Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก

ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก

Published by wiraya_srikarw, 2018-03-28 05:20:30

Description: ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก

Search

Read the Text Version

รายวชิ า เทคนคิ การสรา งภาพเคล่อื นไหวคอมพิวเตอร 1 หนว ยที่ 1 ความรเู บ้อื งตน เก่ยี วกบั งานกราฟก1. ความรูเบื้องตน เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอรกราฟก1.1 Graphic คอื อะไร กราฟก เปน สิง่ ทีเ่ กย่ี วของกับตวั เราอยางมาก กราฟก ไมว าจะเปน สัญลักษณ โลโก กระดาษ แผนพับโฆษณา กราฟก มที มี่ าจากคาํ ในภาษากรีก คอื Graphikos ทแี่ ปลวา \"การวาดเขยี น และเขียนภาพ\" หรอื คาํ วา\"Graphein\" ทีแ่ ปลวา \"การเขียน\"1.2 ความหมายของกราฟกและคอมพิวเตอรก ราฟก กราฟก หมายถงึ การส่อื ความหมายดว ยการใชศิลปะและศาสตรท างการใชเสน ภาพวาด ภาพเขยี นแผนภาพ ตลอดจนสญั ลักษณ ทั้งสแี ละขาว-ดาํ ซึง่ มลี ักษณะเหน็ ไดช ดั เจน เขา ใจ ความหมายไดท ันที ตรงตามท่ีผสู ื่อสารตองการซง่ึ มผี ใู หนิยามไวหลายลักษณะ เชน  ศลิ ปะอยา งหน่ึง ที่แสดงออกดว ยความคดิ อาน โดยใชเ สน รูปภาพ ภาพเขยี น ไดอะแกรม และอืน่ ๆ  การส่อื ความหมายดว ยการใชภาพวาด ภาพสเกต แผนภาพ ภาพถาย และอ่นื ๆ ที่ตองอาศยั ศิลปะ และ ศาสตร เขา มาชว ย เพื่อใหผูดูเกดิ ความคดิ และตีความหมายไดต รงตามที่ผูส รา งสรรคต อ งการสื่อ เชน แผนภูมิ แผนภาพโฆษณา การตูน เปนตน  โสตทัศนวัตถทุ ี่ผลิตขน้ึ เพ่ือแสดงสญั ลักษณ หรอื ความหมายของสิง่ หนง่ึ สงิ่ ใด ทาํ ใหค นไดม องเห็น ความจริง หรือความคดิ อันถูกตอ งชดั เจนจากวัสดกุ ราฟกนั้นๆ  การพมิ พ การแกะสลกั การถา ยภาพ และการจัดทําหนงั สอื ดังนัน้ กราฟก คือรปู แบบการสื่อสารรปู แบบหนึง่ ท่ีใชศ ิลปะมาเกยี่ วของ เพ่ือสรา งสัญลกั ษณ ทเ่ี ขาใจไดงา ย และตรงกันระหวา งผูส่อื สาร กบั ผูรบั สาร ความสาํ คญั ของกราฟก  เปนสอื่ กลางในการส่อื ความหมาย  เกิดการเรยี นรู การศกึ ษา  เกดิ ความนาสนใจ ประทับใจ และนา เชอ่ื ถือ  กระตนุ ความคิด  กอใหเ กดิ ความคิดสรา งสรรค  สงเสรมิ ความกา วหนาทางความคดิ คอมพวิ เตอรกราฟก หมายถงึ การสรางและการจดั การกับภาพกราฟกโดยใชค อมพิวเตอร ซงึ่ การพฒั นาคอมพิวเตอรกราฟกเรม่ิ ตนมาจากการเปน เทคนิคอยางหนึ่งในการแสดงขอมูลตัวเลข จํานวนมาก ๆ ใหอยใู นรปู

รายวชิ า เทคนคิ การสรา งภาพเคล่ือนไหวคอมพวิ เตอร 2ทีช่ ัดเจนกวา เดิมและทาํ ความเขา ใจไดง ายกวา เดมิ เชน ขอมลู อาจแสดงได ในรปู ของเสน กราฟ แผนภาพแผนภมู ิ แทนทจ่ี ะเปน ตารางของตวั เลข จากนน้ั การใชภาพกราฟก แสดงผลแทนขอ มูลหรือขาวสารทยี่ งุ ยากก็มีการพัฒนามากขึน้ เร่ือย ๆ ปจจบุ นั มีการใชภาพกราฟก ในงานทุก ๆ ดาน ไมว า ดา นธุรกิจ โรงงานอตุ สาหกรรม งานศลิ ปะ การบันเทิง งานโฆษณา การศึกษา การวจิ ัย การฝกอบรม และงานทางการแพทยจนเห็นไดช ัดเจนวา คอมพวิ เตอรก ราฟก น้ันเร่ิมมคี วาม สาํ คัญ เนื่องจากเปนเคร่อื งมือทส่ี ามารถชว ยงานในการออกแบบทางดานกราฟกใหเปนไปอยางรวดเร็ว สะดวก ไมต อ งอาศัยเคร่ืองมือจาํ นวนมาก อีกทง้ั ผูออกแบบเองก็สามารถดูผลงานการออกแบบของ ตนเองไดทันที1.3 ประเภทของภาพกราฟก ภาพท่เี หน็ ในคอมพิวเตอรมีดวยกนั 2 ประเภท 1. ภาพกราฟกแบบ 2 มิติ เปน ภาพที่เกิดจากการแสดงภาพท่ีมีลกั ษณะโครงสรางเปนรปู ทรงเรขาคณติ เสนตรง วงกลม เปนภาพท่ีพบเหน็ โดยทวั่ ไปรวมถงึ การต ูนตางๆ ในโทรทศั น เชน ภาพถา ย รปู วาด ภาพลายเสน สัญลักษณ กราฟ มีอยู 2ประเภท คือ ภาพเวคเตอร (vector) และภาพบิตแมป (bitmap)

รายวชิ า เทคนคิ การสรา งภาพเคล่ือนไหวคอมพิวเตอร 3 2. ภาพกราฟก แบบ 3 มิติ เปนภาพชนิดเวกเตอรม ีมมุ มองภาพเหมือนจริง (สรา งภาพจากแกน x y z = ความลึกของภาพ) เปนภาพกราฟกทใ่ี ชโ ปรแกรมสรางภาพ 3 มิติโดยเฉพาะ เชน โปรแกรม 3Ds max โปรแกรม Maya เปน ตน ซงึ่ จะทําใหไ ดภาพมสี แี ละแสงเงาเหมือนจริง เหมาะกบั งานดานสถาปตยกรรมและการออกแบบตางๆรวมถึงการสรา งเปน ภาพยนตรการตนู หรอื โฆษณาสนิ คา ตา งๆ เชน การตูนเรื่อง Nemo The Bug และปงปอนดแ อนเิ มชนัเปน ตน การสรา งภาพกราฟกดว ยคอมพิวเตอร มวี ธิ กี ารสราง 2 แบบ คอื1.4 รปู แบบของภาพในคอมพิวเตอร 1. แบบบิตแมป (Bit Mapped) บิตแมป (Bitmap ) หรอื Rastor จะประกอบไปดว ยพิกเซลเรยี งตอเน่ืองกัน ภายในแตล ะพิกเซลจะมีองคป ระกอบทีใ่ ชใ นการแสดงสี รูปทรง รูปแบบไฟล เราเรียกองคประกอบของพิกเซลน้ีวา บิต ( Bit) ภาพบิตแมปน้ันเราอาจเรียกวา ราสเตอร (Rastor ) หรือเพนตไทป (Paint-type) กไ็ ด สาํ หรับขอ ดีของบิตแมป คือ จะมีความเร็วในการแสดงสงู ใชหนว ยความจํานอยกวา ตวั อยา งโปรแกรมกราฟก ประเภทบติ แมป เชน AdobePhotoshop , Fractal Design Painter , Paint Shop Pro , L-View เปนตน ตวั อยางชนดิ ของไฟลภาพ เชน bmpGIF JPEG TIFF PICT Raw ในปจจุบันนยิ มใชแบบ JPEG file format (Joint Photographic Experts Group) เนอ่ื งจากภาพท่ไี ดมีคณุ ภาพเหมือนจรงิ และไฟลมีขนาดเลก็ เพราะมีการบีบอัดทด่ี ี และสามารถกาํ หนดคณุ ภาพงานไดท้งั หมด 10ระดับ ขนึ้ อยกู ับความเหมาะสม สําหรบั งานอื่น ๆ จะใช GIFs file format(Graphical Interchange Format) เปนไฟลมาตรฐานทมี่ ีอยนู านแลว อกี ทั้งสามารถแสดงเปนภาพเคลอื่ นไหวได แตส ามารถแสดงสีไดเพยี ง 256 สเี ทา น้ัน

รายวชิ า เทคนคิ การสรางภาพเคลอื่ นไหวคอมพิวเตอร 4นามสกุลที่ใชเ ก็บภาพแบบ Rasterนามสกลุ ท่ีใชเกบ็ ลักษณะงาน โปรแกรมท่ีใชสรา ง.JPG, JPEG, JPE ใชส าํ หรบั รูปภาพทั่วไป งานเว็บเพจ และงานที่มคี วาม Photoshop, PaintShopPro.GIF จาํ กดั ดา นพืน้ ที่หนวยความจํา , Illustrator.TIFF , TIF เหมาะสาํ หรบั งานดานนิตยสาร เพราะมคี วามละเอียด ของภาพสงู.BMP , DIB ไฟลม าตรฐานของระบบปฏิบตั กิ ารวินโดว PaintShopPro , Illustrator 2. แบบเวกเตอร (Vector) เวกเตอร (Vector) ภาพเชิงวตั ถุ (object-oriented graphics) เปน ภาพท่สี รางดว ยสว นประกอบของเสนในลักษณะตางๆ และคุณสมบัติท่ีเกี่ยวกับสีของเสนนั้นๆ ซ่ึงสรางจากการคํานวณทางคณิตศาสตร เชน ภาพของดอกไม ก็จะถูกสรางดวยจุดของเสนโคงและเสนตรงหลายๆ จุด เปนลักษณะโครงรางภาพ (Outline) ภาพเวกเตอรจะมีความละเอียดในการแสดงสูงมาก ไมวาเราจะยอหรือขยาย จะไมทําใหภาพเพ้ียนไปได แตการแสดงผลจะชามาก ตัวอยางโปรแกรมกราฟกประเภทเวกเตอร เชน Adobe Illustrator , Macromedia Freehand ,Corel Draw เปนตน ตัวอยาง ภาพของคน ก็จะถูกสรางดวยจุดของเสนหลายๆ จุด เปนลักษณะของโครงราง(Outline) และสีของคนก็เกิดจาก สีของเสนโครงรางนั้นๆ กับพ้ืนท่ีผิวภายในนั่นเอง เมื่อมีการแกไขภาพ ก็จะเปนการแกไขคุณสมบัติของเสน ทําใหภาพไมสูญเสียความละเอียด เม่ือมีการขยายภาพ ชนิดไฟลภาพ เชนภาพ .wmf ซ่ึงเปน clipart ของ Microsoft Office

รายวชิ า เทคนคิ การสรา งภาพเคลอ่ื นไหวคอมพิวเตอร 5นามสกุลท่ีใชเก็บภาพแบบ Vector โปรแกรมทใี่ ชส รางนามสกลุ ทใ่ี ชเ ก็บ ลกั ษณะงาน โปรแกรม Illustrator.AI ใชส ําหรบั งานทตี่ องการความละเอียดของภาพมาก เชน โปรแกรม CorelDraw.EPS การสรา งการตนู การสรางโลโก เปน ตน.WMF ไฟลม าตรฐานของระบบปฏิบตั ิการวนิ โดว Bitmap VS Vector Bitmap แสดงภาพใหเ ห็นไดเร็วกวา Vector การเปล่ยี นแปลงขนาดภาพใหโตขน้ึหรือเล็กลงกวา ภาพเดมิ Bitmap จะทําไดไ มมากและทาํ ใหภาพผิดเพ้ียนไปจากเดิม แตภ าพ Vector จะทําไดมากกวาโดยสดั สวนของภาพยังคงเดิม1.5 รปู แบบของไฟลร ูปภาพ 1. BMP (Bitmap) ไฟลภาพแบบ Bitmap (*.BMP) เปนไฟลภ าพที่ไดมาจาก Microsoft(Windows) เหมาะกบั การนําไปใชบ นั ทกึ ภาพตันฉบับ ที่ตอ งการเก็บรายละเอียดของภาพทง้ั หมด ขอ ดีคือสามารถใชงานกับโปรแกรมไดแทบทกุ ประเภท นอกจากน้ียงั เกบ็ รายละเอยี ดไดเหมือนกบั ตอนฉบบั แทบทุกประการโดยไมทาํ ใหคุณภาพลดลง จึงทาํ ใหเปน ไฟลชนิดหนึ่งท่ีมคี นนิยมใชง านมาก ใชเทคนคิ RLE-Encodingในการบบี ไฟลไ ด ขอ เสียของไฟลภ าพแบบ Bitmap คือ ไมส ามารถทํางานในโหมด CMYK ได นอกจากนี้ยังเก็บรายละเอยี ดตาง ๆ ไดไมเทา ไฟล TIF อาทิ Alpha Channel, Path, Layer เปน ตน • ขอดี • โปรแกรมบนวินโดวทกุ ตัวสามารถเรียกใชไ ดหมด • Color dept 1-24 bit(16 ลา นส)ี • ขอ เสยี • ไฟลมีขนาดใหญมาก ไมเ หมาะในการนําไปใชในอินเตอรเนต็ 2. EPS (Encapsulated PostScript) ใชต วั ยอวา EPS (อานวา อีพีเอส ) หมายถงึ ภาพที่สรา งข้นึ ดวยภาษาโพสตสคริปต (PostScript) โปรแกรมประเภทนี้ใชเนอ้ื ท่เี ก็บในหนว ยความจํามาก แตม ลี กั ษณะคมชดั กวาภาพชนดิ อ่ืน ราคาคอนขางแพง มักใชนามสกลุ (file type) วา EPS การส่งั พิมพภ าพประเภทนี้ ตอ งใชเคร่ืองพมิ พเลเซอรบ างชนดิ เทา นัน้

รายวชิ า เทคนคิ การสรางภาพเคลอ่ื นไหวคอมพวิ เตอร 6 3.GIF (Graphics Interchange Format) เปนแฟม ภาพที่เปน ทีน่ ยิ มมากท่สี ดุ สําหรับเก็บภาพที่จะแสดง บนเวบ็ และท่อี ื่นๆบนอนิ เทอรเ น็ต นอกเหนือจากรปู แบบแฟม JPEG แฟม GIF กลายเปน รปู แบบมาตรฐานของแฟมภาพ ใชวิธกี ารบีบอัดขอมูล แบบ LZW - แฟม animated GIF (Graphics Interchange Format) เปน แฟม ภาพที่เคล่ือนไหวไดบ นเวบ็ เพจ - แฟม animated GIF เปนแฟม ที่มีรปู แบบตามขอ กาํ หนด GIF89a ในแฟมหนง่ึ ๆประกอบดว ยภาพหลายภาพที่ถกู นาํ เสนอตามลําดับทไ่ี ดมกี ารกาํ หนดไว แลวและใหหยดุ หรือใหวนไปไมส ิน้ สดุ กไ็ ด - เครือ่ งมืออ่ืนที่สามารถใชในการทําภาพเคลื่อนไหวไดแก Java และ Flash แต animated GIF จะสรา งไดงา ยกวา และมักจะมีขนาดเล็กกวา ทาํ ใหแ สดงภาพไดเ รว็ กวา เปนไฟลก ราฟก มาตรฐานทท่ี ํางานบนอินเทอรเน็ต มักจะใชเ มือ่ • ตอ งการไฟลท่มี ีขนาดเลก็ • จาํ นวนสแี ละความละเอยี ดของภาพไมสงู มากนัก • ตอ งการพ้ืนแบบโปรง ใส • ตอ งการแสดงผลแบบโครงรางกอ น แลวคอ ยแสดงผลแบบละเอียด • ตองการนาํ เสนอภาพแบบภาพเคลือ่ นไหว ไฟล .GIF มี 2 สกุล ไดแก GIF87 พัฒนาข้ึนในป ค.ศ. 1987 เปนไฟลกราฟกรุนแรกที่สนับสนุนการนาํ เสนอบนอนิ เทอรเนต็ เปน ไฟลทม่ี ีขนาดเล็กและแสดงผลสีไดเพียง 256 สี และกําหนดใหแสดงผลแบบโครงรางได (Interlace) GIF89A พัฒนาข้ึนในป ค.ศ. 1989 เปนไฟลกราฟกท่ีพัฒนาตอจาก GIF87 โดยเพิ่มความสามารถการแสดงผลแบบพ้ืนโปรงใส ( Transparent) และการสรางภาพเคล่ือนไหว (GIF Animation) ซึ่งเปนไฟลกราฟกที่มีความสามารถพิเศษโดยนําเอาไฟลภาพหลายๆ ไฟลมารวมกันและนําเสนอภาพเหลาน้ันโดยอาศยั การหนว งเวลา มกี ารใสร ูปแบบการนําเสนอลักษณะตา งๆ ( Effects) ในลักษณะภาพเคลือ่ นไหวจดุ เดน • มีขนาดไฟลต่ํา • สามารถทาํ พน้ื ของภาพใหเ ปนพืน้ แบบโปรงใสได ( Transparent) • มรี ะบบแสดงผลแบบหยาบและคอยๆ ขยายไปสลู ะเอยี ดในระบบ Interlace • มโี ปรแกรมสนบั การสรางจาํ นวนมาก , เรียกดไู ดก บั Graphics Browser ทุกตวั • ความสามารถดานการนาํ เสนอแบบภาพเคลือ่ นไหว ( Gif Animation)จุดดอย  แสดงสไี ดเพยี ง 256 สี

รายวชิ า เทคนคิ การสรางภาพเคลื่อนไหวคอมพิวเตอร 7 4. JPEG (Joint Photographic Experts Group) ถูกพัฒนาข้นึ โดย Joint Photographic Experts Group เพอื่ จุดประสงคใ นการบบี อดั ขอ มูล ของไฟลร ปู ภาพใหมีขนาดเล็กลง คุณภาพของภาพสามารถกําหนด ได ผูใชสามารถกาํ หนดคณุ ภาพของภาพได ถา ตองการคุณภาพสูงแฟม จะมีขนาดใหญ ผใู ชตอ ง ตดั สินใจเลือกระหวาง คณุ ภาพ (image quality) กับขนาดของแฟมภาพ (file size) ทต่ี อ งการ - JPEG เปน ชนดิ ของแฟม ภาพทีส่ อื่ สารบน World Wide Web มักจะเปนแฟมที่มสี วนขยาย หรือนามสกุลเปน .jpg เราสามารถสรา ง progressive JPEG ไดค ลา ยคลงึ กบั interlaced GIF JPEG หรือ Joint Photographic Experts Group บางกเ็ รียก JPG กลมุ นี้จะสสี ันสดใสกวา ดว ยวา แบงเฉดสีได ถงึ 16 bit การเก็บขอ มลู นเ้ี พื่อใหร ปู ถา ยสสี ดสมจริงโดยไมตองอาศัยวิธี Dither ทาํ ใหม ีการผสมฉดี เฉด ตา ง ๆ ไดกลมกลนื ทีเดียว หลกั การบีบอัดนั้นคอ นขา งซับซอ น หลักการบีบอัดก็งา ย ๆ โดยทาํ เปนเลือกไมจ ํารายละเอยี ด ของภาพ โดยจะสามารถเลือกเปน ระดับได เชน ถา เลือก 0% compression คือ ไมบบี อัดเลย ภาพจะ คมชดั เทาตนฉบับ ถา compression มาก ๆ ก็จะไมช ดั เลยเพราะวารายละเอียดหาย แตวาถาไมบ บี อัดเลย กจ็ ะมีขนาด file ใหญม าก ดังนน้ั แลว จึงพบวาการบบี อดั ขอมลู ที่ 60% นนั้ ใหผ ลลัพธส มดุล คือ ไมใ หญ และไมมัว การ interlaced นน้ั แมว าจะทําไดแตวา ไมส ามารถทํา animation และ transparency ได เหมือนกนั GIF จงึ นยิ มเกบ็ ไวเกบ็ ภาพถายแตอ ยางเดียวสําหรับพวก graphic ท่ีมีสเี ดยี วกนั ใหญ ๆ ไม ควรเก็บในรูป JPG เพราะขอบภาพจะเบลอเนื่องจากมนั พยายามจะใหสลี ะเอียดเกนิ จนไลส ีมากไป ขาดความคมชัด เปน อีกไฟลห นงึ่ ทีน่ ิยมใชบ น Internet มักใชกรณี 1. ภาพทต่ี องการนําเสนอมคี วามละเอียดสงู และใชสจี ํานวนมาก (สนบั สนุนถงึ 24 bit color) 2. ตอ งการบบี ไฟลต ามความตอ งการของผใู ช 3.ไฟลช นิดน้ีมักจะใชกับภาพถายทน่ี ํามาสแกน และตองการนาํ ไปใชบ นอินเทอรเน็ต เพราะใหความคมชัดและความละเอียดของภาพสูง ไฟลภ าพแบบ JPEG (*.JPG) เปน ไฟลภ าพที่มผี ูนิยมใชมากในอินเทอรเน็ต เน่ืองจากสามารถบบี อดั รายละเอยี ดเพ่ือลดขนาดไฟลใหเลก็ ลงไดมาก จึงทําใหแสดงผลไดอยางรวดเร็วกวา ไฟลช นดิ อ่ืน ๆ นอกจากนี้ยงั สามารถทาํ งานในโหมด CMYK ได แตขอ เสียของไฟล JPEG ก็คอื จะทําใหค ณุ ภาพของไฟลล ดลงทุกคร้งั ทีบ่ ันทึก จึงไมเ หมาะจะใชกบั งานทตี่ องการคณุ ภาพสงู อยา งงานส่ิงพิมพ เปน ตน

รายวชิ า เทคนคิ การสรางภาพเคลอ่ื นไหวคอมพิวเตอร 8ลกั ษณะและจดุ เดน • สนบั สนนุ สีไดถึง 24 bit • สามารถกาํ หนดคาการบีบไฟลไดตามทีต่ องการ • มีระบบแสดงผลแบบหยาบและคอ ยๆ ขยายไปสลู ะเอียดในระบบ Progressive • มีโปรแกรมสนบั สนนุ การสรางจาํ นวนมาก • เรยี กดูไดกับ Graphics Browser ทกุ ตวั • ตงั้ คา การบบี ไฟลได ( compress files) • เหมาะสมกับการนาํ เสนอทง้ั ระบบสอื่ มัลตมิ เี ดยี และเว็บไซต • สวนขยายของไฟลร ูปแบบน้ีคอื .jpg หรือ .jpegจดุ ดอย • ทําใหพ้ืนของรูปโปรงใสไมไ ด • ขนาดไฟลตอ งกําหนดใหเหมาะสมกับการนาํ ไปใชงานขอเสียของการบีบไฟล ( Compress File) กําหนดคาการบบี ไฟลไ วส ูง ( 1 - 10) แมว าจะชวยใหขนาดของไฟลม ีขนาดต่ํา แตก ็มีขอ เสยีคอื เม่ือมีการสงภาพจาก Server ไปแสดงผลที่ Client จะทําใหก ารแสดงผลชามาก เพราะตอ งเสียเวลาในการคลายไฟล ดงั น้ันการเลอื กคา การบบี ไฟล ควรกําหนดใหเ หมาะสมกับภาพแตล ะภาพ 5. PNG (Portable Network Graphics) รูปแบบลาสุดในการนําเสนอภาพผานเครือขายอินเทอรเน็ต สามารถแสดงผลไดในระบบสีเต็มพิกัด (True Color), มีขนาดไฟลเล็ก และควบคุมคุณภาพไดตามท่ีตองการ มีการกําหนดใหพ้ืนภาพเปนพ้ืนโปรง ใสได (Transparent) รวมทง้ั การแสดงผลแบบหยาบสูล ะเอยี ด (Interlaced) สว นขยายของไฟลน ้ีคอื .png แฟม PNG มกี ารบบี อัดขอ มูลโดยไมสูญเสียคณุ ภาพเชนเดียวกับแฟม GIF แตบ ีบอัดขอมลู ไดดีกวาPNG ทาํ ใหส มี ีความโปรง ใส (transparency) แลว ยงั สามารถควบคมุ องศาของความโปรง ใส (opacity) ไดดวยPNG format ไมสนับสนนุ ภาพเคล่อื นไหว เพราะไมสามารถเกบ็ ภาพหลายภาพไวด ว ยกนั ไดแ ตส ามารถขยายขดีความสามารถ (extensible) ไดจุดเดน • สนบั สนุนสีไดถงึ ตามคา True color (16 bit, 32 bit หรือ 64 bit) • สามารถกาํ หนดคา การบบี ไฟลไดต ามทีต่ อ งการ

รายวชิ า เทคนคิ การสรางภาพเคล่อื นไหวคอมพวิ เตอร 9 • มรี ะบบแสดงผลแบบหยาบและคอ ยๆ ขยายไปสลู ะเอยี ด ( Interlace) • สามารถทําพน้ื โปรงใสไดจดุ ดอ ย • หากกําหนดคาการบีบไฟลไวส ูง จะใชเ วลาในการคลายไฟลสูง แตข นาดของไฟลจ ะมีขนาดต่าํ • ไมส นบั สนุนกับ Graphic Browser รนุ เกา สนับสนุนเฉพาะ IE 4 และ Netscape 4 • ความละเอยี ดของภาพและจาํ นวนสขี นึ้ อยกู ับ Video Card • โปรแกรมสนับสนนุ ในการสรางมนี อ ย 6. TIFF (Tagged – Image File Format) เปน รปู แบบทั่วไปของแฟมท่ใี ชในการแลกเปลีย่ นภาพแบบราสเตอร หรือบทิ แมป ระหวา งโปรแกรมประยกุ ตรวมทัง้ โปรแกรมทใ่ี ชจ ัดการภาพทีไดจากการกวาดดว ยสแกนเนอร พัฒนามาต้งั แตป 1986 มักใชในงาน desktop publishing, faxing, 3-D applications และ medicalimaging applications TIFF files มหี ลายประเภทเชน gray scale, color palette และ RGB full color ไฟลภ าพแบบ TIF (*.TIF) เปน ไฟลภาพท่ีใหร ายละเอยี ดสูงและสมบรู ณแ บบมากท่สี ุดชนดิ หนึง่ ในปจจบุ นั โดยในไฟลสามารถเก็บเกี่ยวรายละเอียดตา ง ๆ ไดอยา งสมบูรณแ บบเหมือนตน ฉบับแทบทุกประการไมว า จะเปน PathSelection หรือแมแ ต เลเยอรใน Photoshop เองก็ตาม นอกจากน้ไี ฟลยงั รองรับการทํางานในโหมดภาพแบบCMYK และสามารถเปด ไดทัง้ ในระบบของ McIntosh และ Windows จึงสามารถใชใ นงานสงิ่ พมิ พต าง ๆ ไดเปนอยา งดี • ขอดี • ใชไดกับทกุ ระบบปฏบิ ัตกิ าร • ความลึกสีมากถงึ 64 บติ • เหมาะกบั งานคุณภาพสงู ในงานระดับมืออาชพี • สามารถต้ังคาความลึกสีไดส งู สดุ ถงึ 64 บติ • ใชเทคนิค LZW-Encoding ในการบีบไฟลไ ด • ขอ เสีย • ไฟลม ขี นาดใหญมาก ไมเหมาะในการนาํ ไปใชใ นอินเตอรเนต็ 7. RAW Format การถายภาพแบบที่เปน Raw File คือ \" the uncompressed, unprocessed data filecapture by the camera\" ดงั น้นั ภาพทีไ่ ดจงึ ยังไมม ีการปรงุ แตง หรอื ลดขนาดความจุ ปรับโทนสี ปรับความสวาง/ มืด ฯลฯ แตอยางใด

รายวชิ า เทคนคิ การสรางภาพเคล่อื นไหวคอมพวิ เตอร 101.6 หนว ยพื้นฐานของภาพ 1. พิกเซล ( Pixel) พิกเซล (Pixel) เปนคําผสมของคําวา Picture กับคําวา Element หรือหนวยพื้นฐานของภาพ เทียบไดกับ \"จุดภาพ\" 1 จุด แตละพิกเซลเปรียบไดกับสี่เหล่ียมเล็กๆ ท่ีบรรจุคาสี โดยถูกกําหนดตาํ แหนง ไวบนเสนกรดิ ของแนวแกน x และแกน y หรอื ในตารางเมตริกซสี่เหลี่ยม ภาพบิตแมปจะประกอบดวยพกิ เซลหลายๆ พิกเซล จาํ นวนพกิ เซลของภาพแตล ะภาพ จะเรยี กวา ความละเอียด หรือ Resolution โดยจะเทียบจํานวนพกิ เซลกับความยาวตอน้ิว ดังน้ันจะมีหนว ยเปน พิกเซลตอน้วิ ( ppi: pixels per inch)หรือจดุ ตอ น้ิว ( dpi; dot per inch)ภาพขนาดเทานั้นแตมีความละเอียดตา งกัน แสดงวา จํานวนพิกเซลตางกัน และขนาดของจดุ พกิ เซล กต็ า งกนั ดวย  72 dpi = 72 pixels high x 72 pixels wide = 5184 pixels in a square inch  300 dpi = 300 pixels high x 300 pixels wide = 90,000 pixels in a square inch 3. เอสเปก เรโซของภาพ (Image Aspect Ratio) คือ อัตราสวนระหวางจาํ นวนพิกเซลทางแนวขวางและจํานวนพกิ เซลทางแนวดิง่ ทีใ่ ชในการสรา ง เชน รูปภาพท่ีมี Aspect Ratio 800x600 นน่ั คือ รปู นั้นจะมที ง้ั หมด480,000 pixel

รายวชิ า เทคนคิ การสรางภาพเคล่อื นไหวคอมพิวเตอร 11 4. ความละเอียดในการแสดงผล ( Resolution ) คา ความละเอยี ดของภาพๆ หน่ึง ซ่ึงกาํ หนดเปนจาํ นวนเม็ดสี ตอหน่ึงหนว ยความยาวของภาพ หนวยของ Resolution ที่ใชกนั มีอยู 2 แบบ คือ pixels/inch คือ จํานวนของเมด็ สี ในพน้ื ที่ 1 ตารางน้ิว pixels/cm คือ จาํ นวนของเม็ดสี ในพน้ื ท่ี 1 ตาราง ซ.ม. คา Resolution ท่นี ยิ มใชกันคือ pixel/inch (ppi) คาํ น้ีสามารถใชไดกับสถานการณท่ีแตกตางกนั เชนความละเอียดของการแสดงผลของเคร่ืองพมิ พ หรือความละเอียดในการแสดงผลของจอภาพ ดงั นัน้ ความละเอยี ดในการแสดงผลจงึ หมายถงึ จํานวนหนว ยตอพน้ื ที่ในการแสดงเมด็ สี การกาํ หนดคา Resolution Resolution ของภาพทเี่ หมาะสมกับงานตางๆ มดี ังน้ี 300 - 350 ppi/inch ใชในงานพมิ พภาพทมี่ ีคุณภาพสูง เชน นิตยสาร สมดุ ภาพ 170 ppi/inch ใชในงานพิมพหนงั สือพมิ พ 72 ppi/inch ใชแสดงผลบนจอมอนิเตอร เชน ภาพวอลลเปเปอร ภาพที่ใชบนเว็บเพจ 5. ความละเอียดของการแสดงผลรปู ภาพ หมายถงึ จํานวนพิกเซลตอพ้ืนที่การแสดงผล มหี นวยเปนพิกเซลตอนิว้ ( pixels per inch - ppi ) โดยพิกเซลจะมีขนาดไมแนนอนขึ้นกับอปุ กรณเอาตพุต เชน หนาจอคอมพิวเตอร หรือเคร่ืองพมิ พแ บบเลเซอร ถา รปู ภาพมีความละเอียด 300 dpi เคร่ืองพิมพแ บบเลเซอรส ามารถพมิ พได 300 dpi น่ันคือเครอ่ื งพิมพแ บบเลเซอรจะใช 1 จุดสําหรับแตละพกิ เซลของภาพ 6. ความละเอยี ดของจอภาพ หมายถงึ จดุ ตอนิ้ว ( dpi; dot per inch) เปนหนว ยของจํานวนจดุ ที่มากทสี่ ดุ ท่ีจอคอมพิวเตอรสามารถผลิตได โดยความละเอยี ดในการแสดงผลของจอ จะขนึ้ กบั วดี โี อการด ท่ีเรยี กวาการด จอ ซง่ึ จะมคี วามสามารถในการแสดงผลหลากหลาย เชน แสดงผลทคี่ วามละเอียด 800 x 600 พิกเซลหมายถงึ จาํ นวนพิกเซลในแนวนอน เทา กบั 800 จดุ และจาํ นวนพิกเซลในแนวตั้ง เทากับ 600 จดุ 7. ความละเอยี ดของเครอ่ื งพิมพ คือ จํานวนจุดเลเซอรทีเ่ คร่ืองพมิ พสามารถผลิตไดตอ นิ้ว เชน ถา เคร่ืองพิมพแ บบเลเซอรมคี วามละเอียด 300 จุดตอน้ิว ( dots per inch – dpi ) น่ันคือ เคร่อื งพิมพส ามารถพิมพได 300จุดทกุ ๆ 1 นว้ิ

รายวชิ า เทคนคิ การสรางภาพเคลื่อนไหวคอมพวิ เตอร 12 8. ความละเอียดของอมิ เมจเซตเตอร (Image setter) คอื เครือ่ งพิมพแบบเลเซอรท ีม่ คี ุณภาพสงู สามารถพิมพลงบนกระดาษถา ยภาพ หรอื ฟลมก็ได โดยสามารถพมิ พร ูปภาพใหค วามละเอียด 1800 dpi ถงึ 3000 dpi 9. บติ ( BIT ) Bit ยอ มาจาก Binary Digit หมายถงึ หนวยความจาํ ที่เลก็ ท่สี ดุ ของคอมพิวเตอรประกอบดวยตัวเลข 2 จํานวน คือ 0 หมายถงึ ปด และ 1 หมายถงึ เปด หรือสขี าวและสีดาํ 10. ความลกึ ของบติ ( Bit Depth ) ความลึกของบิต หมายถงึ จาํ นวนบิตท่ใี ชใ นแตล ะพิกเซล ในกราฟก แบบบิตแมปสีของพิกเซลถูกบนั ทึกโดยใชบติ ถาใชสีมากก็แสดงสไี ดมากข้ึน ถามีหนวยความจํา 2 บิต ในการเกบ็ รวบรวมขอมูล สามารถใชส ไี ดทง้ั หมด 2 เทา กบั 4 สี คอื สามารถกลับสีได 4 วิธี คือ 00, 01,10 และ 11 ถามี 2 บติ สามารถสรา งสใี หก ับพกิ เซลทงั้ หมด 4 เฉดสีเราเรยี กสแี บบ 24 บิตวา เปนสเี หมอื นจรงิ หรือ True Color ในการแกไ ขภาพ ในระดบั มืออาชีพอาจจะมีการใชสีถึง 36,48,64 บิต แตใ นคอมพิวเตอรทั่วๆ ไปมกั จะใชส ไี มเ กิน 32 บิต (4,294 ลานสี)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook