กฎหมายพาณิชย์ กฎหมายพาณิชย์ คือ กฎหมายว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของบุคคล อันเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการเศรษฐกิจและการค้า โดยวางระเบียบ เกี่ยวพันทางการค้าหรือธุรกิจระหว่างบุคคล เช่น การตั้งหุ้นส่วนบริษัท การประกอบการรับขน และเรื่องเกี่ยวกับตั๋วเงิน (เช่น เช็ค) กฎหมาย ว่าด้วยการซื้อขาย การเช่าทรัพย์ การจำนอง การจำนำ เป็นต้น ในปัจจุบันกฎหมายแพ่งและกฎหมายพาณิชย์ของ ประเทศไทย ได้บัญญัติรวมเป็นกฎหมายฉบับเดียวกัน เรียกชื่อว่า “ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์” แบ่งออกเป็น 6 บรรพ คือ บรรพ 1 ว่าด้วยหลักทั่วไป บรรพ 2 ว่าด้วยหนี้ บรรพ 3 ว่าด้วยเอกเทศ สัญญา บรรพ 4 ว่าด้วยทรัพย์สิน บรรพ 5 ว่าด้วยครอบครัวและ บรรพ 6 ว่าด้วยมรดกเหตุที่ประเทศไทยมีการจัดทำประมวลกฎหมาย โ ด ย ก า ร นำ เ อ า ก ฎ ห ม า ย แ พ่ ง ม า ร ว ม กั บ ก ฎ ห ม า ย พ า ณิ ช ย์ เ ป็ น ฉ บั บ เ ดี ย ว ค ล้ า ย กั บ ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม า ย แ พ่ ง แ ล ะ พ า ณิ ช ย์ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ส วิ ส เ ซ อ ร์ แ ล น ด์ โ ด ย ไ ม่ ไ ด้ แ ย ก เ ป็ น ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม า ย แ พ่ ง เ ล่ ม ห นึ่ ง แ ล ะ ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม า ย พาณิชย์อีกเล่มหนึ่งดังเช่นประเทศเยอรมัน ฝรั่งเศส อิตาลี ญี่ปุ่น เพราะการค้าพาณิชย์ในขณะที่ร่างกฎหมายยังไม่เจริญก้าวหน้า อีกทั้ง ห ลั ก ทั่ ว ไ ป บ า ง อ ย่ า ง ใ น ก ฎ ห ม า ย แ พ่ ง ก็ ส า ม า ร ถ นำ ไ ป ใ ช้ กั บ ก ฎ ห ม า ย พาณิชย์ได้ ความจำเป็นที่จะต้องแยกกฎหมายพาณิชย์ออกจากกฎหมาย แ พ่ ง โ ด ย จั ด ทำ เ ป็ น ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม า ย ค น ล ะ เ ล่ ม กั น จึ ง ยั ง ไ ม่ มี ค ว า ม จำ เ ป็ น เท่าใดนักในขณะนั้น
มาตราบุคคล มาตรา ๑๕ ส ภ า พ บุ ค ค ล ย่ อ ม เ ริ่ ม แ ต่ เ มื่ อ ค ล อ ด แ ล้ ว อ ยู่ ร อ ด เ ป็ น ท า ร ก แ ล ะ สิ้นสุดลงเมื่อตายทารกในครรภ์มารดาก็สามารถมีสิทธิต่าง ๆ ได้ หากว่าภายหลังคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก มาตรา ๑๖ การนับอายุของบุคคล ให้เริ่มนับแต่วันเกิด ในกรณีที่รู้ว่า เกิดในเดือนใดแต่ไม่รู้วันเกิด ให้นับวันที่หนึ่งแห่งเดือนนั้น เป็นวันเกิด แต่ถ้าพ้นวิสัยที่จะหยั่งรู้เดือนและวันเกิดของ บุคคลใด ให้นับอายุบุคคลนั้นตั้งแต่วันต้นปีปฏิทิน ซึ่งเป็นปี ที่บุคคลนั้นเกิด มาตรา ๑๗ ในกรณีบุคคลหลายคนตายในเหตุภยันตรายร่วมกัน ถ้า เป็นการพ้นวิสัยที่จะกำหนดได้ว่าคนไหนตายก่อนหลัง ให้ ถือว่าตายพร้อมกัน มาตรา ๑๘ สิทธิของบุคคลในการที่จะใช้นามอันชอบที่จะใช้ได้นั้น ถ้ามี บุคคลอื่นโต้แย้งก็ดี หรือบุคคลผู้เป็นเจ้าของนามนั้นต้อง เสื่อมเสียประโยชน์เพราะการที่มีผู้อื่นมาใช้นามเดียวกันโดย มิได้รับอำนาจให้ใช้ได้ก็ดี บุคคลผู้เป็นเจ้าของนามจะเรียกให้ บุคคลนั้นระงับความเสียหายก็ได้ ถ้าและเป็นที่พึงวิตกว่าจะ ต้องเสียหายอยู่สืบไป จะร้องขอต่อศาลให้สั่งห้ามก็ได้
มาตรานิติกรรม มาตรา ๑๔๙ “นิติกรรม หมายความว่า การใด ๆ อันทําลงโดยชอบด้วย กฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่ง โดยตรงต่อการผูกนิติ สัมพันธ์ขึนระหว่างบุคคล เพือ จะก่อ เปลียนแปลง โอน สงวนหรือระงับซึงสิทธิ มาตรา ๑๕๐ การใดที่วัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดย กฎหมาย เ ป็ น ก า ร พ บ วิ สั ย ห รื อ ก า ร ขั ด ต่ อ ค ว า ม ส ง บ เ รี ย บ ร้ อ ย ห รื อ ศี ล ธ ร ร ม อั น ดี ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ก า ร นั้ น เ ป็ น โ ม ฆ ะ มาตรา ๑๕๑ การใดเป็นการแตกต่างกับบทบัญญัติของกฎหมาย ถ้ามิใช่ กฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชน การนั้นไม่เป็นโมฆะ มาตรา ๑๕๒ การใดมิได้ทำให้ถูกต้องตามที่กฎหมายบังคับไว้ การนั้นเป็น โมฆะ
มาตราสัญญา มาตรา ๓๖๑ อันสัญญาระหว่างบุคคลซึ่งอยู่ห่างกันโดยระยะทางนั้น ย่อมเกิดเป็น สัญญาขึ้นแต่เวลาเมื่อคำบอกกล่าวสนองไปถึงผู้เสนอ ถ้าตามเจตนาอันผู้ เสนอได้แสดง หรือตามปกติประเพณีไม่จำเป็นจะต้องมีคำบอกกล่าวสนอง ไซร้ ท่านว่าสัญญานั้นเกิดเป็นสัญญาขึ้นในเวลาเมื่อมีการอันใดอันหนึ่งขึ้น อั น จ ะ พึ ง สั น นิ ษ ฐ า น ไ ด้ ว่ า เ ป็ น ก า ร แ ส ด ง เ จ ต น า ส น อ ง รั บ มาตรา ๓๖๒ บุคคลออกโฆษณาให้คำมั่นว่าจะให้รางวัลแก่ผู้ซึ่งกระทำการอันใด ท่านว่า จำต้องให้รางวัลแก่บุคคลใด ๆ ผู้ได้กระทำการอันนั้น แม้ถึงมิใช่ว่าผู้นั้นจะ ได้กระทำเพราะเห็นแก่รางวัล มาตรา ๓๖๓ ในกรณีที่กล่าวมาในมาตราก่อนนี้ เมื่อยังไม่มีใครทำการสำเร็จดังบ่งไว้ นั้นอยู่ตราบใด ผู้ให้คำมั่นจะถอนคำมั่นของตนเสียโดยวิธีเดียวกับที่โฆษณา นั้นก็ได้ เว้นแต่จะได้แสดงไว้ในโฆษณานั้นว่าจะไม่ถอน ถ้าคำมั่นนั้นไม่อาจ จะถอนโดยวิธีดังกล่าวมาก่อน จะถอนโดยวิธีอื่นก็ได้ แต่ถ้าเช่นนั้นการ ถอนจะเป็นอันสมบูรณ์ใช้ได้เพียงเฉพาะต่อบุคคลที่รู้ ถ้าผู้ให้คำมั่นได้ กำหนดระยะเวลาให้ด้วยเพื่อทำการอันบ่งนั้นไซร้ ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อน ว่าผู้ให้คำมั่นได้สละสิทธิที่จะถอนคำมั่นนั้นเสียแล้ว มาตรา ๓๖๔ ถ้าบุคคลหลายคนกระทำการอันบ่งไว้ในโฆษณา ท่านว่าเฉพาะแต่คนที่ทำได้ ก่อนใครหมดเท่านั้น มีสิทธิจะได้รับรางวัล ถ้าบุคคลหลายคนกระทำการ อันนั้นได้พร้อมกัน ท่านว่าแต่ละคนมีสิทธิจะได้รับรางวัลเป็นส่วนแบ่งเท่า ๆ กัน แต่ถ้ารางวัลนั้นมีสภาพแบ่งไม่ได้ก็ดี หรือถ้าตามข้อความแห่งคำมั่น นั้น บุคคลแต่คนเดียวจะพึงรับรางวัลก็ดี ท่านให้วินิจฉัยด้วยวิธีจับสลาก บทบัญญัติดังกล่าวมาในวรรคทั้งสองข้างต้นนั้น ท่านมิให้ใช้บังคับถ้าใน โ ฆ ษ ณ า นั้ น แ ส ด ง เ จ ต น า ไ ว้ เ ป็ น อ ย่ า ง อื่ น
มาตราหนี้ มาตรา ๒๐๓ ถ้าเวลาอันจะพึงชำระหนี้นั้นมิได้กำหนดลงไว้ หรือจะอนุมาน จากพฤติการณ์ทั้งปวงก็ไม่ได้ไซร้ ท่านว่าเจ้าหนี้ย่อมจะเรียกให้ ชำระหนี้ได้โดยพลัน และฝ่ายลูกหนี้ก็ย่อมจะชำระหนี้ของตนได้ โดยพลันดุจกัน ถ้าได้กำหนดเวลาไว้ แต่หากกรณีเป็นที่สงสัย ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเจ้าหนี้จะเรียกให้ชำระหนี้ก่อนถึงเวลา นั้นหาได้ไม่ แต่ฝ่ายลูกหนี้จะชำระหนี้ก่อนกำหนดนั้นก็ได้ มาตรา ๒๐๔ ถ้าหนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว และภายหลังแต่นั้นเจ้าหนี้ได้ให้คำ เตือนลูกหนี้แล้ว ลูกหนี้ยังไม่ชำระหนี้ไซร้ ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัด เพราะเขาเตือนแล้ว ถ้าได้กำหนดเวลาชำระหนี้ไว้ตามวันแห่ง ปฏิทิน และลูกหนี้มิได้ชำระหนี้ตามกำหนดไซร้ ท่านว่าลูกหนี้ตก เป็นผู้ผิดนัดโดยมิพักต้องเตือนเลย วิธีเดียวกันนี้ท่านให้ใช้ บังคับแก่กรณีที่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าก่อนการชำระหนี้ ซึ่งได้ กำหนดเวลาลงไว้อาจคำนวณนับได้โดยปฏิทินนับแต่วันที่ได้บอก กล่าว มาตรา ๒๐๕ ตราบใดการชำระหนี้นั้นยังมิได้กระทำลงเพราะพฤติการณ์อันใด อันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนี้ยังหาได้ชื่อว่า ผิดนัดไม่ มาตรา ๒๐๖ ในกรณีหนี้อันเกิดแต่มูลละเมิด ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัดมาแต่ เวลาที่ทำละเมิด
มาตราซื้อขาย มาตรา ๔๕๓ “อันว่าซื้อขายนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่งเรียกว่าผู้ขาย โอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกฝ่ายหนึ่งเรียกว่าผู้ซื้อ และผู้ซื้อตกลงว่าจะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ขาย” มาตรา ๔๕๔ การที่คู่กรณีฝ่ายหนึ่งให้คำมั่นไว้ก่อนว่าจะซื้อหรือขายนั้น จะมีผลเป็นการ ซื้อขายต่อเมื่ออีกฝ่ายหนึ่งได้บอกกล่าวความจำนงว่าจะทำการซื้อขายนั้นให้ สำเร็จตลอดไป และคำบอกกล่าวเช่นนั้นได้ไปถึงบุคคลผู้ให้คำมั่นแล้ว ถ้า ในคำมั่นมิได้กำหนดเวลาไว้เพื่อการบอกกล่าวเช่นนั้นไซร้ ท่านว่าบุคคลผู้ให้ คำมั่นจะกำหนดเวลาพอสมควร และบอกกล่าวไปยังคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งให้ ตอบมาเป็นแน่นอนภายในเวลากำหนดนั้นก็ได้ ว่าจะทำการซื้อขายให้สำเร็จ ตลอดไปหรือไม่ ถ้าและไม่ตอบเป็นแน่นอนภายในกำหนดเวลานั้นไซร้ คำ มั่ น ซึ่ ง ไ ด้ ใ ห้ ไ ว้ ก่ อ น นั้ น ก็ เ ป็ น อั น ไ ร้ ผ ล มาตรา ๔๕๕ เมื่อกล่าวต่อไปเบื้องหน้าถึงเวลาซื้อขาย ท่านหมายความว่า เวลาซึ่งทำสัญญาซื้อขายสำเร็จบริบูรณ์ มาตรา ๔๕๖ การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ถ้ามิได้ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อ พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นโมฆะ วิธีนี้ให้ใช้ถึงซื้อขายเรือมีระวางตั้งแต่ห้าตัน ขึ้นไป ทั้งซื้อขายแพและสัตว์พาหนะด้วย สัญญาจะขายหรือจะซื้อ หรือ คำมั่นในการซื้อขายทรัพย์สินตามที่ระบุไว้ในวรรคหนึ่ง ถ้ามิได้มีหลักฐาน เ ป็ น ห นั ง สื อ อ ย่ า ง ห นึ่ ง อ ย่ า ง ใ ด ล ง ล า ย มื อ ชื่ อ ฝ่า ย ผู้ ต้ อ ง รั บ ผิ ด เ ป็ น สำ คั ญ หรือได้วางประจำไว้ หรือได้ชำระหนี้บางส่วนแล้ว จะฟ้องร้ให้บังคับคดีหา ได้ไม บทบัญญัติที่กล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ให้ใช้บังคับถึงสัญญาซื้อขาย สังหาริมทรัพย์ซึ่งตกลงกันเป็นราคาสองหมื่นบาท หรือกว่านั้นขึ้นไปด้วย
มาตราเช่าทรัพย์ มาตรา ๕๓๗ หมายถึงการเช่าทรัพย์สินที่มีรูปร่าง ได้แก่ อสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์ต่าง ๆ รวมถึงสิทธิต่าง ๆ ที่ไม่มีรูปร่าง เช่น ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร สิทธิในเครื่องหมายการค้า เป็นต้น มาตรา ๕๓๘ เช่าอสังหาริมทรัพย์นั้น ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่ง อย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดเป็นสำคัญ ท่านว่าจะฟ้อง ร้องให้บังคับคดีหาได้ไม่ ถ้าเช่า มีกำหนดกว่าสามปีขึ้นไป หรือ กำหนดตลอดอายุของผู้เช่าหรือผู้ให้เช่าไซร้ หากมิได้ทำเป็น หนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ท่านว่าการเช่านั้น จ ะ ฟ้อ ง ร้ อ ง ใ ห้ บั ง คั บ ค ดี ไ ด้ แ ต่ เ พี ย ง ส า ม ปี มาตรา ๕๓๙ ค่าฤชาธรรมเนียมทำสัญญาเช่านั้น คู่สัญญาพึงออกใช้เสมอ กัน ทั้งสองฝ่าย มาตรา ๕๔๐ อันอสังหาริมทรัพย์ ท่านห้ามมิให้เช่ากันเป็นกำหนดเวลาเกินกว่า สามสิบปี ถ้าได้ทำสัญญากันไว้เป็นกำหนดเวลานานกว่านั้นท่านก็ ให้ลดลงมาเป็นสามสิบปี อนึ่งกำหนดเวลาเช่าดังกล่าวมานี้ เมื่อ สิ้นลงแล้วจะต่อสัญญาอีกก็ได้ แต่ต้อง อย่าให้เกินสามสิบปีนับ แต่วันต่อสัญญา
มาตราเช่าซื้อ มาตรา ๕๗๒ อันว่าเช่าซื้อนั้น คือสัญญาซึ่งเจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้ เช่า และให้คำมั่นว่าจะขายทรัพย์สินนั้นหรือว่าจะให้ทรัพย์สิน นั้นตกเป็นสิทธิแก่ผู้เช่า โดยเงื่อนไขที่ผู้เช่าได้ใช้เงินเป็น จำนวนเท่านั้นเท่านี้คราว มาตรา ๕๗๓ ผู้เช่าจะบอกเลิกสัญญาในเวลาใดเวลาหนึ่งก็ได้ด้วยส่งมอบ ทรัพย์สินกลับคืนให้แก่เจ้าของโดยเสียค่าใช้จ่ายของตนเอง มาตรา ๕๗๔ ในกรณีผิดนัดไม่ใช้เงินสองคราวติด ๆ กัน หรือกระทำผิด สัญญาในข้อที่เป็นส่วนสำคัญ เจ้าของทรัพย์สินจะบอกเลิก สัญญาเสียก็ได้ ถ้าเช่นนั้นบรรดาเงินที่ได้ใช้มาแล้วแต่ก่อน ใ ห้ ริ บ เ ป็ น ข อ ง เ จ้ า ข อ ง ท รั พ ย์ สิ น แ ล ะ เ จ้ า ข อ ง ท รั พ ย์ สิ น ช อ บ ที่ จะกลับเข้าครองทรัพย์สินนั้นได้ด้วย
มาตราจ้างแรงงาน มาตรา ๕๗๕ อันว่าจ้างแรงงานนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ลูกจ้าง ตกลงจะทำงานให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่านายจ้าง และนายจ้างตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทำงานให้ มาตรา ๕๗๖ ถ้ า ต า ม พ ฤ ติ ก า ร ณ์ ไ ม่ อ า จ จ ะ ค า ด ห ม า ย ไ ด้ ว่ า ง า น นั้ น จ ะ พึ ง ทำ ใ ห้ เปล่าไซร้ ท่านย่อมถือเอาโดยปริยายว่ามีคำมั่นจะให้สินจ้าง มาตรา ๕๗๗ นายจ้างจะโอนสิทธิของตนให้แก่บุคคลภายนอกก็ได้เมื่อลูกจ้าง ยินยอมพร้อมใจด้วย ลูกจ้างจะให้บุคคลภายนอกทำงานแทนตน ก็ได้เมื่อนายจ้างยินยอมพร้อมใจด้วย ถ้าคู่สัญญาฝ่ายใดทำการ ฝ่าฝืนบทบัญญัตินี้ คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งจะบอกเลิกสัญญาเสีย ก็ได้ มาตรา ๕๗๘ ถ้ า ลู ก จ้ า ง รั บ ร อ ง โ ด ย แ ส ด ง อ อ ก ชั ด ห รื อ โ ด ย ป ริ ย า ย ว่ า ต น เ ป็ น ผู้ มี ฝีมือพิเศษ หากมาปรากฏว่าไร้ฝีมือเช่นนั้นไซร้ ท่านว่านายจ้าง ชอบที่จะบอกเลิกสัญญาเสียได้
มาตราจ้างทำของ มาตรา ๕๘๗ อันว่าจ้างทำของนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่าผู้รับ จ้าง ตกลงจะทำการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสำเร็จให้แก่บุคคลอีก คนหนึ่ง เรียกว่าผู้ว่าจ้าง และผู้ว่าจ้างตกลงจะให้สินจ้างเพื่อผล สำเร็จแห่งการที่ทำน มาตรา ๕๘๘ เครื่องมือต่าง ๆ สำหรับใช้ทำการงานให้สำเร็จนั้นผู้รับจ้าง เ ป็ น ผู้ จั ด ห า มาตรา ๕๘๙ ถ้ า สั ม ภ า ร ะ สำ ห รั บ ทำ ก า ร ง า น ที่ ก ล่ า ว นั้ น ผู้ รั บ จ้ า ง เ ป็ น ผู้ จั ด ห า ท่านว่าต้องจัดหาชนิดที่ดี มาตรา ๕๙๐ ถ้าสัมภาระนั้นผู้ว่าจ้างเป็นผู้จัดหามาส่ง ท่านให้ผู้รับจ้างใช้ สัมภาระด้วยความระมัดระวังและประหยัดอย่าให้เปลืองเสียเปล่า เมื่อทำการงานสำเร็จแล้ว มีสัมภาระเหลืออยู่ก็ให้คืนแก่ผู้ว่าจ้าง
มาตรารับทำของ มาตรา ๖๑๐ อั น บุ ค ค ล ผู้ ทำ ค ว า ม ต ก ล ง กั บ ผู้ ข น ส่ ง เ พื่ อ ใ ห้ ข น ข อ ง ส่ ง ไ ป นั้ น เรียกว่าผู้ส่ง หรือผู้ตราส่ง บุคคลผู้ซึ่งเขาส่งของไปถึงนั้น เรียกว่าผู้รับตราส่ง บำเหน็จอันจะต้องจ่ายให้เพื่อการขนส่งของ นั้น เรียกว่าค่าระวางพาหนะ มาตรา ๖๑๑ อันว่าอุปกรณ์แห่งค่าระวางพาหนะนั้น ได้แก่ค่าใช้จ่ายอย่างใด ๆ ตามจารีตประเพณีอันผู้ขนส่งได้เสียไปโดยควรในระหว่างขนส่ง มาตรา ๖๑๒ ถ้าผู้ขนส่งเรียกเอาใบกำกับของ ผู้ส่งต้องทำให้ ฝใบกำกับของ นั้นต้องแสดงรายการต่อไปนี้ คือ (๑) สภาพและน้ำหนัก หรือ ขนาดแห่งของที่ส่ง กับสภาพ จำนวน และเครื่องหมายแห่ง หีบห่อ(๒) ตำบลที่กำหนดให้ส่ง(๓) ชื่อหรือยี่ห้อ และสำนักของ ผู้รับตราส่ง (๔) ตำบลและวันที่ออกใบกำกับของนั้น อนึ่งใบ กำ กั บ ข อ ง นั้ น ต้ อ ง ล ง ล า ย มื อ ชื่ อ ผู้ ส่ ง เ ป็ น สำ คั ญ มาตรา ๖๑๓ ถ้าผู้ส่งเรียกเอาใบตราส่ง ผู้ขนส่งก็ต้องทำให้ใบตราส่งนั้นต้อง แสดงรายการต่อไปนี้ คือ (๑) รายการดังกล่าวไว้ในมาตรา ๖๑๒ อนุมาตรา ๑, ๒ และ ๓(๒) ชื่อหรือยี่ห้อของผู้ส่ง (๓) จำนวนค่าระวางพาหนะ (๔) ตำบลและวันที่ออกใบตราส่ง อ นึ่ ง ใ บ ต ร า ส่ ง นั้ น ต้ อ ง ล ง ล า ย มื อ ชื่ อ ผู้ ข น ส่ ง เ ป็ น สำ คั ญ
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: