Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore introweb2

introweb2

Published by wiraya_srikarw, 2019-02-20 21:03:41

Description: introweb2

Search

Read the Text Version

London San Jose Hong Kong Thailand Sydney 1

ระบบอินเตอร์เน็ต

อินเตอร์เน็ต (Internet) มาจาก คาว่า Inter Connection Network หมายถึงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่เป็ นเครือข่ายใหญ่ และเครือข่ายยอ่ ย จานวนมากเช่ือมต่อกนั เป็นจานวน หลายร้อยลา้ นเคร่ือง ซ่ึงใชใ้ นการติดต่อส่ือสารขอ้ มูล ที่เป็ นรูปภาพ ข้อความ และเสียง โดยผ่านระบบ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ท่ีมีผใู้ ชง้ านกระจายอยทู่ ว่ั โลก

ประวตั ิความเป็นมา

อินเทอร์เน็ต มีจุดเร่ิมตน้ มาจากเหตุผลทางการทหาร เนื่องจาก ในยคุ สงครามเยน็ เมื่อประมาณ พ.ศ.2510 (ค.ศ. 1969) ระหวา่ งฝ่ าย คอมมิวนิสต์ และฝ่ ายเสรีประชาธิปไตย ซ่ึงนาโดยสหรัฐอเมริกา โดยต่างฝ่ าย ต่างกก็ ลวั ขีปนาวธุ ของอีกฝ่ ายหน่ึง โดยผนู้ า สหรัฐอเมริกา วติ กวา่ ถา้ หากทางฝ่ ายรัฐเซีย ยงิ ขีปนาวธุ นิวเคลียร์ เขา้ มา ถล่มจุดยทุ ธศาสตร์บางจุดของตนเองข้ึนมา อาจจะทาให้ คอมพวิ เตอร์ ที่เช่ือมต่อกนั เสียหายได้ จึงไดส้ ง่ั ใหม้ ีการวจิ ยั เพอื่ สร้างเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ชนิดใหม่ข้ึนมา เพ่ือป้องกนั ความ เสียหาย โดยมีจุดประสงคว์ า่ ถา้ คอมพิวเตอร์เครื่องใดเคร่ืองหน่ึง ถูกทาลาย แต่เครื่องอื่นกจ็ ะตอ้ งใชง้ านต่อไปได้ หน่วยงานท่ีทา หนา้ ที่ดูแลระบบเครือข่าย

ในขณะน้นั มีช่ือวา่ ARPA (Advanced Research Projects Agency) ดงั น้นั ชื่อเครือขา่ ยในขณะน้นั จึงถูกเรียกวา่ ARPANET ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 เครือข่ายขยายใหญ่โต เพิ่มมากข้ึน จากการระดม นกั วิจยั เพ่อื สร้างมาตรฐาน ใหม่ข้ึนมา เพื่อความเหมาะสม จึงไดม้ าตรฐาน TCP/IP และนอกจาก ประโยชน์ดา้ นงานวิจยั และทางทหารแลว้ ยงั ไดน้ ามาใชป้ ระโยชน์ทางดา้ น ธุรกิจ และการพาณิชยอ์ ีกดว้ ย ต่อมาในปี พ.ศ.2532ไดเ้ ปลี่ยนช่ือเป็นเครือขา่ ย อินเทอร์เน็ต และนามาใชป้ ระโยชน์ ในการติดต่อขอ้ มูลขา่ วสารมากมาย สาหรับในประเทศไทยไดม้ ีการเร่ิมตน้ ติดต้งั ระบบอินเทอร์เน็ต เป็นคร้ังแรก ท่ีมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เพื่อใชใ้ นการศึกษาของ มหาวทิ ยาลยั โดยติดต่อกบั สถาบนั เทคโนโลยแี ห่งเอเชีย โดยเช่ือมต่อเครื่อง มินิคอมพิวเตอร์ เพื่อรับส่งจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ กบั มหาวทิ ยาลยั เมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ในปี พ.ศ.2530

ต่อมากระทวงวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละพลงั งาน ไดม้ อบหมายให้ ศูนย์ เทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ(NECTEC) ใหท้ ุน สนบั สนุน แก่สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั เพ่อื ศึกษา เช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ของสถาบนั การศึกษาของรัฐ โดยมีช่ือวา่ เครือข่ายไทยสาร (Thai Social/Scientific Academic and Research Network : ThaiSARN) และมหาวทิ ยาลยั ดา้ นวิทยาศาสตร์ 12 แห่งเขา้ เป็นเครือขา่ ย เดียวกนั เมื่อ พ.ศ. 2531 หลงั จากน้นั จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ไดเ้ ป็นเกตเวย์ อินเทอร์เน็ต ในประเทศไทยและเร่ิมใหบ้ ริการทางอินเทอร์เน็ตเตม็ รูปแบบ ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 และต่อมาเม่ือปี พ.ศ.2537 การสื่อสารแห่งประเทศไทย ร่วมลงทุนกบั หน่วยงานของรัฐ และเอกชน เปิ ดใหบ้ ริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ 2 รายคือบริษทั อินเทอร์เน็ตประเทศ ไทย จากดั และบริษทั อินเทอร์เน็ต คอมเมอร์เชียล แอนดโ์ นวเ์ ลจเซอร์วสิ จากดั ภายหลงั เปลี่ยนชื่อเป็น KSC คอมเมอร์เชียลอินเทอร์เน็ต จากดั

ThaiSarn ในระยะแรก มหาวิยาลัยสงขลานครินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบนั เทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีการบริการอนิ เทอร์เน็ตเชิง พาณิชย์ขนึ้ โดยบริษทั อนิ เทอร์เน็ตไทยแลนด์ (Internet Thailand) เป็ นผู้ให้บริการอนิ เทอร์เน็ต (Internet Service Provider: ISP) เป็ นบริษัทแรก

Internet Service Provider (ISP) • ISP หรือ Internet Service Provider คือ หน่วยงานหรือบริษทั ฯ ท่ี ใหบ้ ริการอินเตอร์เน็ต ซ่ึงในประเทศไทยจะมีเพียงไม่ก่ีรายเท่าน้นั โดยจะแบ่งแยกการใหบ้ ริการอินเตอร์เน็ตหลกั ๆ ออกเป็น 2 ประเภท คือ อินเตอร์เน็ตตามบา้ น และ อินเตอร์เน็ตสาหรับหน่วยงานทาง ธุรกิจและองคก์ รต่างๆ 10

• การใช้งานอนิ เตอร์เน็ตตามบ้าน • อินเตอร์เน็ตตามบา้ นส่วนใหญ่จะใชเ้ พื่อการบนั เทิง เช่น การเล่น Facebook ดู Youtube เป็นตน้ หรือ อาจจะมีการพว่ งต่อไปยงั กลอ้ ง CCTV ซ่ึงเป็นที่ นิยมในปัจจุบนั โดยผใู้ หบ้ ริการหลกั จะในกรุงเทพฯ จะเป็น TRUE ใน กรุงเทพฯ และ ต่างจงั หวดั TOT และ 3BB เป็นตน้ โดยสายนาสญั ญาณมา ตามบา้ นอาจจะเป็นสายโทรศพั ท์ (ADSL) หรือ สายใยแกว้ นาแสง ที่ ปัจจุบนั มีราคาถูกลงมาก 11

การใช้งานอนิ เตอร์ ในระดับองค์กร • การใชง้ านอินเตอร์เน็ตในระดบั องคก์ รน้นั ตอ้ งการความเร็วของ อินเตอร์เน็ตและความเสถียรมากกวา่ การใชอ้ ินเตอร์เน็ตบา้ น เป็นอยา่ ง มาก เพราะปัจจุบนั ระบบการสื่อสารขององคก์ รต่างๆ ลว้ นตอ้ งพ่งึ พา อินเตอร์เน็ตท้งั สิ้น เช่น การใชง้ าน ระบบอีเมล,์ ระบบบริหารจดั การ ภายในและระหวา่ งสาขา หรือ อาจจะมีการต้งั Server ไวภ้ ายในองคก์ ร 12

โดยผใู้ หบ้ ริการอินเตอร์เน็ตในระดบั องคก์ ร อาจจะมีการใชส้ ายสญั ญาณ เป็นใยแกว้ นาแสง (Fiber optic) และ มีการบริหารจดั การที่รัดกมุ และ เขม้ งวด เพือ่ ใหก้ ารใชง้ านในระดบั องคก์ รน้นั มีความเสถียรสูงสุด บทความโดย บริษทั เทคโนโลยแี ลนด์ จากดั ผใู้ หบ้ ริการระบบ Email Hosting อนั ดบั 1 ของไทย ที่มา : http://emailserverhosting.maildee.com/2014/11/isp- internet.html 13

TCP/IP การเช่ือมโยงต่อเครือข่ายย่อยจานวนมาก จะเชื่อมโยง การส่ือสารระหว่างกนั ด้วยระบบมาตรฐานการควบคมุ การส่งผา่ นข้อมลู ระหว่างเครือข่ายที่เรียกว่า โปรโคตอล ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP : transmission control protocol / internet protocol) ซึ่งใช้หลกั การรบั ส่งข้อมลู โดยอิสระ โดยแบง่ เวลาอย่างเท่าเทียมกนั

IP Address มาตรฐานการรบั สง่ ขอ้ มลู โดยใชโ้ ปรโตคอล TCP/IP นนั้ เครอ่ื ง คอมพวิ เตอรท์ ุกเครอ่ื งทเ่ี ชอ่ื มต่อกนั นนั้ จะตอ้ งมหี มายเลขประจาตวั เพอ่ื ใชเ้ ป็นหมายเลขตาแหน่งสาหรบั อา้ งองิ เปรยี บเทยี บกบั หมายเลข ประจาตวั ประชาชน โดยเรียกว่า หมายเลขไอพี (IP Address) ในแตล่ ะเครอ่ื งตอ้ งมเี ลขท่ีไม่ซา้ กนั หมายเลขไอพี ประกอบดว้ ยเลขฐานสอง จานวน 4 ชุด ชดุ ละ 8 บติ รวมทงั้ หมด 32 บติ หรอื 4,294,967,296 หมายเลข ตงั้ แต่ 0.0.0.0 ถงึ 255.255.255.255

Connection-specific DNS Suffix: kasetkorat.ac.th Description: Broadcom 802.11n Network Adapter Physical Address: 9‎4-39-E5-EA-CD-59 DHCP Enabled: Yes IPv4 Address: 172.16.100.172 IPv4 Subnet Mask: 255.255.255.0 Lease Obtained: 29 พฤษภาคม 2558 9:10:37 Lease Expires: 30 พฤษภาคม 2558 10:28:43 IPv4 Default Gateway: 172.16.100.1 IPv4 DHCP Server: 172.16.100.1 IPv4 DNS Servers: 202.28.112.9, 203.172.246.40, 4.2.2.2

โดเมนเนม (Domain name system :DNS) คือการต้งั ชื่อหรือตวั อกั ษรขนึ้ มาแทนท่ี IP address ซึ่งสะดวกในการจดจามากกว่า

ระบบชื่อโดเมน เป็นระบบของชอ่ื ทใ่ี ชเ้ รยี กแทนการเรยี กหมายเลขไอพี ซง่ึ ยงุ่ ยากแก่การ จดจาในการใชง้ านระบบเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต จงึ ไดพ้ ฒั นา ระบบชอ่ื ทเ่ี ป็นอกั ษรแทนระบบหมายเลขไอพี ชว่ ยใหส้ ะดวกกบั ผใู้ ชง้ าน ในระบบ แต่ระหวา่ งเครอ่ื งคอมพวิ เตอรย์ งั คงใชห้ มายเลข ไอพใี นการตดิ ต่อสอ่ื สารกนั โดยจะมเี ครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ท่ี าหน้าท่ี เปลย่ี นระหวา่ งระบบหมายเลขไอพกี บั ระบบชอ่ื โดเมน เรยี กวา่ โดเมน เนม เซริ ฟ์ เวอร์ (Domain Name Server) โดยแตล่ ะประเทศจะมหี น่วยงานรบั ผดิ ชอบการจดทะเบยี นชอ่ื โดเมน ประเทศไทยหน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบการดแู ลชอ่ื โดเมน คอื ศนู ยส์ ารสนเทศเครอื ขา่ ยประเทศไทย (THNIC,Thailand Network Information Center)

172.16.100.1 www.kasatkorat.ac.th

เทคโนโลยเี วบ็ เพจ : Html อกั ษรวเิ ศษของทมิ WWW ถกู พฒั นาขน้ึ มาครงั้ แรกในปี ค.ศ.1989 โดย ทมิ เบอรเ์ นอรส์ -ลี (Tim Berners-Lee) แหง่ ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั ทางอนุภาคฟิสกิ สข์ องยโุ รป (CERN) ซง่ึ ตงั้ อยทู่ ก่ี รงุ เจนีวา สวติ เซอรแ์ ลนด์ ในครงั้ แรก ทมิ เพยี งคดิ อานวยความสะดวกใหแ้ ก่บรรดานกั วทิ ยาศาสตรข์ องสถาบนั ใหค้ น้ หา ขอ้ มลู งา่ ยขน้ึ จงึ คดิ ประดษิ ฐต์ วั อกั ษรทม่ี คี วามสามารถในการสอ่ื สาร ขอ้ มลู ได้ เรยี กวา่ \"ไฮเปอรเ์ ทก็ ซ\"์ (Hypertext)

เมอ่ื ไดต้ วั อกั ษรทม่ี คี ุณสมบตั พิ เิ ศษแลว้ สงิ่ ทพ่ี ฒั นาขน้ึ ต่อจาก ไฮเปอรเ์ ทกซก์ ค็ อื เครอ่ื งมอื สาหรบั อา่ นตวั อกั ษรทเ่ี ขาประดษิ ฐข์ น้ึ และเรยี กเครอ่ื งมอื น้ีวา่ \"บราวเซอร\"์ (Browser) เพยี ง 3 ปีหลงั จาก กาเนิดไฮเปอรเ์ ทก็ ซข์ น้ึ มา โปรแกรมบราวเซอรต์ วั แรกช่อื Mosaic ซง่ึ ทางานบนระบบ X-Windows กส็ รา้ งปรากฏการณ์ใหมข่ น้ึ มาใน ระบบการสอ่ื สารขอ้ มลู บนอนิ เทอรเ์ น็ต และยงั เป็นแมแ่ บบของ บราวเซอรต์ วั อ่นื ๆ เชน่ Netscape Communicator, Internet Explorer, Opera, Firefox, Mozilla เป็นตน้ กอ่ ใหเ้ กดิ กระแสโลกไร้ พรมแดนขน้ึ มาจนถงึ ปัจจบุ นั 21

HTML 5

เทคโนโลยี เวบ็ พฒั นาการของเวบ็ ไซต์ เวบ็ 1.0, เวบ็ 2.0, เวบ็ 3.0, เวบ็ 4.0 • เทคโนโลยเี วบ็ เร่ิมพฒั นามาต้งั แต่เวบ็ 1.0 จนกระทงั่ ในปัจจุบนั คือ เวบ็ 2.0 และอนาคตกาลงั จะเป็นเวบ็ 3.0 และจะกา้ วสู่เวบ็ 4.0 ต่อไป 23

WEB 1.0 คืออะไร เวบ็ 1.0 เป็ นเวบ็ ในยุคเร่ิมต้นและยงั คงมใี ห้เห็นอยู่ในปัจจุบนั มกั มรี ูปแบบของไฟล์เป็ นนามสกลุ เป็ น .htm และ .html ทาหน้าทใี่ ห้ข้อมูลข่าวสารในแบบส่ือสารทางเดยี ว (One Way Communication) เจ้าของเวบ็ ไซต์หรือผู้ส่งสารจะเป็ นผู้กาหนดเนื้อหาเองท้งั หมด และต้องมคี วามรู้พืน้ ฐานการทาเวบ็ และยากทจ่ี ะแบ่งปันส่งต่อเนื้อหาออกไป ผู้ใช้หรือผู้รับสารมหี น้าทร่ี ับรู้ข่าวสารเพยี งอย่างเดยี วไม่ สามารถโต้ตอบ ได้ เช่นเดยี วกบั สื่อกระแสหลกั อ่ืน ๆ เช่น หนังสือพมิ พ์วทิ ยุและโทรทศั น์ 24

WEB 2.0 คืออะไร เวบ็ 2.0 เป็นเวบ็ ในปัจจุบนั ท่ีมีการใชอ้ ินเตอร์เน็ตเพอ่ื เขียนบลอ็ ก (Blog), แชร์รูปภาพ, ร่วมเขียนวกี ี (Wiki), แสดงความคิดเห็น (Post Comment), พดู คุย ถกเถียง นินทา ประจาน ใส่ร้าย ท้งั จากเจา้ ของ เวบ็ ไซต์ หรือจากคนท่ีเขา้ มาใชง้ านเวบ็ ไซต,์ หาแหล่งขอ้ มูลดว้ ยอาร์เอสเอส (RSS) เพอ่ื ฟี ด (Feed) มา อ่าน รวมท้งั กเู กิล (Google) เวบ็ ยคุ 2.0 จะใหค้ วามสาคญั กบั ผเู้ ขา้ ชมเวบ็ ไซต์ โดยท่ีผเู้ ขา้ ชมเวบ็ ไซตจ์ ะ มีส่วนร่วมต่อเวบ็ ไซตม์ ากข้ึน ไม่ใช่แค่เขา้ มาชมเวบ็ ไซตท์ ่ีเจา้ ของเวบ็ จดั ทาข้ึนเท่าน้นั ผเู้ ขา้ ชมเวบ็ ไซต์ สามารถสร้างขอ้ มูล (Content) ของเวบ็ ไซตข์ ้ึนมาไดเ้ องหรือสามารถกาหนดคาสาคญั ของเวบ็ ไซตท์ ่ี เกี่ยวขอ้ ง ขอ้ มูล (tag content) ทาใหข้ อ้ มูลในเวบ็ ไซตน์ ้นั มีการ update และพฒั นา ปรับปรุง อยา่ ง รวดเร็ว กลายเป็นเวบ็ ไซต์ ท่ีมีรูปแบบของการส่ือสารเป็นแบบสองทาง (Two Way Communication) 25

WEB 3.0 คืออะไร เวบ็ 3.0 เป็นเวบ็ ในยคุ อนาคตอนั ใกล้ คือ เวบ็ ท่ีมีการพฒั นาการต่อจากเวบ็ 2.0 ความแตกต่างคือสร้าง ความฉลาดเทียมใหก้ บั ส่ิงไม่มีชีวติ ใชเ้ ป็นเครื่องมือ ช่วยคาดเดาพฤติกรรม วเิ คราะห์ความตอ้ งการของ มนุษย์ เมื่อไดข้ อ้ มูลน้นั มา ระบบจะประมวลผลอยา่ งมีเหตุผลพร้อมท้งั แกไ้ ขสถานการณ์เฉพาะหนา้ สร้างสิ่งท่ีตอ้ งการใหผ้ ใู้ ชเ้ วบ็ ไซตม์ ีการเชื่อมโยงเน้ือหาสมั พนั ธ์ที่มี ความสมั พนั ธก์ นั กบั แหล่งขอ้ มูล อื่น ๆ เป็นเครือข่ายเดียวทวั่ โลก มีการพฒั นารูปแบบที่เป็นมาตรฐานใชร้ ่วมกนั ในแบบเอกซ์เอม็ แอล (XML) แต่อาจเกิดปัญหาการละเมิดลิขสิทธ์ิ เพราะบทความท่ีมีเป็นจานวนมากและอาจไม่รู้วา่ แหล่งขอ้ มูลใดเป็นของเจา้ ของอยา่ งแทจ้ ริง ประกอบกบั ความไม่มนั่ ใจวา่ ขอ้ มูลที่มีอยมู่ ากมาย มหาศาลน้นั ขอ้ มูลใดมีคุณภาพ ส่ิงหน่ึงที่น่าจะเกิดข้ึนในยคุ Web 3.0 คือ การแกไ้ ขปัญหาของขอ้ มูล หรือ Content ท่ีไม่มีคุณภาพต่างๆ และพฒั นาระบบการจดั การขอ้ มูลในเวบ็ ใหด้ ีข้ึน เพ่ือใหผ้ เู้ ยย่ี มชม สามารถเขาั ถึงเน้ือหาของเวบ็ ไดด้ ีข้ึนและตรงตามความตอ้ ง การ 26

WEB 4.0 คืออะไร นอกจากการกล่าวถึง Web 3.0 แลว้ ยงั มีการคาดการณ์เทคโนโลยเี วบ็ ไปถึง WEB 4.0 ซ่ึงมีการเรียกกนั วา่ “A Symbiotic web” คือ เวบ็ ที่ทางานแบบ Artificial Intelligence (AI) ที่ฉลาดมากยงิ่ ข้ึน คอมพวิ เตอร์สามารถคิดได้ มีความฉลาดมากข้ึน ในการอ่านท้งั เน้ือหา ขอ้ ความ และรูปภาพ หรือ วดี ีโอ สามารถท่ีจะตอบสนองหรือตดั สินใจไดว้ า่ จะ load ขอ้ มูลอะไร จากไหน จึงจะใหป้ ระสิทธิภาพดี ท่ีสุดมาใหผ้ ใู้ ชง้ านก่อนก่อน และนอกจากน้ียงั มีรูปแบบการนามาแสดงที่รวดเร็ว เวบ็ 4.0 จะทาใหเ้ วบ็ หรือขอ้ มูลต่างๆ สามารถทางานไดแ้ ทบจะทุก อุปกรณ์หรืออาจจะช่วยระบุตวั ตนท่ีแทจ้ ริงของผใู้ ชไ้ ด้ ที่มา : http://www.anantasook.com/web-technology-future-internet-web32-70/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook