\"...พระเจ้าอยหู่ วั เป็นน้า ข้าพเจ้าจะเป็นป่า ปา่ ท่ีมคี วามจงรกั ภักดตี ่อน้า...\" ปจั จุบันพน้ื ที่ปา่ ไม้ มจี านวนลดน้อยถอยลง เปน็ ส่วนหน่งึ ของปญั หานอกจากเกิดจากภัยธรรมชาติ แล้วยังเกิดจากการลักลอบตัดไม้ทาลายป่า และมีจานวนไม่น้อยของการลักลอบตัดไม้ทาลายป่า ที่เกิดจากความยากจนของราษฎร พระราชกระแสในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงห่วงใยปัญหานี้ และทรงวิตกว่า ประเทศชาติกาลังสูญเสีย ทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญไป พระองค์จึงพระราชทานพระราชดาริ ให้จัดตั้งโครงการท่ีจะช่วยเหลือ ราษฎรที่ทุกข์ยากเหล่าน้ีได้มีอาชีพที่สุจริต มีรายได้เพื่อประทังชีวิต โดยไม่ตัดไม้ทาลายป่าอีกต่อไป ซงึ่ โครงการนี้ คอื “โครงการปา่ รกั น้า” โครงการป่ารักน้า เริ่มทดลองเป็นครั้งแรก ที่บ้านน้าติ้ว ตาบลส่องดาว อาเภอส่องดาว จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2525 เป็นโครงการเพื่อปลูกป่า ด้วยพันธ์ุไม้ที่เติบโตเร็ว โดยราษฎรเป็นผู้ลงแรงปลูกและดูแลบารุงเล้ียง บนพ้ืนดินที่ทรงซ้ือ และทรงเช่าพระราชทาน รวมทั้งเงินเดือนท่ีพระราชทานแก่ราษฎรผู้ยากจน ที่เข้าโครงการ
“…ขา้ พเจ้านนั ภมู ใิ จเสมอมาวา่ คนไทยมีสายเลือดของชา่ งฝีมอื อยทู่ กุ คน ไม่วา่ จะเป็นชาวไร่ ชาวนา หรืออาชพี ใด อยสู่ ารทศิ ใด คนไทยมีความละเอียดออ่ นและฉบั ไวตอ่ การรับศิลปะทกุ ชนดิ ขอเพียงแตใ่ หเ้ ขาได้มีโอกาสฝึกฝน เขากจ็ ะแสดงความสามารถออกมาให้เห็น…” สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงมีพระราชดาริ ท่ีจะส่งเสริมให้ราษฎรไทยมีอาชีพหัตถกรรมเพื่อเป็นอาชีพเสริมให้แก่ชาวนา ชาวไร่ ผู้เป็นพลเมือง ส่วนใหญ่ของประเทศ แต่มีรายได้น้อย เพราะต้องเผชิญอุปสรรคในการเพาะปลูกอันเนื่องมาจาก สภาพดิน ฟ้า อากาศท่ีปรวนแปรอยู่เสมอ ทาให้รายได้จากผลผลิตไม่เพียงพอเล้ียงครอบครัว ในขณะเดียวกันศิลป-หัตถกรรม อันเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติไทยซึ่งได้ชื่อว่าเคยเจริญรุ่งเรือง มาแต่ในสมัยโบราณกาลงั จะเส่อื มสูญไป สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงจึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ก่อต้ัง มูลนิธิศิลปาชีพในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ข้ึนเมื่อ วันท่ี 21 กรกฎาคม 2519 และต่อมาเม่ือปี พ.ศ. 2522 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้ง โรงฝึกศลิ ปาชีพแขนงตา่ ง ๆ และทรงขยายโรงฝึกศนู ย์ศลิ ปาชีพในภูมิภาคต่าง ๆ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงทรงสนพระราชหฤทัย ในด้านการศึกษา และทรงยึดมั่นในคาสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า \"ปัญญาท้าให้มนุษย์ เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์\" สติปัญญาเกิดข้ึนได้ด้วยการศึกษาหาความรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จากการอา่ นหนังสอื พระราชกรณียกิจด้านการศึกษานานัปการทพี่ ระราชทานแกพ่ สกนกิ รชาวไทย ทรงส่งเสริมการศึกษาในระบบโรงเรียน เช่น พระราชทานทุนการศึกษาแก่นักเรียน สร้างโรงเรียนพระราชทาน พระราชทรัพย์อุดหนุนโรงเรียน พระราชทานอุปกรณ์การเรียน ทรงรับโรงเรียนไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียมโรงเรียน เป็นต้น ด้านการศึกษานอกโรงเรียน เช่น ทรงสอนหนังสือชาวบ้าน ทรงสร้างศาลาร่วมใจ ทรงส่งเสริม การอาชีวศึกษา ทรงอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และพัฒนางานศิลปาชีพ นอกจากน้ี ยังทรงส่งเสริมการศึกษา ของพระภิกษุสามเณร และทรงรบั มูลนิธิแม่ชไี ทยไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เปน็ ตน้
\"...ไดท้ รงเลือกสรรประสบผู้ทสี่ มควรแกก่ ารสนองพระยคุ ลบาทร่วมทุกข์ แบ่งเบาพระราชภาระในภายภาคหนา้ ...\" ในด้านการสาธารณสุข นอกจากทรงช่วยเหลือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนโดยจัด “หน่วยแพทย์ พระราชทาน” ตามเสด็จไปรักษาพยาบาลราษฎรในถิ่นทุรกันดารแล้ว ยังทรงช่วยเหลือ กลุ่มผู้ประสบภัยธรรมชาติ ทรงช่วยเหลือทหาร ตารวจ และราษฎรอาสาสมัครตามชายแดน ทรงริเร่ิม จดั ต้ังมูลนิธิสายใจไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในกรณีที่ทรงพบราษฎรเจ็บป่วยก็จะทรงรับไว้เป็นคนไข้ ในพระบรมราชานเุ คราะห์ ทรงอปุ ถมั ภอ์ งค์กรการกุศล สมาคม มูลนธิ ติ า่ ง ๆ เป็นจานวนมาก
ในดา้ นศลิ ปวัฒนธรรม มกี ารอนรุ กั ษ์ สืบสาน ภูมปิ ญั ญามรดกวฒั นธรรมแขนงต่าง ๆ ในแผ่นดินไทย ให้คงอยู่โดยเฉพาะ “โขน” ซึ่งเป็นศิลปะการแสดงช้ันสูงของไทยและยังเป็นมหรสพหลวง ที่รุ่งเรืองมาช้านาน ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล มีพระราชเสาวนีย์ให้ศึกษาค้นคว้าการแสดงโขน ตามแบบโบราณราชประเพณี พร้อมฟื้นฟูองค์ความรู้ในการสร้างเคร่ืองแต่งกายโขน ให้งดงาม ตามธรรมเนียมเดิม โปรดเกล้าฯ ให้ผู้เชี่ยวชาญและศิลปินในสาขาท่ีเก่ียวข้อง ศึกษาข้อมูล และ หลักฐานเก่ียวกับเคร่ืองแต่งกายโขนละครโบราณอย่างละเอียด เพ่ือจัดสร้างเคร่ืองแต่งกาย โขนละครข้ึนใหม่ ตลอดจนพัฒนาศิลปะการแสดงหนา้ โขนละครใหม้ คี วามรว่ มสมยั โขนพระราชทาน เรื่อง รามเกียรติ์ ชุดศึกพรหมาศ เมื่อพุทธศักราช 2552 จึงเป็นปฐมบท แห่งโขนพระราชทานท่ีประสบความสาเร็จ ได้รับความชื่นชมในเร่ืองความงดงามของเครื่องแต่งกาย ความวิจิตรตระการตาของฉากและเทคนิคต่าง ๆ กระบวนการรังสรรค์เครื่องโขนที่เต็มไปด้วย รายละเอียดและเกือบสูญสลายไปตามกาลเวลาให้กลับมาเฉิดฉายอีกครั้ง นาไปสู่การแสดงโขน พระราชทานอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ด้วยพระอัจฉริยภาพ พระวิสัยทัศน์ ในการสนับสนุนส่งเสริม การแสดงโขน ทาใหโ้ ขนเปน็ ท่รี ู้จักและชนื่ ชมไปทว่ั โลก องคก์ ารการศกึ ษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศข้ึนทะเบียนโขนไทยเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ของมนษุ ยชาติ เมื่อเดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช 2561
1. สยามรฐั . “สมเดจ็ พระบรมราชชนนพี ันปีหลวง” พระอจั ฉรยิ ภาพฟนื้ ฟูเครือ่ งแต่งกายโขน-ศิลปาชพี [ออนไลน์]. 2563, แหล่งที่มา : https://siamrath.co.th/n/174083 [5 สงิ หาคม 2565] ๒. มูลนิธิมัน่ พัฒนา. โครงการศลิ ปาชีพ (พ.ศ. 2519) [ออนไลน์]. 2563, แหลง่ ทม่ี า : http://www.tsdf.nida.ac.th/th/royally-initiated-projects/10218-โครงการศิลปาชพี -พศ-251 9/ [5 สิงหาคม 2565] ๓. สถาบนั พยาธิวิทยา. พระราชกรณียกจิ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราช ชนนพี นั ปีหลวง [ออนไลน์]. 2563, แหล่งท่ีมา : https://www.iop.or.th/page/37#:~:text=ดา้ นการสาธารณสุข%20ในด้าน,กรณีทท่ี รงพบราษฎร [5 สิงหาคม 2565] ๔. กระปุก. พระราชกรณียกจิ ดา้ นการศกึ ษา [ออนไลน์]. 2563, แหลง่ ท่มี า : https://queen.kapook.com/queen_activity07.php#:~:text=สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ%20 พระบรมราชนิ ีนาถ%20จะใช้วิธ,ี เรยี นดกี ็จะพระราชทาน [5 สงิ หาคม 2565]
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: