 ผนไทยบณั ฑิต 3) หลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต (ทันตสาธารณสุข) พนั ธกิจ 1. ผลิตบุคลากรดานสขุ ภาพ 2. ใหบรกิ ารวิชาการแกชุมชนและพฒั นากาํ ลงั คนดานสุขภาพ 3. วิจยั จดั การองค3ความรแู ละและสรางนวตั กรรมสุขภาพ 4. ทาํ นบุ ํารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม 5. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ หลักสตู รผบู ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง รนุ ท่ี 33 ประจาํ ปงบประมาณ 2562623

4 ปรัชญา การผลิตและพฒั นากาํ ลงั คนท่ีมีคุณภาพในการพัฒนางานสาธารณสุข จําเป(นตองจัดประสบการณ3 ทางการศึกษาโดยมีการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อใหเกิดกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต สรางผลผลิตที่ ตอบสนองความตองการของชมุ ชนโดยยดึ หลักเศรษฐกจิ พอเพียง ปณธิ าน วิทยาลัยจะพัฒนาศักยภาพอยางตอเนื่องเพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรดานสุขภาพใหมีความรู ความสามารถในการดําเนินงานสาธารณสุขแบบองค3รวมตลอดจนการสรางองค3ความรูวิจัยและพัฒนาแกไข ปญV หาชุมชนที่ตนรบั ผดิ ชอบไดอยางเหมาะสม กอปรดวยคุณธรรม จริยธรรม มนษุ ยสัมพนั ธ3ที่ดี รวมท้ังสงเสริม ศลิ ปวฒั นธรรม และเลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตย วสิ ยั ทัศน> เปน( สถาบันอุดมศึกษาชัน้ นํา ดานการจัดการสุขภาพชมุ ชน การวจิ ัย การบรกิ ารวิชาการ ที่ไดรบั การ ยอมรบั ในระดับประเทศ คานยิ มรวม “MOPH” M = Mastery การเปน( นายตนเอง O = Originality การเรงสรางสงิ่ ใหม P = People centered การใสใจประชาชน H = Humility การเปน( คนออนนอม ถอมตน อตั ลกั ษณ>วิทยาลยั คณุ ธรรม ซือ่ สตั ย3 รับผิดชอบ มีนา้ํ ใจ หลักสตู รผูบรหิ ารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง รนุ ที่ 33 ประจาํ ปงบประมาณ 2562624

5 ทําเนียบผอู ํานวยการวิทยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จังหวดั ยะลา ๑. นายแพทยอ3 ดุ ม เอกตาแสง มีนาคม ๒๕๐๙ - กมุ ภาพนั ธ3 ๒๕๑๑ ๒. นายแพทยส3 าํ เริง แสงซอ่ื กมุ ภาพันธ3 ๒๕๑๑ - มกราคม ๒๕๑๓ ๓. นายสาํ รวย ศลิ าเกษ มกราคม ๒๕๑๓ - กุมภาพันธ3 ๒๕๑๓ ๔. นายกติ ติ วงศ3ประเสริฐ กมุ ภาพันธ3 ๒๕๑๓ - ตุลาคม ๒๕๑๓ ๕. นายแพทย3สทุ ธิ เหลารัตนวรพงษ3 ตลุ าคม ๒๕๑๓ - กุมภาพนั ธ3 ๒๕๑๔ ๖. นายแพทยก3 ติ ติพงศ3 ณ นคร กมุ ภาพันธ3 ๒๕๑๔ - กนั ยายน ๒๕๑๕ ๗. นายแพทย3วนิ ิจ อศิ รางกูร ณ อยุธยา กันยายน ๒๕๑๕ - สิงหาคม ๒๕๓๔ ๘. นางสาวจงจิตต3 พทั รชนม3 สิงหาคม ๒๕๓๔ - กนั ยายน ๒๕๓๔ ๙. นายแพทย3วนิ ิจ อิศรางกูร ณ อยุธยา กันยายน ๒๕๓๔ - สิงหาคม ๒๕๓๕ ๑๐. นายพูลศกั ด์ิ พุมวิเศษ ตลุ าคม ๒๕๓๕ - ตลุ าคม ๒๕๓๖ ๑๑. นายมนสั ดุลยพชั ร3 ตุลาคม ๒๕๓๖ - ตลุ าคม ๒๕๔๑ ๑๒. นายอรุณ กิจสมเจตน3 ตุลาคม ๒๕๔๑ - ตุลาคม ๒๕๔๓ ๑๓. นายมนัส ดลุ ยพชั ร3 ตุลาคม ๒๕๔๓ - ตลุ าคม ๒๕๔๔ ๑๔. นางสาววภิ าวรรณ อรยิ านนท3 ธันวาคม ๒๕๔๔ - ตุลาคม ๒๕๔๖ ๑๕. นายสุวฒั นา คานคร ธันวาคม ๒๕๔๖ - ธันวาคม ๒๕๕๒ ๑๖. นางสาวรุจา รอดเข็ม กมุ ภาพันธ3 ๒๕๕๓ - กนั ยายน ๒๕๕๗ ๑7. นายอรรณพ สนธิไชย มกราคม ๒๕๕๘ - มกราคม ๒๕๕๙ ๑8. นางสาวศลุ พี ร เพชรเรยี ง กมุ ภาพันธ3 ๒๕๕๙ - ธนั วาคม 2560 19. นางเสาวลกั ษณ3 ศรดี าเกษ มกราคม 2561 – พฤศจิกายน 2561 20. นายสุนทร ปราบเขต ธนั วาคม 2561 – ปจV จุบนั หลักสตู รผูบริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง รุนที่ 33 ประจาํ ปงบประมาณ 2562625

6 หลักสตู รผบู ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง กระทรวงสาธารณสุข ************************ 1. ชอื่ หลกั สูตร ภาษาไทย ผูบรหิ ารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) ภาษาอังกฤษ Middle Level Public Health Administrators Training Program 2. หนวยงานท่รี ับผิดชอบ วิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุข สถาบนั พระบรมราชชนก สาํ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 3. หลกั การและเหตผุ ล ทรัพยากรบุคคลถือเป(นสินทรัพย3ท่ีมีคาสูงสุดในองค3กร เพราะเป(นผูใชและบริหารจัดการทรัพยากร หรือปVจจัยทางการบริหารท้ังหมด เพื่อใหองค3กรบรรลุเป:าหมาย และวิสัยทัศน3ท่ีกําหนด แนวคิดเกี่ยวกับการ พัฒนาบุคลากรควรเป(นการลงทุนอยางเป(นระบบตอเนื่อง และระยะยาว ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขไดให ความสําคัญกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลโดยมีรูปแบบ และหลักสูตรการพัฒนาท่ีหลากหลายเพ่ือเพิ่มพูน ประสิทธิภาพ และเสริมสรางแรงจงู ใจแกบุคลากรสาธารณสุขในการปฏิบัติราชการใหเกดิ ผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจ ของหนวยงาน หลักสูตรผูบริหารการสาธารณสุขระดับกลางเป(นหลักสูตรหน่ึงที่กระทรวงสาธารณสุขไดมอบหมายให วิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุข สถาบันพระบรมราชชนกดําเนินการพัฒนา และฝIกอบรมผูบริหารระดับกลาง ของกระทรวงสาธารณสุขท่ีกระจายอยูในหนวยงานสังกัดกรมตางๆ ท้ังในสวนกลาง และสวนภูมิภาคซ่ึงถือวา เป(นผูมีบทบาทสําคัญในการนํานโยบายของกระทรวงและผูบริหารระดับสูงมากําหนดกลยุทธ3 และกลวิธีการ ดาํ เนินงานทีเ่ หมาะสมกบั สถานการณ3 และพันธกจิ ของหนวยงานรวมทั้งเป(นผปู ระสานเช่อื มตอระหวางผบู ริหาร ระดับสูงและระดับตน วิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุขไดดําเนินการพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตรอยาง สมํ่าเสมอเพ่ือใหหลักสตู รน้มี ีประสิทธิภาพในการเสริมสราง ความรู ทักษะ และสมรรถนะในการบริหารจัดการ ของบุคลากรในการเป(นผูบริหาร และผูนําการเปลี่ยนแปลงรองรับภารกิจท้ังในปVจจุบัน และอนาคตเป(นกําลัง สําคัญในการขับเคล่ือนนโยบาย Thailand ๔.๐ แผนกระทรวงสาธารณสุข ๒๐ ป การปฏิรูปประเทศดาน สาธารณสขุ ตามคานยิ ม MOPH พรอมท้ังเปน( ผูนาํ ทม่ี คี ุณธรรมจรยิ ธรรม โดยยึดหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4. ปรัชญาของหลกั สตู ร พัฒนาผูผานการอบรมใหเป(น “ผูนํารุนใหม” ที่มีการคิดเชิงกลยุทธ3สามารถจัดการขอมูล และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพ่ือใหเกิดนวัตกรรม เรียนรูทักษะในการสื่อสารเพื่อสรางแรงบันดาลใจใหกับทีม และมีความสามารถในการสรางเครือขาย เป(นแบบอยางของผูนํารุนใหมที่ดี ท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม และมี ความสุข หลกั สตู รผูบรหิ ารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง รนุ ท่ี 33 ประจาํ ปงบประมาณ 2562626

7 ๕. คุณลกั ษณะทีค่ าดหวงั คณุ ลกั ษณะของผูนาํ รนุ ใหม ของหลกั สตู รผูบรหิ ารการสาธารณสุขระดับกลาง มีดังนี้ 1. มกี ารคดิ เชิงกลยทุ ธส3 ามารถจัดการขอมลู และเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมเพอ่ื ใหเกดิ นวัตกรรม (Innovation) ในการดาํ เนนิ งาน 2. มที กั ษะในการสอ่ื สารเพื่อสรางแรงบันดาลใจใหกับทมี 3. มีความสามารในการสรางเครือขายในการดําเนินงาน 4. เป(นแบบอยางของผนู ํารุนใหมทีด่ ี (Role Model) ๖. เปาH หมายของหลกั สูตร ผูบริหารที่ผานการพัฒนาจะเป(นผูนํารุนใหมที่มีความคิดเชิงกลยุทธ3 มีคุณธรรม จริยธรรม และ มคี วามสุข ๗. วตั ถุประสงค> เพ่ือใหผเู ขารบั การอบรม ๗.1 เพมิ่ พูนความรูแนวคิดเชิงกลยุทธ3 ประสบการณ3 และสมรรถนะดานการบริหาร ๗.๒ มีทักษะในการส่ือสารเพื่อสรางแรงบันดาลใจใหกับทีม และเป(นเครือขายการบริหารงาน ในการขบั เคลือ่ นภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข ๗.๓ สามารถประยกุ ตใ3 ชเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทเี่ หมาะสม ๗.๔ เป(นแบบอยางที่ดีดานคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึกในความรับผิดชอบตอบทบาทหนาท่ี และ จรรยาบรรณวชิ าชพี ๘. กลุมเปาH หมาย ๘.๑ ผทู ด่ี ํารงตําแหนงทางการบริหารหรือปฏบิ ัติหนาท่ที างการบริหาร ดงั ตอไปนี้ ๑) ผอู ํานวยการโรงพยาบาลชุมชน ๒) สาธารณสขุ อาํ เภอ ๓) หัวหนากลุมภารกิจหรือหวั หนากลมุ งานหรือหัวหนาฝ•ายในโรงพยาบาลศูนย3 และโรงพยาบาล ทว่ั ไป ๔) หวั หนากลุมงานหรอื หวั หนาฝา• ยในสํานักงานสาธารณสขุ จังหวดั ๕) หวั หนากลมุ การพยาบาลโรงพยาบาลชุมชนท่ดี าํ รงตาํ แหนงมาแลวอยางนอย 3 ป ๖) หัวหนาภาคหรือหัวหนาฝ•าย หรือผูท่ีเคยปฏิบัติหนาที่กรรมการบริหาร ของวิทยาลัยสังกัด สถาบันพระบรมราชชนก ๗) หัวหนากลุมงานหรือหัวหนาฝา• ยของกองและศูนย3เขตหรืหนวยงานเทียบเทาภายในกรม/กอง ตาง ๆ ของกระทรวงสาธารณสุข ๘) ผูชวยสาธารณสขุ อาํ เภอท่ีดาํ รงตําแหนงมาแลวอยางนอย 3 ป 9) หวั หนากลุมงานหรือหวั หนาฝา• ย ในหนวยงานทีเ่ ก่ียวของกบั กระทรวงสาธารณสขุ ๑๐) ผอู ํานวยการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ท่ีดํารงตาํ แหนงระดบั ชํานาญการพิเศษ หรือสถานอี นามยั เฉลิมพระเกียรติ ฯ และสถานอี นามัยที่ไดรับพระราชทานนาม ๘.๒ อายไุ มเกิน ๕๕ ป นบั ถึงเดอื นมกราคมของปทสี่ มคั ร หลกั สตู รผบู รหิ ารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง รุนท่ี 33 ประจาํ ปงบประมาณ 2562627

8 ๙. โครงสรางหลักสูตร หลักสูตรผูบริหารการสาธารณสุขระดับกลาง เป(นหลักสูตรที่พัฒนาความรู ทักษะ และสมรรถนะ ผูบริหารระดับกลางของกระทรวงสาธารณสุข ในประเด็นที่ผูบริหารตองมีและใชในสถานการณ3ปVจจุบัน โดย ผูบริหารตองพัฒนาตนเองตลอดเวลาใหเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง บริบท และสถานการณ3 ซ่ึงโครงสราง หลักสูตรผูบริหารการสาธารณสุขระดับกลางประกอบดวย ๓ หนวยการเรียน รวม ๑๕8 ช่ัวโมง ( ๔ สัปดาห3) ดงั รายละเอียดตอไปนี้ หนวยการเรียนท่ี 1 การเตรียมความพรอมในการอบรม ๒๒ ช่วั โมง 1๒ ชม. ๑) กิจกรรมกลุมสัมพันธ3 ๑ ชม. ๒) การช้แี จงหลกั สตู ร/ การปฏบิ ัตติ น/ การกาํ หนดบรรทดั ฐานในการอบรม ๓ ชม. ๓) กจิ กรรมแนะนําตนเอง “บอกตวั ตนใน ๒ นาที” ๖ ชม. ๔) การพัฒนาสมรรถนะทางรางกายและทดสอบสมรรถนะ หนวยการเรียนที่ 2 การเรยี นรทู างดานทฤษฎี การฝกO ปฏิบตั ิ ๑๑8 ชวั่ โมง ๓ ชม. เป(นการพฒั นาความรู ทกั ษะ และสมรรถนะผูบริหาร ประกอบดวย ๓ ชม. 1) หมวดการพฒั นาศักยภาพและพฒั นาตนเอง ๒๔ ชัว่ โมง ๒ ชม. 1.๑) การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ ๑.2) ธรรมาภิบาลสําหรบั ผูบรหิ าร ๑ ชม. ๑.๓) เทคนิคการนําเสนออยางมปี ระสิทธภิ าพ ๔ ชม. (ศกึ ษาคนควาดวยตนเอง) ๕ ชม. ๑.๔) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง (ศึกษาดวยตนเอง) ๖ ขม. ๑.๕) การพัฒนาจติ (กิจกรรมเสริมโดยผเู ขาอบรม) ๑.๖) การออกกําลังกาย (กจิ กรรมเสริมโดยผเู ขาอบรม) ๓ ชม. ๑.๗) การพฒั นาทกั ษะการนําเสนอ (“วชิ าการ ๕ นาที”) ๑๕ ชม. 2) หมวดการพฒั นาทักษะดานบริหาร ๗6 ช่ัวโมง ๒.1) ยุทธศาสตรช3 าติ นโยบายและยทุ ธศาสตรส3 าธารณสุข ๒๐ ป ๓ ชม. การปฏริ ูปประเทศดานสาธารณสขุ การปลกู ฝงV คานิยม MOPH ๓ ชม. ๒.๒) การบริหารเชงิ กลยุทธ3 / การบรหิ ารงานมงุ ผลสัมฤทธิ์และ ๓ ชม. เครอ่ื งมือการบริหารจัดการ (Tools& Technical Management) ๖ ชม. ๒.๓) เทคโนโลยีดิจทิ ัลและนวัตกรรมกบั ระบบสุขภาพ ๓ ชม. ๒.๔) เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การบริหารและการตดั สินใจ ๓๗ ชม. ๒.๕) การบริหารความเสย่ี งดานการเงนิ บญั ชี และพัสดุ ๒.๖) หลมุ พรางทางการบริหาร 3 ชม. ๒.๗) การบรหิ ารดานการเงนิ (Financial Management) 3 ชม. ๒.๘) การฝIกทักษะการคดิ เชงิ กลยทุ ธ3โดยใชการเรียนรแู บบ CBL (Community Based Learning) 2.9) การบริหารจัดการในภาวะวิกฤต 2.10) แนวคดิ และกระบวนการ CBL หลักสตู รผบู ริหารการสาธารณสุขระดับกลาง รุนท่ี 33 ประจาํ ปงบประมาณ 2562628

9 ๓) หมวดการพฒั นาภาวะผูนํา (Leadership) ๑๕ ชัว่ โมง ๑ ๑/๒ ชม. ๓.๑) ภาวะผูนํายคุ ใหมกบั การบริหารการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ ๑ ๑/๒ ชม. ๓.๒) กระบวนการคิดในการตดั สินใจทางการบริหาร ๔ ๑/๒ ชม. ๓.๓) จิตวิทยาการบริหารและการส่อื สารสําหรับผูนํา ๑ ๑/๒ ชม. ๓.๔) การสรางเครือขายและการมีสวนรวม ๓ ชม. ๓.๕) การบรหิ ารความขัดแยง ๓ ชม. ๓.๖) ผบู ริหารและการขัดกนั แหงผลประโยชน3 หนวยการเรียนท่ี ๓ การแลกเปลี่ยน สรุปผลการเรยี นรแู ละรับประกาศนยี บตั ร ๒๑ ชั่วโมง เป(นการแลกเปล่ียนเรียนรู และตกผลึกสิ่งที่ไดเรียนรูจากการอบรม บูรณาการความรู ทักษะท่ีไดรับจาก การอบรมไปประยกุ ตใ3 ชในการทาํ งานของผอู บรม ประกอบดวย ๑) การนําเสนอและแลกเปล่ียนผลการเรยี นรู จาก CBL ๓ ชม. ๒) การแลกเปล่ยี นและจัดการความรู (Knowledge Management) ๓ ชม. ๓) การประเมินโครงการ (AAR) ๓ ชม. ๔) สรุปผลการเรยี นรูตลอดหลกั สตู ร และนาํ เสนอผลการเรียนรู ๖ ชม. ๕) กจิ กรรมเสริมหลกั สูตรเพือ่ กระชับความสมั พันธ3 (เชน Sport day) ๔ ชม. ๖) พิธีมอบประกาศนียบตั ร ๒ ชม. หลกั สตู รผูบริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง รุนที่ 33 ประจาํ ปงบประมาณ 2562629

สรปุ โครงสรางหลักสตู รผูบ หนวยการเรียนท่ี ๑ หนวยการเรียนท่ี ๒ การเรียนรทู า การเตรยี มความพรอมใน ๑) หมวดการพัฒนาศักยภาพและ 2) หมวดการพฒั นาท การอบรม ๒๒ ชม. พัฒนาตนเอง ๒๔ ชม. 1.๑) การพฒั นาบคุ ลิกภาพ ๒ . 1 ) ยุ ท ธ ศ า ส ต ร3 ช า ๑) กิจกรรมกลุมสัมพันธ3และ ๓ ชม. สาธารณสขุ ๒๐ ป การป การทาํ งานเป(นทมี 12 ชม. ๑.2) ธรรมาภิบาลสาํ หรับผบู ริหาร ปลูกฝงV คานิยม MOPH ๒) การชี้แจงหลักสูตร/ การ ๓ ชม. ๒.๒) การบรหิ ารเชงิ กลยทุ ป ฏิ บั ติ ต น / ก า ร กํ า ห น ด ๑.๓) เทคนิคการนําเสนออยางมี การบรหิ ารงานมุงผลสัมฤ บ ร ร ทั ด ฐ า น ใ น ก า ร อ บ ร ม ประสทิ ธิภาพ (ศกึ ษาดวยตนเอง) การบรหิ ารจดั การ (Tools ๑ ชม. ๒ ชม. ๑๕ ชม. ๓ ) กิ จ ก ร ร ม แ น ะ นํ า ต น เ อ ง ๑.๔) ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒.๓) เทคโนโลยีดิจทิ ลั แ “บอกตวั ตนใน ๒ นาที” ๓ (ศึกษาดวยตนเอง) ๑ ชม. ชม. ชม. ๑.๕) การพัฒนาจิต (กิจกรรมเสริม ๒.๔) เทคโนโลยีสารส ๔) การพัฒนาสมรรถนะทาง โดยผูเขาอบรม) ๔ ชม. ตัดสนิ ใจ ๓ ชม. รางกาย และทดสอบ ๑.๖) การออกกําลังกาย (กิจกรรม ๒.๕) การบรหิ ารความเส สมรรถนะ๖ ชม. เสริมโดยผเู ขาอบรม) ๕ ชม. 3 ชม. ๑.๗) การพฒั นาทักษะการนําเสนอ ๒.๖) หลุมพรางทางการ (“วชิ าการ ๕ นาที”) ๖ ชม. ๒.๗) การบริหารดานกา Management) ๓ ชม. ๒.๘) การฝกI ทกั ษะการค การเรยี นรูแบบ CBL (C ๓๗ ชม. 2.9) การบริหารจัดการ 2.10) แนวคิดและกระ

10 บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง างดานทฤษฎแี ละฝOกปฏิบตั ิ ๑๑8 ชม. หนวยการเรยี นที่ ๓ แลกเปลี่ยนสรุปผลการเรียนรู ทักษะดานบริหาร ๗9 ชม. ๓) หมวดการพฒั นาภาวะผูนาํ และรบั ประกาศนียบัตร ๒๑ ชม. (Leadership) ๑๕ ชม. า ติ น โ ย บ า ย แ ล ะ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร3 ๓.๑) ภาวะผูนํายุคใหมกบั การ ๑) การนําเสนอและแลกเปลี่ยน ปฏิรูปประเทศดานสาธารณสุข การ บรหิ ารการเปลี่ยนแปลงใน ผลการเรียนรู จาก CBL ๓ ชม. ๓ ชม. ศตวรรษท่ี ๒๑ ๑ ๑/๒ ชม. ๒) การแลกเปล่ียนและจดั การ ทธ3 ๓.๒) กระบวนการคิดในการ ความรู (Knowledge ฤทธิแ์ ละเครื่องมือ ตดั สินใจทางการบริหาร Management) ๓ ชม. s & Technical Management) ๑ ๑/๒ ชม. ๓) การประเมินโครงการ (AAR) ๓.๓) จติ วทิ ยาการบรหิ ารและ ๓ ชม. และนวัตกรรมกบั ระบบสุขภาพ ๓ การส่อื สารสาํ หรบั ผูนํา ๔ ) ส รุ ป ผ ล ก า ร เ รี ย น รู ต ล อ ด (๔ ๑/๒ ชม.) ห ลั ก สู ต ร แ ล ะนํ า เ ส น อผ ล กา ร ส น เ ท ศ เ พ่ื อ ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ก า ร ๓.๔) การสรางเครอื ขายและ เรียนรู 6 ชม. การมีสวนรวม ๑ ๑/๒ ชม. ๕) กิจกรรมเส ริมหลักสูตรเพื่ อ ส่ยี งดานการเงนิ บญั ชี และพสั ดุ ๓.๕) การบริหารความขัดแยง กระชบั ความสัมพันธ3 (เชน Sport ๓ ชม. day) ๔ ชม. รบรหิ าร ๖ ชม. ๓.๖) ผบู ริหารและการขดั กัน ๖) พิธีมอบประกาศนยี บตั ร ารเงิน (Financial แหงผลประโยชน3 ๓ ชม. ๒ ชม. คิดเชิงกลยทุ ธโ3 ดยใช Community Based Learning) รในภาวะวกิ ฤต ๓ ชม. ะบวนการ CBL 3 ชม.

11 รายละเอียดหลักสตู รการอบรมผบู รหิ ารการสาธารณสขุ ระดับกลาง ๙.๑ หนวยการเรียนท่ี ๑ การเตรียมความพรอมในการอบรม ๒๒ ชั่วโมง ๙.1.1 วตั ถุประสงค> เพ่ือเตรยี มความพรอมของผเู ขารับการอบรม สรางความสัมพนั ธ3 /เครอื ขายที่ไมเปน( ทางการ และเรียนรกู ารทาํ งานเป(นทีม รับทราบกฎ กตกิ า รายละเอียดหลักสูตร การพัฒนาสมรรถนะทางกาย ๙.1.2 ประเด็นเนอื้ หาและกิจกรรม ช่อื วิชา ๑. กิจกรรมกลุมสมั พันธ3 วัตถุประสงค3 เพื่อใหผเู ขารบั การอบรมไดรูจักซ่งึ กนั และกันสรางความสมั พันธ3ที่ดี มคี วามเขาใจ เหน็ ใจกัน กระชบั ความสมั พนั ธ3 สรางทมี งานเพ่ือการทาํ งานกลุม ขอบเขตเน้ือหา การปรับกระบวนการทางความคดิ (Mind set) กจิ กรรมกลุมเพื่อละลายพฤติกรรม เทคนิคในการทาํ งานรวมกนั เปน( ทมี การแกปVญหาและอุปสรรคอยางสรางสรรค3 จาํ นวนชวั่ โมง ๑๒ ชม. ลกั ษณะกจิ กรรม การทํากลมุ สัมพันธ3 walk rally หรอื การเขาคาย/กิจกรรมอน่ื ๆ ตามบริบทของพ้ืนที่ ชือ่ วิชา ๒) การชแ้ี จงหลักสูตร/ การปฏบิ ตั ิตน/ การกําหนดบรรทัดฐานในการอบรม วตั ถุประสงค3 เพ่ือใหผูเขารับการอบรมเขาใจรายละเอียดของหลักสูตร กฎระเบียบตาง ๆ ที่ตอง ปฏิบตั ิระหวางการอบรม ขอบเขตเนอ้ื หา ชี้แจงรายละเอียดหลักสูตร การประเมินผล ระเบียบเกี่ยวกับการฝIกอบรม การปฏิบัติตนระหวางการอบรม การกําหนดบรรทัดฐานและกติกากลุมเพื่อการอยู จํานวนชว่ั โมง รวมกันอยางมรี ะเบียบและมีความสุข ลกั ษณะกิจกรรม ๑ ชั่วโมง การบรรยาย ชือ่ วชิ า ๓) กิจกรรมแนะนาํ ตนเอง “บอกตัวตนใน ๒ นาที” วตั ถุประสงค3 เพ่ือใหผูเขารับการอบรมไดรูจักและคุนเคยกันโดยนําเสนอจุดเดนของตนเอง ตลอดจนฝIกการคดิ รวบยอด/ สรปุ ความ (Conceptualization) ภายในเวลาจํากัด ขอบเขตเนอ้ื หา ใหผูเขารับการอบรมแตละคนแนะนําตนเองและบอกวาตนเองมีดีหรือจุดเดนอะไร ภายในเวลา ๒ นาที โดยการเริ่มกิจกรรมคร้ังแรกใหผูอบรมที่มีความมั่นใจในการ จาํ นวนชวั่ โมง นําเสนอหรือใหวิทยากรพี่เล้ยี งเป(นผเู ปUดประเดน็ ทาํ เปน( ตวั อยาง ลักษณะกจิ กรรม ๓ ช่วั โมง การฝกปฎบิ ตั ิ โดยการนาํ เสนอ

12 ชอ่ื วชิ า ๔) การพัฒนาสมรรถนะทางรางกาย และทดสอบสมรรถนะ วัตถุประสงค3 เพ่ือใหผูเขารับการอบรมเขาใจหลักการในการออกกําลังกายสําหรับผูบริหารที่ เหมาะสมตามวยั และรผู ลการประเมนิ สมรรถนะทางรางกายของตนเอง ขอบเขตเนอ้ื หา การพัฒนาสมรรถนะทางกายสําหรับผูบริหาร เพื่อใหผูเขารับการอบรมไดทราบถึง สมรรถนะของตนเองและตระหนักในการพฒั นาตอไป จํานวนชว่ั โมง ๖ ชม. ลกั ษณะกิจกรรม การฝกปฎิบัติ ดําเนินการใหมีการทดสอบสมรรถภาพทางรางกายของผูเขารับการ อบรมในสปั ดาหแ3 รกและสปั ดาห3สุดทายของการอบรม ๙.2 หนวยการเรียนที่ ๒ การเรียนรทู างดานทฤษฎีและฝOกปฏิบตั ิ ๑๑8 ชั่วโมง ๙.2.1 วัตถปุ ระสงค> เพ่ือสรางและพัฒนาศักยภาพผูเขารับการอบรมใหมีความรู ทักษะสมรรถนะในการบริหารงาน ตามภารกจิ และบทบาทหนาท่ี ความรับผดิ ชอบใหมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลตอองคก3 าร ๙.2.2 ประเดน็ เน้อื หา ความรู ทักษะ และสมรรถนะผบู ริหาร ประกอบดวย ๓ หมวดวิชา คือ หมวดการพัฒนาศักยภาพ และพัฒนาตนเอง หมวดการพัฒนาทกั ษะดานบริหาร หมวดการพฒั นาภาวะผูนาํ ๑) หมวดการพัฒนาศกั ยภาพและพฒั นาตนเอง ๒๔ ชั่วโมง ชื่อวชิ า 1.๑) การพัฒนาบุคลกิ ภาพ วัตถุประสงค3 เพื่อใหผูเขารับการอบรมไดรับความรู เขาใจความสําคัญของการมีบุคลิกภาพที่ดี หลักและวิธีการสรางเสริมบุคลิกภาพ ตลอดจนมารยาทเบื้องตนในการเขาสังคม เป(นแนวทางในการปฏิบตั ติ อไป ขอบเขตเน้ือหา ความสําคัญของการมบี ุคลกิ ภาพทดี่ ี ประเภทของบคุ ลิกภาพ หลกั และวธิ กี าร เสริมสรางบคุ ลิกภาพ มารยาทตาง ๆ ในการเขาสังคม จํานวนชวั่ โมง ๓ ชม. ลักษณะกจิ กรรม การบรรยายและการฝIกปฏิบตั ิ ช่อื วชิ า ๑.2) ธรรมาภบิ าลผบู ริหาร วตั ถปุ ระสงค3 เพ่ือใหผูเขารับการอบรมรูและเขาใจความหมายของธรรมาภิบาล การบริหารตาม พื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล วิธีการเสริมสรางธรรมาภิบาลในการทํางาน ขอบเขตเนอื้ หา ใหผูใตบังคับบญั ชา ความหมายและและองคป3 ระกอบของธรรมาภิบาล หลกั ของธรรมาภบิ าลในภาครัฐ จาํ นวนชว่ั โมง องค3กรทีเ่ กี่ยวของกับการป:องกันและปราบปรามการทจุ รติ ของไทยการบริหารบนพ้นื ฐาน ลักษณะกิจกรรม ของหลักธรรมาภบิ าล การสรางธรรมาภบิ าลในองค3กรและผูใตบงั คับบัญชา ๓ ชม. การบรรยายและการศึกษากรณตี วั อยาง /เปดU โอกาสในการแลกเปล่ยี นเรยี นรู

13 ชอ่ื วชิ า ๑.๓) เทคนคิ การนําเสนออยางมปี ระสิทธภิ าพ (ศึกษาดวยตนเอง) วัตถุประสงค3 เพ่อื ใหผูเขารับการอบรมสามารถนาํ เสนออยางมีประสิทธิภาพ ขอบเขตเนอื้ หา การใชสือ่ สารสนเทศและการมีบคุ ลิกภาพทเี่ หมาะสมกบั กลุมเป:าหมายผูฟVงทเ่ี ปน( ผูบริหารระดบั สงู เชน นพ สสจ / ผตู รวจ/ สนธ/ อ่นื ๆ จํานวนชว่ั โมง ๒ ชม. ลกั ษณะกจิ กรรม การศกึ ษาคนควาดวยตนเอง และสงรายงาน ๑ หนากระดาษ ช่อื วชิ า ๑.๔) ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ศกึ ษาดวยตนเอง) วตั ถปุ ระสงค3 เพ่ือใหผูเขารบั การอบรมมีความรูและเขาใจปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ขอบเขตเนือ้ หา ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง จํานวนชว่ั โมง ๑ ชม. ลักษณะกจิ กรรม การศึกษาคนควาดวยตนเอง และสงรายงาน ๑ หนากระดาษ ชื่อวชิ า ๑.๕) การพฒั นาจิต (กิจกรรมเสริมโดยผูเขาอบรม) วตั ถปุ ระสงค3 เพ่ือใหผูเขารบั การอบรมไดฝIกปฏบิ ตั ิการพัฒนาจิต เพ่ือเตรียมพรอมกอนการอบรม ประจําวนั ขอบเขตเนอ้ื หา การดาํ เนนิ กิจกรรมการพฒั นาจติ เชน การสวดมนต3 การนั่งสมาธิ การบรหิ ารจิต จาํ นวนชว่ั โมง ๔ ชม. ลักษณะกิจกรรม การฝIกปฏบิ ัติ การพัฒนาจติ ในตอนเชากอนเริ่มกจิ กรรมการอบรม วันละประมาณ ๑๐ - ๑๕ นาที ชื่อวชิ า ๑.๖) การออกกําลังกาย (กิจกรรมเสรมิ โดยผูเขาอบรม) วตั ถปุ ระสงค3 เพ่ือกระตุนใหผูเขารับการอบรมใหความสําคัญและทํากิจกรรมการออกกําลังกาย และสรางการมสี วนรวมในกลมุ ผเู ขารบั การอบรม ขอบเขตเนือ้ หา การดาํ เนินกจิ กรรมการออกกําลงั กาย เชน วิ่ง ขีจ่ ักยาน แอรโ3 รบคิ ตามความถนดั จาํ นวนชวั่ โมง ๕ ชม. ลักษณะกจิ กรรม การฝIกปฏิบตั ิ การออกกําลังกาย ในชวงเชาหรอื เยน็ ระหวางการอบรม ช่อื วิชา ๑.๗) การพัฒนาทกั ษะการนาํ เสนอ (“วิชาการ ๕ นาที”) วตั ถปุ ระสงค3 เพื่อใหผูเขารับการอบรมเพิ่มพูนทักษะการนําเสนอ และการพัฒนาความคิดรวบ ยอด (Conceptualization) โดยสรุปประเด็นเนื้อหาเพื่อนําเสนอภายในเวลาท่ี ขอบเขตเน้อื หา กําหนด (time limited activity) และการวิพากษ3อยางสรางสรรค3 (positive & creative criticism) นําเสนอวิชาการ ๕ นาที ในเรื่องท่ีสนใจเก่ียวของกับการบริหารงานแนวใหม หรือ การประยุกต3ใชเทคโนโลยีดิจทิ ัลในการบริหาร เชน Internet of Things, Big Data ฯลฯ พรอมสงเน้อื หา ๑ หนากระดาษ A ๔ (one page) เป(นการจาํ ลองสถานการณก3 ารนําเสนอตอผูบริหารระดับสูง เชน การประชมุ ระดับ จงั หวัด, ระดบั เขต เสนอตอนพ.สสจ/ ผูตรวจราชการ/ อื่นๆ

14 จํานวนชว่ั โมง ๖ ชม. ลกั ษณะกจิ กรรม การฝIกปฏบิ ัติ ผูรับการอบรมแตละคนนําเสนอวิชาการ ๕ นาทีโดยใชส่ือท่ีเหมาะสมในการ นําเสนอ จัดใหผูเขาอบรมสบั เปลย่ี นการทาํ หนาทผ่ี ูวพิ ากษ3 (๑ นาท)ี วทิ ยากรทีท่ ําหนาท่วี ิพากยใ3 หวิพากย3ในภาพรวมและดึงจุดเดนของแตละคนออกมา เปน( การวิพากษ3อยางสรางสรรค3 2) หมวดการพัฒนาทกั ษะด!านบรหิ าร ๗9 ชว่ั โมง ชอื่ วชิ า ๒.1) ยุทธศาสตร3ชาติ นโยบายและยุทธศาสตร3สาธารณสุข ๒๐ ป การปฏิรูป ประเทศดานสาธารณสุข การปลกู ฝงV คานยิ ม MOPH วัตถุประสงค3 เพอ่ื ใหผเู ขารับการอบรม ๑. เพ่ิมพูนความรู ความเขาใจในนโยบายและยุทธศาสตร3ที่สําคัญของชาติ และ กระทรวงสาธารณสขุ ตลอดจนแนวทางการปฏบิ ตั ิเพื่อสนองตอบนโยบาย ๒. เพ่ิมพูนความรู ความเขาใจสถานการณ3ปVจจบุ ัน โดยเฉพาะปจV จยั ทส่ี ําคญั ตองาน สาธารณสขุ ขอบเขตเนอ้ื หา ยุทธศาสตรช3 าติ ๒๐ ป Thailand 4.0 นโยบายและยทุ ธศาสตร3สาธารณสุข ๒๐ ป (๔ Excellence) การปฏิรูปประเทศดานสาธารณสุข การปลูกฝVงคานิยม MOPH ปVจจยั ทส่ี าํ คัญตอการบริหารงานสาธารณสขุ การแปลงนโยบายสูการปฏบิ ัติ จํานวนชวั่ โมง ๓ ชม. ลกั ษณะกจิ กรรม การบรรยายและการศึกษากรณตี วั อยาง /เปดU โอกาสในการแลกเปลี่ยนเรยี นรู ช่ือวชิ า ๒.๒) การบรหิ ารเชิงกลยทุ ธ3 การบรหิ ารงานมุงผลสัมฤทธิแ์ ละเคร่ืองมือการบริหาร วตั ถปุ ระสงค3 จดั การ (Tools& Technical Management) ขอบเขตเน้อื หา เพ่อื ใหผูเขารับการอบรม ๑. เสริมสรางความรู ความเขาใจ หลักการและวิธีการวางแผนเชิงกลยุทธ3ตลอดจน การแปลงกลยทุ ธส3 ูการปฏบิ ัต ๒. เพม่ิ พนู ความรู ความเขาใจแนวคิด หลักการ รูปแบบของ RBM และการกําหนด ตัวช้ีวัดผล การดําเนินงานหลัก (Key Performance Indicators – KPIs) สามารถ ประยุกต3ใชความรูเพื่อปรับปรุง พัฒนา วิธีทํางานของหนวยงานไดอยางมี ประสทิ ธิผล ๓. เพ่ิมพูนความรู ความเขาใจ หลักการของเครื่องมือทางการบริหารใหมๆ และ การนาํ ไปใชใหเหมาะสม กระบวนการบริหารเชิงกลยทุ ธ3 เชน การวิเคราะห3เชงิ กลยุทธ3 การวางแผนเชงิ กลยทุ ธ3 การนาํ กลยุทธ3ไปสูการปฏบิ ตั ิ การประเมินเชิงกลยทุ ธ3 ๖ building blocks, ๗ S model & TOWS matrix - แนวคดิ และกระบวนการบริหารมงุ ผลสัมฤทธิ์ การวดั และประเมนิ ผล การปฏิบัติงานตามแนวทางการบรหิ ารแบบมุงผลสัมฤทธผิ์ ลสมั ฤทธ์ิ

15 จาํ นวนชว่ั โมง - แนวคดิ วิธี และรปู แบบใหมๆ ในการบรหิ ารจัดการองคก3 ร เชน Benchmarking, ลักษณะกิจกรรม Blue& White ocean, Lean management, Big Data Analytics (การ วิเคราะห3ขอมูลจํานวนมหาศาล เพ่ือใชในการตดั สินใจ)ฯลฯ ๑๕ ชม. การบรรยาย การศกึ ษากรณตี ัวอยาง และการฝIกปฏิบตั ิ ชือ่ วิชา ๒.๓) เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลและนวัตกรรมกับระบบสุขภาพ วัตถปุ ระสงค3 เพื่อใหผูเขารับการอบรมเขาใจการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่มี ขอบเขตเนอ้ื หา ผลกระทบตอสงั คม เศรษฐกจิ ระบบสุขภาพ เทคโนโลยีดจิ ิทลั การเปลย่ี นแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยดี ิจิทัลตอสงั คม จํานวนชว่ั โมง เศรษฐกจิ และระบบสุขภาพ เชน การประมวลผลแบบ cloud การวิเคราะห3ขอมลู ลักษณะกิจกรรม ขนาดใหญ (big data analytics) การเชือ่ มตอของสรรพสิ่ง (internet of things) ตวั อยางของนวตั กรรมที่มปี ระโยชนก3 ับระบบสขุ ภาพ ๓ ชม. การบรรยายและการศกึ ษากรณีตวั อยาง /เปดU โอกาสในการแลกเปล่ยี นเรยี นรู ชือ่ วิชา ๒.๔) เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการบรหิ ารและการตัดสินใจ วตั ถุประสงค3 เพ่ือใหผูเขารับการอบรมเพ่ิมพูนความรู ความเขาใจในกระบวนการบริหารขอมูล สารสนเทศ และสามารถนําขอมูลสารสนเทศใหเกิดประโยชน3สูงสุดในการ ขอบเขตเน้ือหา บรหิ ารงานโดยเฉพาะนํามาประกอบการตดั สนิ ใจ เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการระบบฐานขอมูลและสารสนเทศ การใช จาํ นวนชว่ั โมง เทคโนโลยใี นการบรหิ ารงาน (Management Information System) การนาํ เสนอ ลักษณะกิจกรรม ขอมลู ที่มีประสิทธิภาพเพื่อประกอบการตัดสนิ ใจในระดบั นโยบาย ๓ ชม. การบรรยายและการศึกษากรณีตวั อยาง /เปUดโอกาสในการแลกเปลย่ี นเรยี นรู ชื่อวชิ า ๒.๕) การบริหารความเสยี่ งดานการเงิน บญั ชี และพัสดุ วตั ถปุ ระสงค3 เพื่อใหผูเขารับการอบรมเพ่ิมพูนความรู และสรางความตระหนักในกระบวนการ ขอบเขตเนอ้ื หา บริหารความเสยี่ ง ดานการเงนิ บญั ชี และพัสดุ ขอควรระวัง การควบคมุ และปอ: งกัน ดานการเงิน บัญชี และพัสดเุ พอื่ ลดขอผดิ พลาด จํานวนชว่ั โมง – ระเบียบการเงนิ และหลักการบัญชีสวนราชการเบอ้ื งตน การบริหารการเงินการ ลักษณะกิจกรรม คลงั ภาครฐั ดวยระบบอเิ ล็กทรอนิกส3 (GFMIS) กระบวนการบรหิ ารความเสีย่ งดาน การเงินและบญั ชี – พ.ร.บ.การจัดซอ้ื จัดจางและการบริหารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ ระเบยี บ กระทรวงการคลังวาดวยการจดั ซ้ือจัดจางและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ และกฎกระทรวงตาง ๆ ที่เกย่ี วของ กระบวนการบริหารความเสี่ยงดานพสั ดุ ๓ ชม. การบรรยายและการศึกษากรณีตวั อยาง /เปUดโอกาสในการแลกเปลย่ี นเรียนรู

16 ช่ือวชิ า ๒.๖) หลมุ พรางทางการบริหาร วัตถปุ ระสงค3 เพ่ือใหผูเขารับการอบรมเสริมสรางความรู ความเขาใจในวินัย กฎระเบียบตางๆ ขอผิดพลาดท่มี กั เกิดบอยๆ และแนวทางป:องกนั / 2 P safety ขอบเขตเนือ้ หา วนิ ยั ขาราชการ ปVญหาเกีย่ วกับกฎหมาย ความผดิ /ขอผิดพลาดทีพ่ บบอยทางการ บริหารและแนวทางป:องกนั /แกไข/ 2 P safety (การแลกเปลี่ยนประสบการณ3) จํานวนชว่ั โมง ๖ ชม. ลักษณะกิจกรรม อภปิ ราย และการศึกษากรณตี ัวอยาง /เปUดโอกาสในการแลกเปล่ยี นเรียนรู ชื่อวชิ า ๒.๗) การบรหิ ารดานการเงนิ (Financial Management) วตั ถปุ ระสงค3 เพ่ือใหผูเขารับการอบรมเพิ่มพูนความรู ความเขาใจในการบริหารจัดการการเงิน ขอบเขตเน้ือหา ของเขตสขุ ภาพ บทบาทหนาที่และความรับผดิ ชอบของผบู รหิ ารดานการเงิน หลกั การบรหิ าร จํานวนชวั่ โมง การเงินการคลังภาครฐั หลกั เศรษฐศาสตร3เบื้องตนในงานสาธารณสขุ (Basic ลักษณะกจิ กรรม microeconomic in Health) การบรหิ ารการเงินและเป:าหมายทางบรหิ ารการเงิน ของกระทรวงสาธารณสุขและเขตสขุ ภาพ ๓ ชม. การบรรยายและการศกึ ษากรณีตวั อยาง /เปดU โอกาสในการแลกเปล่ยี นเรียนรู ช่อื วิชา ๒.๘) การฝกI ทกั ษะการคิดเชงิ กลยุทธ3โดยใชการเรียนรแู บบ CBL วตั ถปุ ระสงค3 ขอบเขตเน้อื หา เพอื่ ใหผเู ขารบั การอบรมไดฝกI ทกั ษะการคดิ เชิงกลยุทธ3จากสถานการณ3จริง (สสอ.) ผูเขารับการอบรมฝIกทักษะการคิดเชิงกลยุทธ3ในสถานการณ3จริงระดับอําเภอ เป(น การเรียนรแู บบ Community Based Learning ไดแก ๒.๘.๑) วิเคราะห3ปVญหาและสาเหตุของปVญหาสาธารณสุข หรือปVญหาทสี่ งผลตอสขุ ภาพ ในระดับอําเภอ 2.๘.๒) วิเคราะห3ปVจจัยทางดานการบริหารท่ีสงผลตอการ จัดการสาเหตขุ องปญV หาในขอ ๒.๘.1) ๒.๘.3) วิเคราะห3และเสนอกลยุทธ3 และแผนปฏิบัติการ โดย ใชแผนยุทธศาสตร ๓ – ๕ ป ในการแกไขปญหาในขอ 2.๘.๒ ) มุงเนนแผนดาน การบริหารจัดการ โดย วิเคราะห3แผนการดําเนินการเดิมของพื้นท่ี ทําการ แกไข/ ปรับปรุงและเสนอแผนยุทธศาสตร3เพ่ิมเติมในกรณีที่แผนฯ เดิมไมครอบคลุมการ จัดการสาเหตขุ องปญV หา หวั ขอหรือประเดน็ ในการเรียนรแู บบ CBL “ให!ท(านศึกษาป+ญหาสาธารณสุขหรือป+ญหาท่ีส(งผลต(อสุขภาพ ในระดับอําเภอ (ท่ีท(านไปฝ9กปฏิบัติงาน) และเสนอกลยุทธ; และแผนปฏิบัติการ โดยใชแผน ยุทธศาสตร> ๓ – ๕ ป( ในการแก!ไขป+ญหาระดับพ้ืนท่ีเพ่ือพัฒนาระบบการ บรหิ ารงานสาธารณสขุ ”

17 จาํ นวนชว่ั โมง หมายเหตุ กลยุทธ3 และแผนปฏิบัติการ โดยใชยุทธศาสตร3กระทรวง เป(น ลกั ษณะกจิ กรรม กรณศี ึกษา/ศึกษาตัวอยาง เพอื่ วิเคราะหอ3 งคป3 ระกอบและความชัดเจนดานกลยุทธ3 และมาตรการ ๓๗ ชม. การเรยี นรแู บบ CBL โดยใหมกี ิจกรรมดังน้ี - ศึกษาขอมูลพื้นที่เบ้ืองตนเพื่อวิเคราะห3หาปVญหาและสาเหตุของปVญหา สาธารณสุขหรอื ปญV หาที่สงผลตอสุขภาพ - ใหความรูเร่อื งแนวคดิ และกระบวนการ CBL กอนลงเก็บขอมูลในพนื้ ทจ่ี ริง - วางแผนและสรางเครื่องมือเพ่ิมเติมเพื่อเก็บขอมูลที่จําเป(นสําหรับการทํา SWOT analysis (ดาํ เนินการ ณ วทิ ยาลยั ) - ลงพ้ืนท่ีเพื่อเก็บขอมูลเพ่ิมเติมเพ่ือหาปVจจัยทางดานการบริหารที่สงผลตอการ จดั การสาเหตุของปญV หาสาธารณสขุ หรอื ปVญหาที่สงผลตอสขุ ภาพ - รวบรวมและวิเคราะห3ขอมูลท่ีได/แผนการดําเนินการเดิมของพื้นท่ีเพื่อแกไขหรือ ปรบั ปรุงแผนยทุ ธศาสตรฯ3 เดิม ณ วิทยาลยั ท่ีจัดอบรม - จัดทาํ รายงานและนําเสนอกลยุทธ3และแผนปฏิบัติการ ในสปั ดาห3สดุ ทายของการ อบรมเพ่อื เป(นขอมลู ปอ: นกลบั เพ่ือการพฒั นา -การวิพากษ3จากวิทยากรเชิงสรางสรรค3เพื่อการเรียนรูและการสะทอนคิดของผูเขา รับการอบรม ชอื่ วิชา ๒.9) การบรหิ ารจัดการในภาวะวกิ ฤต วัตถปุ ระสงค3 เพ่ือใหผูเขารับการอบรมเพิ่มพูนความรู ความเขาใจในการบริหารจัดการในภาวะ วกิ ฤต ของเขตสขุ ภาพ ขอบเขตเนื้อหา ความหมาย กระบวนการ วตั ถปุ ระสงค3 การจัดการความเส่ียงในภาวะวิกฤต ข้ันตอนการจัดการในภาวะวิกฤต จาํ นวนชว่ั โมง ๓ ชม. ลักษณะกิจกรรม การบรรยายและการศกึ ษากรณตี ัวอยาง /เปUดโอกาสในการแลกเปลยี่ นเรียนรู ชอ่ื วชิ า ๒.10) แนวคิดและกระบวนการ CBL วตั ถปุ ระสงค3 เพ่ือใหผูเขารับการอบรมมคี วามรูความเขาใจในแนวคดิ หลักการ และกระบวนการ ในการบรหิ ารจดั การเชิงกลยทุ ธ3 ขอบเขตเน้อื หา แนวคิด หลกั การ กระบวนการ ขั้นตอนการบรหิ ารจดั การเชิงกลยทุ ธ3 ถายทอด ประสบการณ3 และเทคนคิ การบริหารงาน จํานวนชวั่ โมง ๓ ชม. ลักษณะกิจกรรม การบรรยายและการศึกษากรณตี ัวอยาง /เปดU โอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู

18 ๓) หมวดการพฒั นาภาวะผ!ูนาํ (Leadership) ๑๕ ชั่วโมง ชอ่ื วิชา ๓.๑) ภาวะผนู ํายคุ ใหมกับการบริหารการเปลย่ี นแปลง ในศตวรรษท่ี 21 วัตถปุ ระสงค3 เพื่อใหผูเขารับการอบรมเพ่ิมพูนความรู ความเขาใจในคุณลักษณะและบทบาทของ ผูนํายุคใหมการปรับบทบาทผูนําใหเหมาะสมทามกลางสภาวะการเปล่ียนแปลงใน ศตวรรษที่ 21 ขอบเขตเน้ือหา คุณลักษณะและบทบาทหนาทข่ี องผูนาํ ยคุ ใหม ลกั ษณะของผนู ําทจ่ี ะทําให การบรหิ ารงานมปี ระสทิ ธิภาพสูงสดุ ผนู ํากับการบรหิ ารการเปลีย่ นแปลง ในศตวรรษท่ี 21 จํานวนชว่ั โมง 1 1/2 ชม. ลักษณะกิจกรรม การบรรยายและการศกึ ษากรณีตัวอยาง ชื่อวิชา ๓.๒) กระบวนการคิดในการตดั สนิ ใจทางการบรหิ าร วตั ถปุ ระสงค3 เพื่อใหผูเขารับการอบรมเพ่ิมพูนความรู ความเขาใจในรูปแบบ และวิธีการคิดแบบ ขอบเขตเนื้อหา ตางๆ ตลอดจนการนํามาใชประกอบการตดั สินใจทางการบริหาร รปู แบบและวิธคี ดิ แบบผูบริหารท่นี ํามาใชประกอบการตัดสินใจในสถานการณห3 รือการ จาํ นวนชวั่ โมง บรหิ ารตางๆ เชน การคิดแบบหมวก ๖ ใบ (Six Thinking Hats) การคดิ เชิงบวก การ ลักษณะกจิ กรรม คดิ เชิงสรางสรรค3 การคิดเชงิ วิพากษ3/วิเคราะห3 การคดิ นอกกรอบ การคิดเชิงระบบ ฯลฯ ๑ ๑/2 ชม. การบรรยายและการศกึ ษากรณีตวั อยาง /เปUดโอกาสในการแลกเปล่ียนเรียนรู ชื่อวชิ า ๓.๓) จิตวทิ ยาการบรหิ ารและการสื่อสารสาํ หรับผูนาํ วัตถปุ ระสงค3 เพื่อใหผูเขารับการอบรมเสริมสรางความรูความเขาใจและเป(นแนวทางในการพัฒนา ตนเอง การเสริมสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคลและการส่ือสารสําหรับผูนําในการ ขอบเขตเนอ้ื หา สรางแรงจงู ใจกับผูรวมงานและนาํ ไปประยุกตใ3 ชใหเกิดผลสมั ฤทธใ์ิ นการทาํ งาน เทคนิคการส่ือสาร ทักษะการฟVง การพูดโนมนาว การสะทอนพูดการคิด จํานวนชวั่ โมง การวิเคราะห3และเขาใจตนเองและผูอ่ืน การเสริมสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล ลกั ษณะกจิ กรรม การสอ่ื สารสําหรบั ผูนาํ การสรางแรงจูงใจในการทาํ งาน ๔ ๑/2 ชม. การบรรยายและการศกึ ษากรณีตวั อยาง การฝกI ปฏิบตั ิ ชื่อวชิ า ๓.๔) การสรางเครอื ขายและการมีสวนรวม วตั ถุประสงค3 เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีแนวทางในการสรางเครือขายในการทํางาน ตลอดจนการ แสวงหาเครอื ขายจากภายนอกหนวยงาน ขอบเขตเนือ้ หา การสรางและพัฒนาเครือขายรวมถงึ การสงเสริมการมีสวนรวมของสมาชกิ ในเครือขาย องค3ประกอบของเครือขายท่ีมีประสิทธิภาพการสรางความสัมพันธ3ที่ดีระหวางสมาชิก ในเครือขายการส่ือสารการแสวงหาความรวมมือ และเทคนิคการสรางเครอื ขายในการ

19 จํานวนชวั่ โมง ทํางาน โดยเนนระบบการทํางานเพ่ือรวมแกไขปVญหาสาธารณสุข (District Health ลกั ษณะกจิ กรรม System) ๑ ๑/2 ชม. การบรรยายและการศึกษากรณีตัวอยาง /เปดU โอกาสในการแลกเปลยี่ นเรยี นรู หมายเหตุ ในหมวดการพัฒนาภาวะผูนําอาจใชการศึกษาดูงานแทนการบรรยายในบางประเด็นหรือ ครอบคลมุ ท้งั หมวดกส็ ามารถดาํ เนินการได ชือ่ วิชา ๓.๕) การบรหิ ารความขดั แยง วตั ถปุ ระสงค3 เพอ่ื ใหผูเขารบั การอบรมเสริมสรางความรู ความเขาใจ สามารถบรหิ ารความขัดแยง วิธีการ แกไขปVญหา การเจรจาไกลเกลี่ย/การเจรจาตอรอง ในการแกไขปญV หาความขัดแยง การให ขอมูลตอสอื่ มวลชนในกรณีตกเป(นขาว ขอบเขต ลักษณะของความขดั แยงและผลทเ่ี กิดข้ึน แนวทาง/เทคนิคการบรหิ ารความขัดแยงทักษะท่ี เน้อื หา จําเป(นตอการแกไขปVญหาความขดั แยง การใชรูปแบบการเจรจาไกลเกลี่ย/การเจรจาตอรอง ในการแกไขปVญหา ตลอดจนการใหขอมูลตอส่ือมวลชนในกรณตี กเปน( ขาว จํานวนชวั่ โมง ๓ ชม. ลกั ษณะ การบรรยายและการศกึ ษากรณีตวั อยาง /เปดU โอกาสในการแลกเปลี่ยนเรยี นรู กิจกรรม ชื่อวิชา ๓.๖) ผบู ริหารและการขดั กันแหงผลประโยชน3 ๓ ชม. วัตถปุ ระสงค3 เพ่ือใหผเู ขารับการอบรมเสริมสรางความรู ความเขาใจเก่ียวกบั การขัดกนั แหง ผลประโยชน3 การจัดการกบั การขัดกนั แหงผลประโยชน3 ขอบเขตเนอ้ื หา ความหมาย ลักษณะ องค3ประกอบของการขัดกันแหงผลประโยชน3 (ผลประโยชน3 ขัดกัน หรือ conflict of interest) ผลเสยี หายท่ีเกิดขน้ึ จาก COI ผบู ริหารกับการ จาํ นวนชว่ั โมง จัดการกบั COI ลกั ษณะกิจกรรม ๓ ชม. การบรรยายและการศึกษากรณตี วั อยาง /เปดU โอกาสในการแลกเปลยี่ นเรียนรู ๙.๓ หนวยการเรียนที่ ๓ แลกเปล่ยี นสรปุ ผลการเรียนรแู ละรบั ประกาศนยี บัตร ๒๑ ชั่วโมง ๙.๓.1 วตั ถปุ ระสงค> เพอ่ื ใหผูเขารบั การอบรบไดแลกเปลย่ี นเรยี นรู บรู ณาการความรูที่ไดสกู ารนาํ ไป ประยกุ ตใ3 ชและดาํ เนินการพธิ ีมอบประกาศนียบตั ร ๙.๓.2 ประเด็นกิจกรรม ช่ือวิชา ๑) การนาํ เสนอและแลกเปลยี่ นผลการเรียนรู จาก CBL วัตถุประสงค3 เพ่ือใหผูเขารับการอบรมไดนําเสนอผลการเรียนรู แบบ CBL และแลกเปลี่ยนเรียนรู ระหวางกลุม??เพ่ือใหงานมีความสมบูรณ3มากยิ่งข้ึน อีกท้ังยังเป(นการคืนขอมูลใหกับ ขอบเขตเน้อื หา พืน้ ท่ี

20 จาํ นวนชวั่ โมง ๓ ชม. ลกั ษณะกิจกรรม การนาํ เสนอและการฝกI ปฏิบัติ /เปดU โอกาสในการแลกเปล่ียนเรียนรู ใหผูเขารับการอบรมแตละกลุมนําเสนอผลการศึกษาและเรียนรูจากการฝIกภาคสนาม แบบ CBL โดยเชิญแหลงฝIก (Case ทเี่ ป(นกรณศี ึกษา) และ ผูเช่ียวชาญมาวิพากษแ3 ละ ใหขอเสนอแนะ เพื่อรวมกันแลกเปล่ียนเรียนรูและเติมเต็มซ่ึงกันและกัน อีกท้ังยังเป(น การใหขอมลู ปอ: นกลบั กับเจาของขอมูล ช่อื วชิ า ๒) การแลกเปล่ยี นและจัดการความรู (Knowledge Management) วัตถุประสงค3 เพ่ือใหผูเขารับการอบรมเกิดการแลกเปล่ียนและจัดการความรู สราง Explicit ขอบเขตเนอื้ หา Knowledge คนหาประเด็นความรูท่นี าสนใจ จาก จํานวนชว่ั โมง ลักษณะกิจกรรม - ประเดน็ ท่ผี ูอบรมเสนอ - ประเด็นที่ Facilitator เลง็ เหน็ จากผูเขารบั การอบรม - ผลการศึกษาCBL ทีม่ ีความโดดเดน ๓ ชม. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางผูเขารับการอบรมโดยการดึง Knowledge ท่ีเป(น Good practice แลวจัดทําเป(น Explicit Knowledge (KM paper) ซ่ึงอาจ จัดเป(นกลุมใหญหรือแบงเป(นกลุมยอยโดยทีมวิทยากรพี่เล้ียงและผูเขารับการอบรม รวมกนั คนหาประเด็นความรู ชอื่ วิชา ๓) การประเมินโครงการ (AAR) วัตถุประสงค3 เพ่ือใหผูเขารับการอบรมไดประเมินโครงการท้ังในดานวชิ าการและการบริหารจัดการ และ สะทอนขอมลู /ความคิดเห็น และช้ีแจงวัตถุประสงค3ในการทํากิจกรรมตางๆ ของ ขอบเขตเน้ือหา ผูจัด (เฉลยเจตนาของผจู ัด)เพ่ือสรางความประทับใจกอนจบหลกั สูตร ใหผูเขารับการอบรมไดแสดงความคิดเห็นเพ่ือประเมินโครงการอบรม และสะทอน จาํ นวนชว่ั โมง ความรูสกึ ลกั ษณะกจกรรม ๓ ชม. ผูจัดไดช้ีแจงวัตถุประสงค3ในการทํากิจกรรมตางๆโดยอาจพิจารณารูปแบบใน การดําเนินกจิ กรรมดงั นี้ - ใหผูเขารับการอบรมอภิปรายในเบ้ืองตนโดยกลุมผูเขารับการอบรมเองและสรุป ประเด็นเสนอตอวิทยาลัยที่ดําเนินการจัดอบรม โดยเชิญวิทยาลัยฯมารับฟVงขอเสนอ ในชวงทาย หรอื - ผเู ขารับการอบรมและวิทยาลยั ฯ รวมกันอภปิ รายตั้งแตเรม่ิ กิจกรรม

21 ช่อื วชิ า ๔) สรปุ ผลการเรยี นรูตลอดหลกั สตู ร และนาํ เสนอผลการเรยี นรู วตั ถปุ ระสงค3 เพอ่ื ใหผูเขารบั การอบรมไดตกผลกึ ส่งิ ท่ีไดเรียนรู และการนาํ ไปประยกุ ต3ใช ขอบเขตเนอ้ื หา สรุปผลการเรยี นรตู ลอดหลักสูตร และนาํ เสนอผลการเรยี นรู จํานวนชวั่ โมง ๖ ชม. ลักษณะกจิ กรรม ผูเขารับการอบรมรวมกันวเิ คราะห3 สงั เคราะห3สิง่ ทไ่ี ดเรียนรูตลอดการอบรม และการ นําไปประยุกต3ใช โดยจัดทาํ เป(นเอกสารรายงานของช้นั เรียน และนาํ เสนอในวันพิธี มอบประกาศนยี บตั ร ช่อื วชิ า ๕) กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร วตั ถุประสงค3 เพื่อใหผเู ขารบั การอบรมกระชับความสัมพนั ธร3 ะหวางผเู ขารบั การอบรม และวทิ ยากร สงผลตอการสรางเครือขายการเรยี นรู ขอบเขตเน้อื หา จดั กิจกรรมเสริมหลกั สตู ร จํานวนชว่ั โมง ๔ ชม. ลักษณะกจิ กรรม ผเู ขาอบรมและวิทยากรพเี่ ลี้ยงมสี วนรวมในการจดั กจิ กรรมดงั กลาว เชน Sport day หมายเหตุ กําหนดใหมีกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามความตกลงของผูเขารับการอบรมและหนGวยงานผูจัดตาม ความเหมาะสม เพื่อเปJนการพัฒนาทักษะที่สนับสนนุ การบรหิ ารและสรางเครือขาG ย กิจกรรม ๖) พิธีมอบประกาศนยี บัตร จาํ นวนชวั่ โมง 2 ชม. ลักษณะกิจกรรม ผูเขาอบรมรับประกาศนียบัตร 10. การประเมินผลของหลกั สตู ร 10.1 การประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิ แบงเป(นภาควชิ ากร 50 คะแนน และภาคพฤติกรรม 50 คะแนน การประเมินผลภาควิชาการ 50 คะแนน ประกอบดวย 1) ทักษะการนําเสนอ “วิชาการ 5 นาที” (รายบุคคล) 10 คะแนน โดยวิทยากรพ่ีเล้ียงท่ีไดรับ มอบหมาย 2) รายงานผลการเรียนรู CBL 20 คะแนนโดยวทิ ยากรพ่เี ลี้ยงประจาํ กลมุ 3) การนาํ เสนอผลการเรยี นรู CBL 20 คะแนนโดยวิทยากรพเ่ี ลยี้ งนอกกลุม การประเมินภาคพฤติกรรม 50 คะแนน ประกอบดวย 1) กระบวนการกลุม CBL 30 คะแนน (คร้ังละ 10 คะแนน 3 คร้ัง) โดยวิทยากรพ่ีเล้ียงใหคะแนน เป(นรายคน (70% ของคะแนนในแตละครั้ง) ผเู ขาอบรมใหคะแนนในภาพรวมรายกลุม (30% ของคะแนนใน แตละคร้ัง) 2) พฤตกิ รรมรายบุคคล 20 คะแนน ประเมินโดย ผูรบั ผดิ ชอบโครงการ / วิทยากรพีเ่ ลี้ยง 10.2 การประเมินสมรรถนะทางดานรางกาย ใหผูเขารับการอบรมไดเห็นผลการเปลี่ยนแปลงของ สมรรถนะดานรางกายตนเอง (Pre – Post test) 10.3 การประเมนิ ตนเองของผูอบรม (Self Assessment) ในประเด็นครองตน ครองคน ครองงาน กอนอบรม (จัดทําและนํามาสงในวันแรกของการอบรม) ระหวางการอบรมทุกสัปดาห3 และหลังการอบรม (สัปดาหส3 ุดทาย)

22 10.4 การประเมิน Strategic Thinking Skill ในสัปดาห3แรกปละสัปดาห3สุดทายของการอบรมเพ่ือ ดพู ัฒนาการของผเู ขาอบรมในการคิดเชงิ กลยุทธ3 10.5 การประเมินผลโครงการอบรมเมื่อส้นิ สุดการอบรม 10.6 การติดตามผลผูสําเร็จการอบรม โดยวิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุขรวมกับวิทยาลัยในสังกัด สถาบนั พระบรมราชชนก ดาํ เนนิ การติดตามผลผูสาํ เร็จการอบรมในภายหลงั สรุปการประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิผูเขารบั การอบรม การประเมนิ รายการประเมิน คะแนน ผปู ระเมิน แบบประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิ 1. ทกั ษะการ 04 ภาควิชาการ นาํ เสนอ“วิชาการ 10 คะแนน วทิ ยากรพ่ีเล้ียงที่ 04 (50 คะแนน) 5 นาที” ไดรบั มอบหมาย 04 (รายบคุ คล) ภาคพฤตกิ รรม 2. รายงานผลการ 20 คะแนน วทิ ยากรพ่เี ลย้ี ง 05 (50 คะแนน) เรียนรู CBL 20 คะแนน ประจาํ กลมุ 3. การนําเสนอผล วทิ ยากรพ่ีเลย้ี ง 06 การเรียนรู CBL 30 คะแนน (ครงั้ นอกกลมุ ละ 10 คะแนน 3 - วิทยากรพ่ีเลย้ี งให 1. กระบวนการ คะแนนเป(น กลุม CBL ครง้ั ) รายบุคคล (7 คะแนนในแตคร้ัง) 2. พฤตกิ รรม 20 คะแนน - ผเู ขารับการ รายบุคคล อบรมใหคะแนนใน ภาพรวมรายกลมุ (3 คะแนน ในแต ละครงั้ ) ผูรับผดิ ชอบ โครงการ / วิทยากรพีเ่ ลย้ี ง ๑๑. การรบั รองผลการอบรม กระทรวงสาธารณสุข มอบวุฒิบัตรพรอมเขม็ วทิ ยฐานะแกผทู ีม่ ีคุณสมบัตคิ รบ ดังนี้ ๑๑.1 เป(นผูท่ไี ดรับการอนมุ ัติใหเขารับการอบรมหลักสูตรผูบริหารการสาธารณสุขระดับตน ๑๑.2 เป(นผูที่เขารวมกจิ กรรมการฝIกอบรมในแตละหมวดวิชาไมต่ํากวารอยละ 80 ของเวลาในหนวยการเรยี น นน้ั ๆ ๑๑.3 เป(นผูท่ีผานการประเมินจากสถาบันจัดอบรมทั้งภาควิชาการและภาคพฤติกรรม ไดคะแนน โดยรวมไมตํา่ กวารอยละ ๗0

23 การเตรียมความพรอมของผูเขารบั การอบรม การเตรียมตัวเพ่ือเขาอบรม ๑. มอบหมายหนาทร่ี บั ผิดชอบ/ขออนมุ ัตเิ ขาอบรม ๒. โอนเงินคาลงทะเบียน คนละ ๓๐,๐๐๐ บาท ใหวทิ ยาลัยนกั บรหิ ารสาธารณสขุ ๓. ยมื เงินทดรองราชการเป(นคาพาหนะ คาเบ้ียเลย้ี ง วนั เดินทางไป – กลับ /คาที่พักกอนวนั รายงานตัว และหลงั ปดU การอบรม ๔. เขยี น Portfolio No. ๑ และ ๒ ใหเรียบรอยกอนเขาอบรม ๕. เตรยี มเอกสารการพฒั นาทักษะการนาํ เสนอ ๕ นาที หัวขอเกย่ี วกับส่ิงที่ตนเองเช่ยี วชาญทางการ บรหิ าร (จดั ทาํ เอกสาร ๑ หนากระดาษ A ๔ ขนาดตวั อักษร ๑๖) ระเบยี บการเขาฝOกอบรม ๑. เขารบั การอบรมไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาในแตละหนวยการเรียน ๒. ไดคะแนนภาควชิ าการและภาคพฤตกิ รรมไมนอยกวารอยละ ๗๐ เอกสารประกอบการรายงานตัว 1. หนังสอื สงตัวจากตนสงั กดั 2. หลักฐานการโอนเงนิ คาลงทะเบยี นใหวทิ ยาลยั นักบริหารสาธารณสุข 3. Portfolio No. 1 และ 2 (ตองทาํ ใหเรยี บรอยกอนวนั รายงานตวั ) 4. เอกสารการพฒั นาทักษะการนําเสนอ 5 นาที หัวขอเกย่ี วกับสงิ่ ทีต่ นเองเชยี่ วชาญทางการบรหิ าร (จดั ทาํ เอกสาร 1 หนากระดาษ A 4 ขนาดตัวอักษร 16) กาํ หนดการรายงานตัว วันอาทติ ยท> ่ี 30 มถิ ุนายน 2562 เวลา 13.00 - 16.00 น. รายงานตัว ณ โรงแรมหาดใหญรามา อาํ เภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา เวลา 18.00 - 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น เวลา 19.00 - 21.00 น. กิจกรรมกลมุ สัมพนั ธ3 ของใชสวนตัวระหวางการฝOกอบรม 1. ชดุ สภุ าพสาํ หรับเขาฝIกอบรม (ไมสวมเส้อื ยืด) 2. ชดุ ศกึ ษาดูงานนอกสถานท่ี ชุดกางเกง รองเทาสุภาพ 3. ชุดกฬี าและรองเทาผาใบ สําหรบั ออกกาํ ลังกาย และทดสอบสมรรถนะทางรางกาย 4. ชุดขาราชการสีกากี (ถาม)ี 5. เสือ้ สาธารณสุขสีฟ:า 5. Notebook สวนตัว 6. ของใชสวนตัวท่จี าํ เปน( ไดแก แปรงสฟี นV ยาสฟี นV สบู แชมพู รองเทาแตะ หมวก ยาประจําตวั

24 รายละเอยี ดการเดนิ ทาง เดนิ ทางดวยเครื่องบิน สายการบนิ Thai Smaile สุวรรณภูมิ – หาดใหญ หาดใหญ – สุวรรณภูมิ 06.10 – 07.40 07.40 – 09.15 08.20 – 09.45 10.55 – 12.25 11.30 – 12.55 12.30 – 14.00 14.00 – 15.25 14.45 – 16.15 16.20 – 17.45 19.50 – 21.20 18.35 – 20.00 22.15 – 23.45 สายการบนิ Nok Air ดอนเมือง – หาดใหญ หาดใหญ – ดอนเมือง 06.00 – 07.25 07.55 – 19.20 09.20 – 10.45 11.15 – 12.40 13.10 – 14.35 15.05 – 16.30 15.25 – 16.50 05.20 – 18.45 16.20 – 17.45 19.20 – 20.45 17.15 – 18.50 21.55 – 23.15 19.55 – 21.25 สายการบิน Air Asia ดอนเมอื ง – หาดใหญ หาดใหญ – ดอนเมือง 06.40 – 08.00 07.00 – 08.25 08.00 – 09.25 08.30 – 10.00 08.55 – 10.30 09.55 – 11.20 09.50 – 11.00 11.40 – 13.00 10.10 – 11.30 12.00 – 13.20 12.15 – 13.35 15.05 – 15.40 14.10 – 15.30 16.00 – 17.20 15.35 – 17.10 17.40 – 19.05 17.50 – 19.10 19.15 – 20.40 20.05 – 21.20 19.40 – 21.05 21.15 – 22.45 21.50 – 23.15 สายการบนิ Lion Air ดอนเมอื ง – หาดใหญ หาดใหญ – ดอนเมือง 08.20 – 09.45 06.30 – 08.00 10.15 – 11.40 10.05 – 11.35 13.25 – 14.50 14.05 – 16.10 16.25 – 17.45 17.05 – 18.35

25 สายการบนิ Lion Air (ตอ) ดอนเมือง – หาดใหญ หาดใหญ – ดอนเมือง 18.20 – 19.45 19.10 – 20.40 20.35 – 22.00 22.05 – 23.35 เดินทางดวยรถไฟ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเตมิ ไดที่ น.ส.ฟาตนิ ปายอดอื ราแม นักทรัพยากรบุคคล กลมุ งานพฒั นากําลงั คน โทรศพั ท3 : 088-7914179 อเี มล [email protected] ดร.ภัคณัฐ วรี ขจร พยาบาลวชิ าชพี ชํานาญการพเิ ศษ หวั หนากลมุ งานพฒั นากําลงั คน โทรศัพท3 : 097-3589549 วิทยาลัยการสาธารณสขุ สิรนิ ธร จังหวัดยะลา ๙๑ ถนนเทศบาล ๑ ตาํ บลสะเตง อําเภอเมอื ง จงั หวัดยะลา ๙๕๐๐๐ โทรศัพท3 : ๐-๗๓๒๑-๒๘๖๓ ตอ ๑๕3 โทรสาร : ๐-๗๓๒๑-๓๒๓๔ www.yala.ac.th