วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เร่อื ง“วสั ดใุ นชีวติ ประจาวนั ”
สมบตั ขิ องวสั ดุกบั การนาไปใช้
ประเภทของวสั ดุ สิ่งของต่างๆ ทพี่ บเหน็ และใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันทามา จากวัสดตุ า่ งๆ แบง่ ไดเ้ ป็น ๓ ประเภท ดงั น้ี
ประเภทของวสั ดุ ๑. โลหะ เปน็ สารอนนิ ทรยี ท์ ่ีนามาใชใ้ นชีวติ ประจาวนั โลหะเปน็ วัสดุท่มี ีความแข็งและมคี วามเหนียวสงู นอกจากน้ี ยังเป็นตวั นาไฟฟา้ และเป็นตวั นาความร้อนท่ีดี
ประเภทของวสั ดุ ๒. เซรามิก เป็นวัสดุท่ีได้จากการนาเอาวัตถุดิบต่างๆ มาขึ้นรูปและผ่านความร้อน สงู เพือ่ ใหเ้ กดิ ความแข็งแรง เซรามิก เป็นวัสดุท่ีมีความแข็งแต่เปราะ และเป็นวัสดุที่ไม่ยอมให้ กระแสไฟฟ้าไหลผา่ น
ประเภทของวสั ดุ ๓. พอลเิ มอร์ เป็นวัสดุที่ได้จากธรรมชาติ เช่น ฝ้าย ไม้ ยางพาราเส้นใยธรรมชาติ และได้จากการสงั เคราะห์ พอลิเมอร์เป็นวัสดุท่ีมีน้าหนักเบาทาให้มีสีสันได้ง่าย และเป็นวัสดุท่ีไม่ ยอมให้ กระแสไฟฟา้ ไหลผ่าน
สมบัตขิ องวสั ดุ การตรวจสอบสมบตั ขิ องวสั ดุ เราสามารถพสิ ูจน์ได้ด้วยตาและการสัมผสั สมบัติท่ีเราสามารถสังเกตได้ด้วยตาได้แก่ สี รูปร่าง ลักษณะของ พื้นผิว เช่น เรียบหรือ ขรขุ ระ ผวิ ด้านหรอื ผิวมนั เปน็ ตน้ สมบัติทีเ่ ราสามารถสมั ผสั ได้ดว้ ยมือ ได้แก่ ลักษณะผวิ วัสดุ และ นา้ หนกั โดยคาดคะเนว่าหนัก-เบา
สมบัตขิ องวสั ดุ ๑.ความยืดหยุ่น ความยืดหยุ่นเป็นสมบัติของวัสดุเมื่อถูกแรงกระทา เช่น ดึง บีบ หรือ กระแทก แล้วทาให้วัสดุเปล่ียนขนาดหรือเปลี่ยนรูปร่างไป แต่สามารถกลับคืน สู่ สภาพเดิมหรอื ใกลเ้ คียงสภาพเดิมไดเ้ มื่อไม่มีแรงกระทา
สมบตั ขิ องวสั ดุ สมบตั ิความยืดหยุน่ ของวัสดุ ซ่ึงเป็นสมบตั ิของวัสดุท่สี ามารถกลับคนื สรู่ ปู ร่าง และขนาดเดิม หลังจากถกู ดึงหรือ ถกู กดใหบ้ บี ตัวลง วัสดุทม่ี สี มบัติยดื หยนุ่ คอื เส้น ยาง เส้นยางจะยดื ตวั ออกไปได้ แต่เมือ่ หยุดดงึ ปรากฏว่าเส้นยางกลับคนื สู่สภาพเดมิ ไดอ้ ีก นา้ ยางทีไ่ ด้จากต้นยางพาราจะต้องนามา ทาเป็นยางแผน่ ก่อนนาไปใชง้ าน
สมบัตขิ องวสั ดุ ชอล์กมคี วามแขง็ ไม่มาก เมื่อถูกขูดข่วน จะเกดิ รอยได้ง่าย ๒. ความแข็ง เป็นสมบัติของวัสดทุ ่ีมีความทนทาน ต่อการถูกขูดข่วน วัสดุท่ีมีความแข็ง มาก เม่ือขูดข่วนกับวัสดุอ่ืน จะไม่เกิดรอยบน วัสดุหรือเกิดรอยน้อย เราสามารถ ตรวจสอบสมบัติความแข็งของวัสดุได้ โดยการนาวัสดุต่างๆ มาขูดขีดกัน เพื่อหา ความทนทานตอ่ การขดู ขว่ น
สมบตั ขิ องวสั ดุ โลหะเปน็ วสั ดุท่ีมีความแขง็ มากกวา่ พลาสติกและยาง ส่วนยางเป็นวัสดุ ทม่ี คี วามแข็งน้อยทีส่ ุด ส่ิงของเคร่ืองใช้แต่ละชนิดมคี วามแขง็ ไม่เท่ากนั ขนึ้ อยู่กบั สมบตั ขิ องวสั ดุทน่ี ามาผลติ
สมบัตขิ องวสั ดุ ๓. ความเหนียว ความเหนียว เป็นสมบัติประการหน่ึงของวัสดุที่สามารถรับแรงหรือ น้าหนักที่มา กระทาได้มาก วัสดุท่ีมีความเหนียวมีลักษณะท่ีดึงขาดยาก ไม่ขาดง่ายเมื่อต้องรับแรง หรอื นา้ หนักมากๆ หรือไม่ขาดเมื่อถกู ดึง ยดื ทบุ ตี เพอ่ื ให้เปล่ยี นรปู รา่ งไปจากเดิม
สมบตั ขิ องวสั ดุ ๔. การนาความร้อน การนาความร้อน เป็นสมบัติของวัสดุที่พลังงานความร้อนสามารถ ถ่ายโอน ผ่านวัสดุนี้ได้ วัสดุแต่ละชนิดสามารถนาความร้อนแตกต่างกันจะถ่ายเทพลังงาน ความร้อนได้มากและรวดเร็ว เมื่อวสั ดุชนิดน้ันได้รับความร้อนบริเวณใดบริเวณหน่ึง และจะถา่ ยโอนความรอ้ นไปสบู่ ริเวณอืน่ ดว้ ย
สมบัตขิ องวสั ดุ ๒) วสั ดุทไ่ี ม่นาความร้อน เรยี กว่า ฉนวน ความร้อนวัสดุประเภทนี้ นยิ มนามาใชท้ า ๑) วสั ดุทนี่ าความร้อน เรียกวา่ ตัวนาความ สว่ นประกอบของภาชนะหงุ ตม้ ในสว่ นท่ี ร้อน เป็นวัสดุประเภทโลหะ นยิ มนาโลหะ เปน็ ด้ามจับ หูหม้อ มาใชท้ าภาชนะหงุ ตม้ ในสว่ นทต่ี อ้ งการให้ รอ้ นเรว็ ฉนวนความร้อน ตัวนาความร้อน หม้ออุ่นอาหารทาจากวสั ดุทน่ี าความร้อนและ วสั ดุทเี่ ป็ นฉนวนความร้อน
สมบตั ขิ องวสั ดุ ๕. การนาไฟฟ้า การนาไฟฟา้ เป็นสมบัติของวัสดุทพี่ ลังงานไฟฟา้ สามารถถา่ ยโอนผ่าน วัสดชุ นิด น้นั ได้
สมบตั ขิ องวสั ดุ ๑) วสั ดุทนี่ าไฟฟ้า เปน็ วสั ดปุ ระเภทโลหะ นามาใช้ประโยชน์ได้ เช่น ทองแดง ใช้ ทาสว่ นประกอบของเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น เตารีด หลอดไฟ เป็นต้น ๒) วสั ดุที่ไม่นาไฟฟ้า เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า วัสดุประเภทนี้ นามาใช้ในการป้องกันไฟฟ้า ร่ัวหรือไฟฟ้าดูดได้ เช่น สายไฟ ปล๊ักไฟ จะมีส่วนที่ห่อหุ้มด้วยพลาสติก ซ่ึงเป็นฉนวนไฟฟ้า นอกจากน้ีส่วนที่ ห่อหุ้มเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิดมักทาด้วยพลาสติกเพราะไม่นาไฟฟ้าจึง ปลอดภยั ในการใช้งาน
สมบัตขิ องวสั ดุ ๖. ความหนาแน่น ความหนาแน่น หมายถงึ ปรมิ าณมวลของสารหรอื วัตถุทมี่ ีอย่ใู น ๑ หน่วยปริมาตร ความหนาแน่นมีหนว่ ยเป็น กรมั /ลูกบาศก์เซนติเมตร ความหนาแน่นเปน็ สมบัติเฉพาะของสาร หรือวตั ถแุ ตล่ ะชนิด แม้วตั ถุนั้น จะมขี นาดเทา่ กนั แต่ทาจากวสั ดแุ ตกต่างกัน ก็จะมคี วามหนาแน่น แตกต่างกนั
สมบัตขิ องวสั ดุ การหาปรมิ าตรของกอ้ นหนิ ท่ไี ม่มีรูปทรงสี่เหล่ียมมมุ ฉาก ใช้วธิ แี ทนทีน่ าโดยนา้ ทีล่ น้ ออกมา จากถ้วยยรู กี าจะมีปริมาตรเท่ากับปรมิ าตรก้อนหนิ ทเ่ี ราหย่อนลงไปในถว้ ย และสามารถอ่านค่า ปริมาตรน้าทีล่ น้ ออกจากถว้ ยยูรกี า การหาปริมาตรของวัสดุท่มี ีทรงสเ่ี หลย่ี มมุมฉากสามารถใช้สูตรการคานวณ ดังนี้
การเลือกใช้วสั ดุในชีวติ ประจาวนั
การเลือกใช้วสั ดุในชีวติ ประจาวนั
การเลือกใช้วสั ดุในชีวติ ประจาวนั
แบบทดสอบ 1. สิง่ ของในขอ้ ใดใช้ประโยชน์จากสมบตั ิการนาความร้อนของวัสดุ ก. ของเล่นเด็ก ข. เครื่องนอน ค. ภาชนะหงุ ต้ม ง. ของตกแต่งบา้ น
แบบทดสอบ 2. ในการทาสายไฟ นยิ มใชโ้ ลหะในขอ้ ใดเพ่อื ให้นาไฟฟา้ ไดด้ ที ี่สดุ ก. ทองคา ข. ทองแดง ค. ดีบุก ง. นกิ เกิล
แบบทดสอบ 3. ส่ิงของในขอ้ ใดทาจากวสั ดมุ ากกวา่ 1 ชนดิ ก. กรรไกร ข. ยางลบ ค. หวีทท่ี าจากไม้ ง. ไม้บรรทดั พลาสติก
แบบทดสอบ 4. สง่ิ ของในข้อใดมีความหนาแน่นน้อยกวา่ นา ก. ทัพพโี ลหะ ข. ลกู แกว้ ค. ตะปู ง. โฟม
แบบทดสอบ 5. วสั ดทุ ี่นาความร้อนได้ดี มกั จะมีสมบตั ใิ ดควบคู่กนั ไปดว้ ย ก. นาไฟฟา้ ได้ดี ข. มีความหนาแน่นสูง ค. มีความยดื หยุน่ สูง ง. มีความแข็งมาก
แบบทดสอบ 6. วัสดใุ นข้อใดควรนามาทาฉนวนความร้อน ก. เงนิ ข. ทองเหลือง ค. พลาสตกิ ง. อะลมู เิ นยี ม
แบบทดสอบ 7. การทเ่ี รานาเพชรมาใช้ในการตดั กระจก เกีย่ วข้องกับ สมบัตขิ องวัสดุขอ้ ใด ก. ความหนาแน่น ข. ความยดื หยุ่น ค. ความเหนยี ว ง. ความแข็ง
แบบทดสอบ 8. เมื่อนาวสั ดุ A ไปขดู วัสดุ B ทาให้วสั ดุ B เปน็ รอย และเมอ่ื นาวสั ดุ C ไปขดู วัสดุ A ทาให้วัสดุ A เป็นรอย ข้อใดเรยี งลาดับความแข็ง ของวัสดจุ ากมากไปน้อยไดถ้ กู ตอ้ ง ก. A – B – C ข. C – B – A ค. B – A – C ง. C – A – B
แบบทดสอบ 9. วสั ดใุ นข้อใดไดม้ าจากธรรมชาติ ก. พลาสตกิ ข. ยาง ค. โลหะ ง. โฟม
แบบทดสอบ 10. วัสดทุ ่ีจะนามาทาของเลน่ เดก็ ควรมสี มบัตอิ ย่างไร ก. มคี วามหนาแน่นมาก ข. นาความร้อนได้ดี ค. มีความยดื หยุ่นสูง ง. นาไฟฟา้ ได้ดี
แบบทดสอบ 11. นาชอ้ น A และ B ไปลนไฟ พบว่าชอ้ น B นาความร้อน แตช่ ้อน A ไมร่ อ้ น อยากทราบว่าชอ้ น A และ B น่าจะเปน็ ช้อนท่ีทามาจากวัสดใุ นข้อใดตามลาดบั ก. พลาสติก ไม้ ข. ไม้ พลาสตกิ ค. พลาสติก โลหะ ง. โลหะ พลาสตกิ
แบบทดสอบ 12. วสั ดใุ นขอ้ ใดท่สี ามารถรบั นาหนักไดม้ ากท่สี ดุ เมื่อมีขนาด และความยาวเทา่ กัน ก. ยางรดั ของ ข. เส้นเอ็น ค. เชือกฟาง ง. เส้นไหม
แบบทดสอบ 13. จากข้อ 12 เปน็ การแสดงถึงสมบตั ิ ในดา้ นใดของวัสดุ ก. ความแข็ง ข. ความเหนียว ค. ความยดื หยนุ่ ง. ความหนาแน่น
แบบทดสอบ 14. เราจะทดสอบความยดื หยุ่นของวสั ดไุ ด้โดยวิธใี ด ก. การออกแรงกระทาตอ่ วสั ดุ ข. การใชว้ ัสดอุ ื่นมาขูดขดี ค. การนาไปลอยนา ง. การนาไปลนไฟ
แบบทดสอบ 15. การต่อวงจรไฟฟ้าถ้าต้องการให้หลอดไฟสว่าง ควรใชว้ สั ดใุ ดตอ่ เชื่อมในวงจร ก. ยางลบ ข. แท่งแก้ว ค. แผน่ กระดาษ ง. กระดาษฟอยล์
แบบทดสอบ 16. ข้อใดเรียงลาดับความอัดแน่นของอนุภาคจากแน่น ที่สดุ ไปเบาบางที่สดุ ก. ของเหลว ของแข็ง แก๊ส ข. แก๊ส ของแขง็ ของเหลว ค. ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ง. ของแข็ง แก๊ส ของเหลว
แบบทดสอบ 17. ข้อใดไมไ่ ด้จดั อยใู่ นสถานะแกส๊ ก. ไอนา ข. อากาศ ค. นามันกา๊ ด ง. ออกซเิ จน
แบบทดสอบ 18. แก๊สเปล่ยี นสถานะไดเ้ มอ่ื ใด ก. รบั ความรอ้ น ข. คายความร้อน ค. มอี ุณหภูมิสงู ขึน ง. มีปริมาตรมากขึน
แบบทดสอบ 19. ถา้ พน่ แก๊ส 1ลิตร เขา้ ไปในขวดท่ีมีปรมิ าตร 800 มลิ ลลิ ิตร จากนันปิดฝาขวดใหแ้ นน่ อยากทราบวา่ แก๊สในขวดมปี ริมาตร เทา่ ใด ก. 1 ลิตร ข. 8 ลิตร ค. 200 มลิ ลิลติ ร ง. 800 มิลลลิ ติ ร
แบบทดสอบ 20. ข้อใดมีสารครบทัง 3 สถานะ ก. นา นามนั พชื แท่งไม้ ข. แผน่ โฟม กระดาษ นาส้ม ค. ไอนา อากาศ แกว้ นา ง. ออกซเิ จน ดนิ นามัน นาเกลอื
แบบทดสอบ 21. สิ่งใดทส่ี ามารถบบี ใหป้ ริมาตรลดลงได้ ก. นามันเบนซิน ข. นานม ค. นาเกลอื ง. อากาศ
แบบทดสอบ 22. ข้อใดเป็นการแสดงถึงการไดร้ บั ความรอ้ น ก. นาเปล่ยี นสถานะเป็นนาแขง็ ข. นาเปลย่ี นสถานะเป็นไอนา ค. ไอนาเปล่ียนสถานะเป็นหยดนาเล็กๆ ง. ถกู ทกุ ข้อ
แบบทดสอบ 23. ถา้ ต้องการให้แทง่ เหลก็ เปลี่ยนรูปร่าง ควรทาอยา่ งไร ก. นาไปผ่านความรอ้ นสงู ข. นาไปวางทงิ ไว้กลางแจง้ ค. เกบ็ ไวใ้ นทที่ ่ีมีอณุ หภมู ติ า่ มากๆ ง. เก็บไวใ้ นที่ท่ไี มม่ แี สงสว่างส่องถงึ
แบบทดสอบ 24. ปริมาตรของแก๊สจะเท่ากบั ปริมาตรของภาชนะทีบ่ รรจุ เนอ่ื งจากสมบตั ิในข้อใดของแก๊ส ก. เพราะแกส๊ ต้องการท่อี ยู่ ข. เพราะแก๊สมรี ูปร่างไม่คงท่ี ค. เพราะแกส๊ มปี รมิ าตรไม่คงทีแ่ ละฟุง้ กระจาย ง. เพราะแก๊สมมี วลน้อยกว่ามวลของภาชนะทีบ่ รรจุ
แบบทดสอบ 25. ข้อใดไมใ่ ช่สมบตั ิของของแขง็ ก. ปรมิ าตรคงท่ี ข. อนุภาคอยชู่ ดิ ตดิ กนั ค. รูปรา่ งไม่คงท่ี ง. สามารถเปลยี่ นรูปรา่ งไดห้ ากไดร้ บั ความร้อนสงู
แบบทดสอบ 26. ถา้ ไม่ตอ้ งการหาปรมิ าตรของของแขง็ ท่มี ีรูปทรงเรขาคณิต ดว้ ยวธิ แี ทนทน่ี า นักเรียนจะหาได้ตามวิธที างคณติ ศาสตร์ใน ขอ้ ใด ก. กวา้ ง × ยาว ข. กว้างส×ูงยาว ค. กวา้ ง × ยาว × สูง ง. กวา้ งยา×วสูง
แบบทดสอบ 27. สิ่งใดมรี ปู ร่างไม่แนน่ อน สามารถเปล่ยี นไปตามภาชนะ ทบี่ รรจไุ ด้ ก. ตะกว่ั ข. ปรอท ค. ทองแดง ง. อะลมู ิเนยี ม
แบบทดสอบ 28. หากใส่นาลงในแก้วแล้ววางทงิ ไว้ นาจะเปลย่ี นเป็นสิ่งใด เพราะอะไร ก. ไอนา เพราะได้รับความร้อน ข. ไอนา เพราะคายความร้อน ค. นาแข็ง เพราะคายความร้อน ง. นาแข็ง เพราะไดร้ ับความร้อน
แบบทดสอบ 29. เม่อื นาเนยแข็งใสล่ งในกระทะที่รอ้ นจดั เนยแขง็ จะเกดิ การเปล่ยี นแปลงอย่างไร ก. เกดิ การแข็งตัวเปน็ ก้อน ข. เกดิ การหลอมเหลว ค. เกดิ การระเหย ง. เกิดการระเหิด
Search