Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Communication Media

Communication Media

Published by wiraya_srikarw, 2021-07-09 08:23:11

Description: Communication Media

Search

Read the Text Version

ข้อดใี นการใช้วทิ ยไุ มโครเวฟในการสื่อสาร • คุณสมบตั กิ ารกระจายคล่ืนไมโครเวฟคงท่ี • ทศิ ทางของสายอากาศเป็ นแนวพ่งุ ตรงไปในทศิ ทางทตี่ ้องการ • อตั ราขยายสัญญาณของสายอากาศสูง • สามารถทาให้อตั ราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดขี นึ้ คือมสี ัญญาณ รบกวนเกดิ ขนึ้ น้อย • สามารถส่งคล่ืนได้ในย่านกว้างเพราะคล่ืนมคี วามถสี่ ูงมาก • เครือข่ายมคี วามน่าเชื่อถือสูงในการใช้งาน • ปลอดภยั จากการเกดิ ภยั ธรรมชาติ เช่น นา้ ท่วม แผ่นดนิ ไหว • การรบกวนทเ่ี กดิ จากมนุษย์ทาขนึ้ มีน้อย เช่น อุบตั เิ หตุ การก่อสร้าง ไฟไหม้ • การก่อสร้างทาได้ง่าย และเร็ว • สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างน้อย ใช้ค่าใช้จ่ายน้อยแต่คุณภาพสูง

คลื่นไมโครเวฟ ข้อดี มชี ่วงความถ่ีทก่ี ว้าง สามารถจดั สรรความถ่ใี ห้เป็ นช่องสัญญาณย่อยๆ ได้ อตั ราการส่งข้อมูลสูง ราคาถูก ติดต้ังง่าย สามารถใช้ในพืน้ ทท่ี ุรกนั ดารทไ่ี ม่สามารถเดนิ สายเข้าไปได้ ข้อเสีย ส่งในแนวเส้นตรงไม่ได้โค้งไปตามเปลือกโลก ความโค้งของโลกเป็ น อุปสรรค สัญญาณมคี วามถส่ี ูง ไม่สามารถผ่านกาแพงได้ จงึ วางอปุ กรณ์รับสัญญาณ ภายในอาคารไม่ได้ - สัญญาณจะถูกรบกวนได้ง่าย

ไมโครเวฟดาวเทยี ม • กำรส่งสญั ญำณไมโครเวฟผำ่ นดำวเทียม (Satellite Microwave) ประกอบดว้ ยดำวเทียมหน่ึง • ซ่ึงจะตอ้ งทำงำนร่วมกบั สถำนีพ้ืนดินต้งั แต่สองสถำนีข้ึนไป สถำนี พ้ืนดินถูกนำมำใชเ้ พ่อื กำรรับและส่งสญั ญำณไปยงั ดำวเทียม ซ่ึงจะทำ หนำ้ ท่ีเป็นอุปกรณ์ทวนสญั ญำณ • ระยะสูงประมำณ 35,680 กิโลเมตรจำกผวิ โลก ตำมแนวเส้นศูนยส์ ูตร ซ่ึงจะเป็ นระยะท่ีเหมำะสม • ดำวเทียมประเภทน้ีเสมือนลอยนิ่งคงที่อยเู่ สมอ ซ่ึงเรียกวำ่ ดำวเทียม โคจรสถิตย์ (Geosynchronous Orbiting Satellites (GEOS)

ดำวเทียม (Satellite) ดำวเทียม กค็ ือสถำนีไมโครเวฟลอยฟ้ำ ทำ หนำ้ ที่รับสญั ญำณจำกพ้นื โลกแลว้ ขยำยสญั ญำณ หรือทวนสญั ญำณ แลว้ ส่งขอ้ มูลน้นั กลบั มำยงั พ้นื โลก เคร่ืองขยำยสญั ญำณของดำวเทียม (Transponder) จะรับขอ้ มูลจำกสถำนีภำคพ้นื ซ่ึงมี กำลงั อ่อน มำขยำย แลว้ ส่งสญั ญำณขอ้ มูลไปดว้ ย ควำมถ่ีในอีกควำมถ่ีหน่ึงลงไปยงั สถำนีปลำยทำง 09/07/64

ดาวเทียม (Satellite) • ดำวเทียมใชเ้ สำอำกำศในกำรรับสญั ญำณที่ส่งข้ึนไปจำกพ้นื โลก เรียกวำ่ กำรอพั ลิ้งค์ (Uplink) จำกน้นั จะทำกำรขยำยสญั ญำณท่ี รับไดใ้ หม้ ีควำมชดั เจนมำกข้ึนและเปลี่ยนขนำดควำมถ่ีคล่ืนให้ เหมำะสมแลว้ จึงใชอ้ ุปกรณ์ท่ีทำหนำ้ ที่ส่งสญั ญำณ • เรียกวำ่ ทรำนสปอนเดอร์ (Transponder) เพื่อส่งสญั ญำณน้นั กลบั ลงมำยงั พ้นื โลก เรียกวำ่ ดำวนล์ ิ้งค์ (Downlink) ท้งั น้ีกำร แยกควำมถี่ของคลื่น อพั ลิ้งคแ์ ละดำวนล์ ิ้งคอ์ อกจำกกนั กเ็ พอ่ื ไม่ใหร้ บกวนซ่ึงกนั และกนั



09/07/64

Up-link Down-link มอี ุปกรณ์ระบบทวนสัญญาณ (Repeater)

ดำวเทียม (Satellite) ประเภทของดำวเทียมสำหรับกำรส่ือสำร ท่ีใช้ งำนอยำ่ งแพร่หลำยจำแนกได้ 3 ชนิดคือ • ดำวเทียมคำ้ งฟ้ำ (Geostationary Earth Orbit :GEO) • ดำวเทียมวงโคจรปำนกลำง (Intermediate Earth Circular :ICO) • ดำวเทียมวงโคจรต่ำ(Low Earth Orbiting :LEO) 09/07/64

ดาวเทยี มค้างฟ้า (Satellite) ดำวเทียมจะถูกส่งข้ึนไปใหล้ อยอยสู่ ูงจำกพ้นื โลกประมำณ 36,000 กม. แลว้ จะหมุนดว้ ยควำมเร็วเท่ำกบั โลกเหมือนกบั ดำวเทียมน้นั ลอยอยกู่ บั ท่ีในอวกำศ จึงเรียกวำ่ ดำวเทียมคำ้ งฟ้ำ สถำนีดำวเทียมภำคพ้นื ท่ีติดต่ออยดู่ ว้ ยจะทำกำรส่งสญั ญำณขอ้ มูล ไปยงั ดำวเทียมซ่ึงจะหมุนไปตำมกำรหมุนของโลกซ่ึงมีตำแหน่ง คงท่ีเม่ือเทียบกบั ตำแหน่งบนพ้นื โลก 09/07/64

ดำวเทียมวงโคจรปำนกลำง (ICO) มีวงโคจรอยเู่ หนือพ้นื โลกประมำณ 10,000 กิโลเมตร ตอ้ งใชด้ ำวเทียมประมำณ 10–15 ดวงจึง สำมำรถคลอบคลุมกำรสื่อสำรท้งั โลก เป็น เทคโนโลยที ี่สร้ำงข้ึนมำเพื่อใชง้ ำนกบั โทรศพั ทม์ ือถือ ผำ่ นดำวเทียม ICO โดยทีดำวเทียมประเภทน้ีจะไม่ เคล่ือนที่ตำมโลกน้นั จะตอ้ งใชว้ ธิ ี Hand off เพือ่ ยำ้ ย ช่องสญั ญำณจำกดำวเทียมดวงหน่ึง 09/07/64

ดำวเทียมคงโครจรต่ำ (LEO) โคจรอยสู่ ูงจำกพ้นื โลกไม่เกิน 1390 กิโลเมตร พฒั นำเป็น โครงกำร IERIDIUM ของบริษทั โมโตโลล่ำ หลกั กำรของระบบน้ีคือ เมื่อดำวเทียมดวงหน่ึงโคจรผำ่ นสถำนีบนพ้ืนโลกไปแลว้ ดำวเทียมอีก ดวงหน่ึงจะเคล่ือนที่เขำ้ มำแทน ดงั น้นั สถำนีภำคพ้นื ดินจะไม่ตอ้ งหมุน ไปตำมดำวเทียม โดยทวั่ ไปจะใชร้ ูปแบบกำรคลำ้ ยกำรเคล่ือนที่ผำ่ น Base Station ของระบบ Radio wave 09/07/64

กำรส่ือสำรผำ่ นดำวเทียมท่ีนิยมกนั มำกอีกระบบหน่ึงคือ VSAT(Very Small Aperture Terminals) มีจำนรับ-ส่ง ขนำดเลก็ ขนำด ของเสน้ ผำ่ ศูนยก์ ลำงประมำณ 1 ฟตุ เท่ำน้นั สญั ญำณดำวเทียมประเภทน้ี มีกำลงั ส่งประมำณ 1 Watt และส่งขอ้ มูลข้ึนดว้ ยอตั รำส่ง (Uplink)19.2 Kbps และรับขอ้ มูล(Uplink) ดว้ ยอตั รำ 512 Kbps ภำคส่งของ VSAT คอ่ นขำ้ งต่ำ ดงั น้นั กำรส่งมกั จะตอ้ งส่งผำ่ น สถำนีศูนยก์ ลำง (Hub Station) ดงั น้นั ส่วนมำก VSAT มกั จะใชเ้ ป็นสถำนี ในภำครับ มำกวำ่ ระบบส่ือสำรท่ีใชจ้ ำนดำวเทียมประเภทน้ีไดแ้ ก่ จำน DTH เช่น จำนดำวเทียมท่ีรับสญั ญำณถ่ำยทอดจำก UBC เป็นตน้ 09/07/64

ดำวเทียมในประเทศไทย ดำเนินกำรโดยบริษทั ชินแซทเทลไลท์ จำกดั (มหำชน) ในปัจจุบนั มีดำวเทียมจำนวน 3 ดวงคือ ไทยคม 1,2 และ 3 นอกจำกน้ีในอนำคตยงั มีกำรพฒั นำดำวเทียว iPSTAR เพอ่ื รองรับ เทคโนโลยสี ่ือสำรควำมเร็วสูงแบบต่ำงๆ ได้ ดำวเทียมไทยคม 1 และ 2 เป็นดำวเทียมรุ่นแรกของโครงกำร ดำวเทียมไทยคม เป็นรุ่น HS-376 ผลิตโดย บริษทั ฮิวจ์ แอร์ครำฟท์ ประเทศสหรัฐอเมริกำ พ้นื ท่ีกำรใหบ้ ริกำรยำ่ นควำมถี่ C-Band ครอบคลุมประเทศไทย ลำว กมั พชู ำ เมียนมำร์ เวยี ดนำม มำเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ เกำหลี ญี่ป่ ุน และชำยฝ่ังตะวนั ออกของประเทศจีน และใน ยำ่ นควำมถ่ี Ku-Band ครอบคลุมประเทศไทยและประเทศในแถบอิน โดจีน09/07/64

ข้อดขี องระบบดาวเทยี ม - สัญญาณครอบคลมุ ได้ทว่ั โลก - ค่าใช้จ่ายไม่ขนึ้ อยู่กบั ระยะทาง ข้อเสียของระบบดาวเทียม - มเี วลาหน่วงในการส่งสัญญาณ - ลงทุนสูง

แสงอนิ ฟราเรด (Infrared Transmission) • ลำแสงอินฟรำเรดเป็นคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้ำ (Electromagnetic) ที่มี ควำมถ่ีระหวำ่ งแสงท่ีตำมองเห็นและคลื่นวทิ ยุ • เคร่ืองคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์ประกอบชนิดใหม่ ๆ มกั จะมี ช่องส่ือสำรอินฟรำเรดติดต้งั มำดว้ ยเรียกวำ่ ช่องส่ือสำร IrDA (Infrared Data Association) ซ่ึงเป็นมำตรฐำนที่จดั ต้งั ข้ึนมำจำก ควำมร่วมมือระหวำ่ งกลุ่มบริษทั ผผู้ ลิตอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ ทว่ั ไป

อนิ ฟราเรด มีความถ่ีต้งั แต่ 300 GHz – 400 THz ข้อดี เหมาะสาหรับการสื่อสารระยะใกล้ๆ การรบกวนกนั ของสัญญาณมนี ้อย เนื่องจากสัญญาณไม่สามารถผ่าน กาแพงได้ ข้อเสีย ไม่เหมาะกบั การส่ือสารระยะไกล ไม่สามารถใช้ได้ดภี ายนอกอาคารทม่ี แี สงแดด สัญญาณจะเกดิ การ รบกวนกนั ได้ ตัวอย่างเช่น การส่ือสารข้อมูลของคยี ์บอร์ด เมาส์ พรินเตอร์

คลื่นวทิ ยุ (Broadcast Radio) • มีกำรแพร่กระจำยออกอำกำศโดยทวั่ ไปท้งั ในระบบ AM และ FM มีควำมถี่อยใู่ นช่วง 30-300 MHz • คลื่นวทิ ยปุ ระเภทอื่นจะใชค้ วำมถ่ีในยำ่ นอื่น เช่น คล่ืนวิทยุ สมคั รเล่น คล่ืนโทรศพั ท์ วทิ ยคุ ล่ืนส้นั เป็นตน้ • กำรแพร่กระจำยคล่ืน หรือที่เรียกวำ่ กำรส่งออกอำกำศ จะเกิดข้ึน ในทกุ ทิศทำง (Omnidirectional) ทำใหเ้ สำอำกำศที่ใชร้ ับสญั ญำณ ไม่จำเป็นตอ้ งต้งั ทิศทำงใหช้ ้ีตรงมำยงั เสำส่งสญั ญำณ • แมว้ ำ่ รูปแบบของกำรแพร่คลื่นสญั ญำณทว่ั ไปจะเป็นแบบวงกลม แต่กำรใชเ้ ทคโนโลยขี ้นั สูงเขำ้ ช่วยจะสำมำรถสร้ำงรูปทรงแบบ วงรีข้ึนมำได้ ท้งั น้ีเพือ่ หลีกเลี่ยงพ้ืนท่ี ทบั ซอ้ นของสัญญำณจำก สถำนีขำ้ งเคียงใหน้ อ้ ยลง

แบบที่ 1 คล่ืนวทิ ยแุ บบเซลูล่ำร์ เป็นระบบโทรศพั ทไ์ ร้สำยท่ีเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับงำนธุรกิจใน ปัจจุบนั วทิ ยเุ ซลูล่ำร์สำหรับโทรศพั ทแ์ บ่งคลื่นออกเป็น 2 ชนิดไดแ้ ก่ อนำลอ็ ก และดิจิตอล อีกท้งั มีกำรแบ่งยำ่ นควำมถ่ีต่ำงๆ ไดแ้ ก่ 800 MHz 900MHz 1800 MHz เป็นตน้ วทิ ยเุ ซลูล่ำร์ มีขอ้ จำกดั อยตู่ รงจุดท่ีใหบ้ ริกำรทบทวนสญั ญำณ กล่ำวคือถำ้ เครื่องโทรศพั ทอ์ ยหู่ ่ำงจำกสถำนีเครือข่ำยมำกเกินไป จะทำ ใหส้ ญั ญำณอ่อนลงหรือถูกรบกวนได้ ดงั น้นั ถำ้ ตอ้ งกำรส่งคลื่นวทิ ยใุ น ระยะไกล กจ็ ะตอ้ งมีสถำนีขยำยสญั ญำณที่เรียกวำ่ Base station ใน แต่ ละช่วงของสญั ญำณ 09/07/64

แบบท่ี 2 วทิ ยุแบบสเปรดสเปกตรัม (Spread Spectrum Radio) • วิทยแุ บบสเปรดสเปกตรัม ใชว้ ธิ ีกำรส่งสญั ญำณออกไปหลำยคล่ืน ควำมถี่พร้อม ๆ กนั ภำยในแถบคล่ืน (Spectrum) ท่ีกำหนด • แHเทรoคกpนpสิiคnญั ทgญ่ีใSชำpว้ณrทิeจaยะdแุ ถSบูกpบสeสc่งtอเrปuอmรกดไ(สปFเHทปSี่คกSลต)ื่นรไัมคดแวร้ บำับมบกถแำี่แรรรกพกเฒัรซียน่ึงกำเวลมำ่ือำใFกชrมeง้ ำqำจuนำeตกn้cงกั yแำรตส่ ุ่ม จ(เำรกียแกถวบำ่ คกลระ่ืนโทดี่กดำหหนรือดเHป็oนpรpะinยgะ)เวไลปำใทชี่สค้ ้นั ลม่ืนำคกวำจมำกถน่ีท้นั่ีสกอจ็งซะ่เึงปเลลือี่ยกนโดย กำรสุ่มข้ึนมำเหมือนกนั แลว้ จึงกระโดดไปใชค้ ล่ืนควำมถี่อื่นสลบั กนั ไปเร่ือย ๆ • วธิ ีกำรแบบท่ีสองเรียกวำ่ Direct Sequence Spread Spectrum (DSSS) จะส่งสญั ญำณออกไปทุกควำมถ่ีในแถบคล่ืนที่กำหนดพร้อม ๆ กนั สขวธิอ่้งีกอมำอูลรกจคไะน้ปถหูกในำแแบคลล่งะอ่ืนนอคำกวCเำปมh็นiถpรี่ตหม่ำำงสั ปยๆรอ่ ะกยกนัเรอียทบกำกวงนัดำ่ เำ้Cปน็hนเiคpขรอ้ซื่อม่ึงงูลจผะตรู้ ถำับมูกกเกดจ็ ระิมะตจอ้ ำงยทแรลำะบ

• ระบบเครือขำ่ ยเฉพำะบริเวณส่วนใหญ่ท่ีใชก้ ำรสื่อสำรผำ่ นคล่ืนวิทยแุ บบ สเปรดสเปกตรัมจะใชว้ ธิ ี DSSS เนื่องจำกมีขอ้ ดีที่สำมำรถส่งขอ้ มูลใน อตั รำที่สูงและถูกรบกวน ไดน้ อ้ ยกวำ่ ซ่ึงมีระยะกำรรับ-ส่งขอ้ มูลถึง 1,000 ฟุต หรือประมำณ 330 เมตร แต่บำงแห่งกน็ ำระบบ FHSS ไปใช้ เนื่องจำกเคร่ืองส่งใชพ้ ลงั งำนนอ้ ยกวำ่ ทำใหอ้ ุปกรณ์มีขนำดเลก็ และมี รำคำถูกกวำ่ เช่น อุปกรณ์สำหรับกำรตรวจสอบปริมำณสินคำ้ ในคลงั

คล่ืนวทิ ยุ มคี วามถ่ีต้ังแต่ 3 KHz – 1 GHz ใช้วธิ ีการแพร่สัญญาณแบบกระจายออกไปรอบทิศทาง เสาอากาศของ ตัวส่งและรับไม่จาเป็ นต้องอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกนั มักใช้การแพร่ สัญญาณแบบ Sky Propagation

คล่ืนวทิ ยุ (Cont.) ข้อดี สามารถเดนิ ทางผ่านกาแพงได้ ข้อเสีย เน่ืองจากมกี ารแพร่สัญญาณรอบทศิ ทาง ถ้ามีตวั ส่ง สัญญาณ 2 แห่งใช้ความถเี่ ท่ากนั ทาให้สัญญาณเกดิ การรบกวน กนั ได้ ไม่สามารถควบคุมการแพร่สัญญาณให้อยู่เฉพาะภายใน หรือภายนอกอาคารได้ ตวั อย่างเช่น เครือข่ายวทิ ยุระบบ AM, FM, ระบบโทรทัศน์

ส่ือกลางแบบไร้สาย (Wireless Media) ประโยชน์ของสื่อกลางแบบไร้สายเหมาะกบั งานดงั นี้ : 1. การตดิ ต้งั ระบบเพม่ิ เตมิ ตามในอาคารเก่าทไ่ี ม่มแี บบแผนผงั การเดนิ สายอยู่ 2. เม่ือต้องการเดนิ สายระบบเครือข่ายท้องถนิ่ ข้ามถนน หรือระหว่างตกึ ทอี่ ยู่คนละ ฟากถนน 3. ในสานักงานทมี่ กี ารเคลื่อนย้ายบ่อยๆ หรืองานสนาม ๕๐

ประเภทของส่ือกลางแบบไร้สาย 1. ส่ือกลาง LAN แบบออฟตคิ อล 1.1 Broadcasting (Optical LAN Media) 1.2 Point to Point 2. สื่อกลาง LAN แบบวทิ ยุ 2.1 Spread Spectrum (Radio LAN Media) 2.2 UHF 2.3 Microwave 2.4 Satellite ๕๑

ออฟตคิ อล LAN แบบการกระจายเสียง (Broadcasting) ๕๒

ออฟตคิ อล LAN แบบจุดต่อจุด (Point to Point ) ๕๓

ระบบส่ือกลาง LA N-วทิ ยุ แบบ Spread Spectrum แบบท่ี 1. การทางานของ Spread Spectrum คือ ตวั ส่งจะสามารถ เปลย่ี นความถีไ่ ด้หลายๆ ความถ่ีไปเร่ือยๆ (hopping) แต่ตวั ส่งและ ตวั รับต้องซิงโครไนซ์ (syncronize) กนั แบบท่ี 2. แบ่งข้อความทต่ี ้องการส่งออกเป็ นหลายๆ ส่วน และส่งแต่ละ ส่วนด้วยความถท่ี แ่ี ตกต่างกนั รวมท้งั สามารถส่ง dummy data (ข้อมูล หลอกๆ ) ออกไปได้ด้วย ประโยชน์ : สามารถป้องกนั การลกั ลอบดกั ฟังข้อมูลได้ดี ๕๔

ระบบส่ือกลางLA N-วทิ ยุ แบบ UHF 18 GHz ๕๕

LA N-วทิ ยุ แบบ UHF แสดงการจัด cells ๕๖

ระบบสื่อกลาง LA N-วทิ ยุ แบบไมโครเวฟ d = 7.14 (1. 33 h)1/2 กม. เมื่อ d = ระยะห่างระหว่างสถานี (กโิ ลเมตร) h = ความสูงของทาวเวอร์ (เมตร) ๕๗

แสดงย่านความถไี่ มโครเวฟ ที่สัมพนั ธ์กบั แบนด์วดิ ท์ และอตั ราการส่งข้อมูล ๕๘

แสดงการส่ งสัญญาณไมโครเวฟผ่านสถานีทวนสัญญาณ ส่งต่อทอดการส่งสัญญาณต่อไปเป็ นช่วงๆ (hop) ๕๙

แสดงการส่งข้อมูลโดยวทิ ยไุ มโครเวฟผ่านภูเขาหรือส่ิงกดี ขวาง ๖๐

ระบบสื่อกลาง LA N-วทิ ยุ แบบดาวเทยี ม 1 BbทiWรt-าr=นaสt3e6ป=อMน5H0รM์zเดbอpรs์ up-link 36,000 กม. down-link ระยะห่างของดาวเทียม 4o ใช้ย่านความถี่ 4/6 GHz C แบนด์ ระยะห่างของดาวเทยี ม 3o ใช้ย่านความถี่ 12/14 GHz Ku แบนด์ ๖๑

การเชื่อมโยงแบบจุดต่อจุด ๖๒

การเชื่อมโยงแบบแบบแพร่สัญญาณ Geosynchronous Orbit ๖๓

256 kbps แสดงการรับส่ งสัญญาณในระบบ VSAT และจานสายอากาศทีม่ ีขนาด เลก็ VSAT : Very Small Aperture Terminal ๖๔

คุณสมบตั ขิ องระบบสื่อสารดาวเทยี ม 1. ดาวเทยี ม ส่งข้อมูลได้ระยะไกลและอตั ราการส่ง ข้อมูลสูงถงึ 50 Mbps - เทยี บกบั สายโทรศัพท์ซ่ึงส่งข้อมูลแบบ อนาลอ็ กได้ 56 Kbps และ สัญญาณดจิ ติ อล 1.544 Mbps ใน อเมริกา หรือ 2.048 Mbps ในยุโรป ๖๕

2. ระบบสื่อสารดาวเทยี มมเี วลาหน่วงของสัญญาณสูง เวลาหน่วงต่อ ระยะทาง - ไมโครเวฟมคี วามหน่วงในการแพร่สัญญาณประมาณ 3 microsec/km - สายโคแอกเชี่ยลมีความหน่วงประมาณ 53 microsec/km ๖๖

3. ค่าใช้จ่ายในการให้บริการส่งข้อมูลของระบบดาวเทยี มไม่ ขนึ้ อยู่กบั ระยะทางทหี่ ่างกนั ของสถานีภาคพืน้ ดนิ สถานีท่ี ซ่ึงอยู่ภายใต้เงาของดาวเทยี มดวงเดยี วกนั จะใช้บริการส่ง ข้อมูลเหมือนกนั อตั ราค่าบริการควรเท่ากนั 4. เน่ืองจากดาวเทียมเป็ นเครือข่ายแพร่กระจายจึงมีปัญหา เรื่องความปลอดภยั ของข้อมูล 5. เส้นใยนาแสงแล้ว มีอัตราการส่งข้อมูลได้สูงกว่า และมี อัตราความผิดพลาดของข้อมูลต่ากว่า ระบบส่ื อสาร ดาวเทยี ม ๖๗

ตวั อย่างการใช้การส่ือสารข้อมูลผ่านดาวเทยี ม

• หลกั การเลือกส่ือกลางในการใช้งาน • กำรพจิ ำรณำเลือกส่ือใหเ้ หมำะสมกบั กำรใชง้ ำนน้นั จะตอ้ งคำนึงถึง ส่ือประเภทเดิมที่มีใชง้ ำนอยแู่ ลว้ และมูลคำ่ สำหรับกำรนำสื่อชนิดใหม่มำ ทดแทนสื่อแบบเดิม ในกรณีที่กำลงั พฒั นำระบบใหม่ท้งั ระบบ ผอู้ อกแบบจะตอ้ งพจิ ำรณำในเรื่องรำคำของสื่อท่ีใช้ ควำมเร็วในกำร ถ่ำยเทขอ้ มูลอตั รำควำมผดิ เพ้ยี นของขอ้ มูลและควำมปลอดภยั ของขอ้ มูล ท่ีถูกส่งออกไปในสื่อน้นั • 1 ราคาของสื่อกลาง • ในปัจจุบนั สื่อชนิดท่ีมีรำคำต่ำสุดน้นั คือสำยยทู ีพี มีรำคำทว่ั ไปประมำณ เมตรละ 18-50 บำทข้ึนอยกู่ บั ประเภทของสำย จึงทำใหส้ ำยชนิดน้ีเป็นที่ นิยมในกำรนำมำใชง้ ำนอยำ่ งกวำ้ งขวำง กำรเพม่ิ เติมหรือขยำยระบบ เครือขำ่ ยในภำยหลงั กส็ ำมำรถทำไดโ้ ดยง่ำย แนวโนม้ รำคำของสำยชนิด น้ีกจ็ ะยงั คงไม่เปล่ียนแปลงมำกนกั

• สายโคแอกเซียลมรี าคาสูงกว่าสายยูทพี ี แต่กย็ งั คงมรี าคาถูกกว่าสายใยแก้ว นาแสง โดยทว่ั ไปสายชนิดนีม้ รี าคาอยู่ทป่ี ระมาณเมตรละ 50-100 บาท เนื่องจากความทนทานและช่องส่ือสารขนาดกว้างมาก อาคารทั่วไปจึง ยงั คงใช้สายโคแอกเซียลเป็ นหลกั หรือใช้ควบคู่กบั สายยูทพี ี ในการเดินสาย ระหว่างส่วนต่าง ๆ หรือระหว่างช้ันภายในอาคารน้ัน • สายประเภทที่มีราคาสูงสุดคือสายใยแก้วนาแสง ถ้าจานวนสาย 4-8 Core ราคาต่อเมตร 300-500 บาท และจานวนสาย 8-12 Core ราคา 400-800 บาท โดยไม่รวมค่าติดต้งั • ในประเทศไทยมีสายชนิดนีอ้ ยู่ 2 แบบคือ แบบใช้เดนิ ภายในอาคาร และ แบบใช้เดินภายนอกอาคาร ซึ่งจะต้องมฉี นวนหุ้มพเิ ศษ ส่วนจานวนเส้นใย แก้วภายในสาย (Core) น้ันมักจะไม่มีให้เลือกมากนัก สายใยแก้วนาแสงมี แนวโน้มทรี่ าคาจะถูกลงเร่ือย ๆ จากคุณสมบัติพเิ ศษทเี่ หนือกว่าสายชนิด อื่นทาให้สายชนิดนีก้ าลงั ได้รับความนิยมในการนามาใช้งานมากขนึ้

• ราคาของส่ือกลางไม่ได้เป็ นตัวประกอบเพยี งอย่างเดียวในการพจิ ารณา เช่น การเดินสายระยะประมาณ 80 กโิ ลเมตรน้ัน อาจพจิ ารณาเลือกใช้ สายวงจรเช่าจากองค์การโทรศัพท์ (Leased Telephone Line) หรือจากบริษทั เอกชนซึ่งอาจมีราคาทตี่ ่ากว่าการลงทุนเดนิ สาย เองท้งั หมด และในหลายโอกาสกไ็ ม่สามารถจะดาเนินการเองได้แม้ว่าจะ มคี ่าใช้จ่ายต่ากว่ากต็ าม • การเชื่อมต่อในระยะทางไกลอาจเลือกใช้การเช่าช่องสัญญาณ ดาวเทยี มแทนการใช้สายประเภทต่าง ๆ เน่ืองจากข้อได้เปรียบของการ ใช้ดาวเทียมน้ันไม่มคี วามจาเป็ นจะต้องเดินสายใด ๆ • โดยปกติราคาสาหรับค่าเช่าช่องสัญญาณดาวเทียมจะขึน้ อยู่กบั ความเร็ว ทตี่ ้องการและระยะเวลาทตี่ ้องการใช้ อย่างไรกต็ าม • อตั ราค่าเช่าช่องสัญญาณดาวเทยี มมักจะมรี าคาทส่ี ูงมากเมื่อ เปรียบเทียบกบั ค่าเช่าสายชนิดอ่ืน ๆ จงึ มักเลือกใช้ในกรณที ไี่ ม่มี ทางเลือกอื่นทด่ี กี ว่านี้

2. ความเร็วในการส่งข้อมูล • ควำมเร็วในกำรส่งขอ้ มูล (Speed) ไดร้ ับกำร พฒั นำใหส้ ูงข้ึนตำมเทคโนโลยใี หม่ ๆ สำยยทู ีพีลำดบั ข้นั 1 (Category 1) ไดถ้ ูกนำมำใชง้ ำนนำนมำกแลว้ จึงเป็นสำย ท่ีมีควำมเร็วต่ำที่สุด ส่วนสำยโคแอกเซียล สำยยทู ีพลี ำดบั ข้นั 5 (Category 5) ไมโครเวฟท้งั แบบบนพ้นื ดิน และแบบผำ่ น ดำวเทียมมีควำมเร็วสูงข้ึนตำมลำดบั ดว้ ย • เทคโนโลยปี ัจจุบนั สำยใยแกว้ นำแสงเป็นสื่อท่ีมีระดบั ควำมเร็วสูงสุด ดงั ตำรำงที่ 2.4

เทคโนโลยปี ัจจุบนั สายใยแก้วนาแสงเป็ นสื่อท่มี ี ระดบั ความเร็วสูงสุด ดงั ตารางที่ 2.4

• 3. อตั ราการผดิ พลาดของข้อมูล • องคป์ ระกอบที่สำคญั ที่สุดที่จำเป็นตอ้ งนำมำใชใ้ นกำร พิจำรณำเลือกสื่อท่ีเหมำะสมในระบบเครือข่ำยคือวธิ ีกำรกำจดั หรือ ลดควำมผดิ พลำดของขอ้ มูล • สื่อท่ีมีอตั รำกำรส่งขอ้ มูลสูงมำก แต่ในขณะเดียวกนั กเ็ กิดควำม ผดิ เพ้ียนของขอ้ มูลสูงตำมไปดว้ ย ทำใหค้ วำมเร็วน้นั ไม่มี ควำมหมำยหรือมีควำมสำคญั ลดลง • โดยปกติสื่อ (Media) ไม่วำ่ จะเป็นชนิดใดกต็ ำม ไดร้ ับกำร ออกแบบใหเ้ หมำะสมกบั ควำมเร็วท่ีกำหนดใหใ้ ชอ้ ยแู่ ลว้ นนั่ คือจะ มีโอกำสท่ีจะเกิดขอ้ ผดิ พลำดนอ้ ยมำก •

• ข้อผดิ พลาดของข้อมูลทเี่ กดิ ขึน้ เช่น ผ้สู ่งได้ส่งข้อมูลออกไปเป็ นบิท “1” แต่ผ้รู ับเห็น เป็ นบทิ “0” หรือรับไม่ได้เลย เกดิ ขึน้ เน่ืองจากความผดิ เพยี้ นของสัญญาณ (Distortion) ซ่ึงเป็ นคุณสมบัตติ ามธรรมชาตทิ เี่ กดิ ขึน้ จากหลายสาเหตุ เช่น • ความแรงหรือความเข้มของสัญญาณลดลง เนื่องจากระยะทางไกลเกนิ ไปหรือ สัญญาณรบกวนจากอุปกรณ์สลบั ช่องสัญญาณหรือสัญญาณรบกวนทเ่ี กดิ จากฟ้าผ่า ลงมาโดยตรงหรือทจี่ ุดใกล้สายส่ือสารมาก • ส่ือบางชนิดถูกรบกวนได้โดยง่ายจากสัญญาณแม่เหลก็ ไฟฟ้าหรือจากความผดิ ปกติ ของกระแสไฟฟ้าเอง เช่น สายยูทพี ี หรือสายโคแอกเซียล ในขณะทส่ี ัญญาณใน สายใยแก้วจะไม่ถูกรบกวนเลย • สัญญาณไมโครเวฟแบบพืน้ ดนิ และแบบดาวเทยี มจะถูกรบกวนจากสภาพภูมิอากาศ และจากจุดดาบนดวงอาทติ ย์ (Sunspots) สัญญาณไมโครเวฟยงั เกดิ การรบกวน กนั เองถ้าใช้ความถเี่ ดยี วกนั หรือความถ่ที ใี่ กล้เคยี งกนั มากเกนิ ไป • การรบกวนในรูปแบบต่าง ๆ จะส่งผลให้เกดิ ความผดิ พลาดของข้อมูลได้โดยตรง การเลือกใช้ส่ือกลางจาเป็ นจะต้องพจิ ารณาเป็ นอย่างดเี พื่อให้เกดิ ข้อผดิ พลาดน้อย ทส่ี ุด หรือจะต้องสามารถตรวจหาและแก้ไขข้อผดิ พลาดทเ่ี กดิ ขึน้ ให้ได้

• 4. ความปลอดภยั (Security) • ข้อพจิ ารณาท่ีสาคญั อกี ประการหนึ่งคือ เร่ืองของความปลอดภัยใน ทนี่ ีห้ มายถงึ ความพยายามในการขโมยข้อมูลจากบุคคลทไ่ี ม่ได้รับอนุญาต • เช่น สายยูทพี ี สายโคแอกเซียล และสายทุกชนิดทใ่ี ช้ลวดทองแดงเป็ น พาหะในการส่งข้อมูลน้ันมคี วามปลอดภยั ในระดบั ต่ามาก • การขโมยข้อมูลจากส่ือทเ่ี ป็ นสายลวดทองแดงน้ันทาได้ง่ายมากโดยการ ปอกฉนวนหุ้มภายนอกออกแล้วใช้สายอกี เส้นหน่ึงทเ่ี ป็ นลวดทองแดง เหมือนกนั มาเชื่อมตดิ กนั เรียกว่าการแทป็ สาย เพยี งเท่าน้ัน • ข้อมูลทส่ี ่งผ่านสายเส้นแรกกจ็ ะถูกส่งเข้าไปยงั สายเส้นใหม่ด้วย การ ตรวจหาการขโมยสัญญาณด้วยวธิ ีนีท้ าได้ยากมาก • ดงั น้ันสายประเภทนีจ้ งึ ควรเดินร้อยเข้าไปท่อโลหะหรือเดินผ่านสถานทที่ ่ี มคี วามปลอดภยั เท่าน้ัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook