ผแู้ ตง่ : ซุนวู c. 544 – 496 BC. แปลและเรยี บเรียง : เสถยี ร วรี กลุ พ.ศ. ๒๔๙๕ พิมพค์ รงั้ แรก พ.ศ. ๒๔๙๕ พิมพค์ รง้ั ที่สองแกไ้ ขเพ่ิมเติม พ.ศ.๒๕๒๙
หากวา่ ชบุ เลยี้ งอยา่ งถงึ ขนาดแลว้ แต่ไมส่ ามารถช่วงใชไ้ ด้ รกั อย่างสดุ ใจ แตไ่ ม่อยูใ่ นบังคบั บญั ชา กระทําผดิ ระเบียบวินยั กไ็ ม่อาจลงโทษทัณฑก์ นั เหล่าพลเชน่ น้ี เปรยี บเหมือนบุตรทก่ี ําเรบิ เสบิ สาน ใช้ทาํ ศกึ ไมไ่ ดเ้ ลย
บันทกึ หนา้ แรก ซุนวู เปน็ นักการทหารและนกั ปกครองท่ีเช่ยี วชาญเป็นยอดเยี่ยมในสมยั ชนุ ชิว เกิด เมือ่ ประมาณสองพนั สร่ี ้อยถึงหา้ ร้อยปกี ่อนระหวา่ งพทุ ธกาล ไดร้ ับสมญาวา่ เป็นมังกรหน่ึงใน สมัยนัน้ อันสมยั ชุนชวิ นน้ั เปน็ สมัยท่อี งคจ์ ักรพรรดเิ สอื่ มถอยด้อยอํานาจลง ด้วยเจา้ ครอง นครต่าง ๆ พากนั สรา้ งสมทหารเพ่ือชงิ ความเป็นใหญ่ มีการรบราฆ่าฟ๎นกันตลอดยคุ เพราะฉะนั้น จงึ เปน็ ยุคทบ่ี ้านเมอื งอลวนไปด้วยข้อพพิ าทและทําศึกกนั เปิดโอกาสให้ปราชญ์ ต่าง ๆ ไดใ้ ช้สติปญ๎ ญาอยา่ งเต็มท่ี ในการแสดงความคดิ เห็นตามอดุ มการณข์ องตน จึงได้ กําเนดิ เปน็ ลัทธิตา่ ง ๆ อยา่ งกว้างขวางทีส่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์ของจีน ชีวประวตั ิ ซนุ วู ตามท่คี น้ พบวา่ บรรพบรุ ษุ มรี กรากอย่ใู นประเทศฉี และตระกลู เดมิ มิใช่แซ่ ซนุ หากแซ่ เถียน (บางแห่งวา่ เฉนิ ) ปุูทวดของซุนวมู ีนามเดิมวา่ เถยี นอว๋ น สืบสายถงึ เถยี นอหู๋ ยู่ ซงึ่ เป็นผู้สืบสายโลหติ ช้นั ท่ี ๔ มีบุตร ๒ คน คอื เถียนฉาง และเถียนซ,ู เถียนซูเป็น เสนาอาํ มาตยผ์ ู้ใหญ่ของประเทศฉี เนื่องจากมีความชอบในการตีแคว้น จู่ ได้ชัยชนะ พระเจา้ จิ้ งกงจึงพระราชทานให้แซ่ซุน และถือศักดนิ ากินเมือง เล่ออาน เถียนซ หู รอื ซุซู มีบตุ รชอื่ ซนุ เฝงิ เฝิงกาํ เนิด ซุนวู หรอื บุรษุ ผยู้ ่ิงใหญ่ทเี่ รากล่าวถึงน้ี ภายหลงั เนอ่ื งด้วย เถียนเปา ส่ตี ระกูลก่อการจลาจล ซุนวจู ึงล้ภี ัยการเมอื งไปพาํ นัก ยังประเทศหวู และไดเ้ ข้าทาํ ราชการในประเทศหวูนนั้ ดว้ ยการ ยกย่องและชักนาํ ของ อูห่ ยวน (โหงวจือซอื ) ซุนวไู ดน้ ้อมเกล้าถวายตาํ ราพชิ ยั สงครามซึง่ ตนแตง่ แกพ่ ระเจา้ เหอหลู พระเจา้ เห อหลูพอพระทัย จึงทรงแต่งตง้ั ให้เป็นแมท่ ัพ และไดน้ ําทัพทําการรบกบั ประเทศ ฉู่, ฉี, จ้นิ , ซง่ และ หลไู่ ด้ชัยชนะอย่างงดงาม มกี ติ ตศิ พั ทเ์ กริกกอ้ งกําจรกาํ จาย เป็นทหี่ ว่ันเกรงของแควน้ ต่าง ๆ ท่ัวไป ดงั นนั้ เราจะเห็นได้ว่า ซุนวมู ใิ ช่ \"นกั ละเลงขนมเบอื้ งดว้ ยปาก\" วาดตวั อกั ษรให้เหน็
ทฤษฎีงาม ๆ นา่ ชมนา่ เลื่อมใสเท่านั้น ทงั้ ทางปฏิบตั ิก็ได้ปฏิบตั กิ ารใหป้ ระจักษ์เปน็ สกั ขีพยาน อกี ดว้ ย เมื่อซุนวไู ด้รับผลสาํ เร็จในทางทหารอย่างงดงามแล้ว เขามิได้มัวเมาลุม่ หลงใน ยศถาบรรดาศักด์แิ ละลาภสกั การนั้น ๆ จนลืมตน เขาเหน็ วา่ พระเจ้าเหอหลเู ปน็ กษัตรยิ ์ มีความ หวาดระแวงเปน็ เจา้ เรอื น นัน่ เองมีอํานาจทางทหารเช่นน้ี จะรบั ราชการดว้ ยดีโดยตลอดรอดฝ๎ง่ มไิ ด้ ฉะนั้น จึงถวายบังคมลาออกจากราชการไปบําเพญ็ ชีวติ ตามปาุ เขาลําเนาไพรอยา่ งสันโดษ ตาํ ราพิชัยสงครามซุนวู ซง่ึ ตกทอดมาถึงเดย๋ี วนม้ี ี ๑๓ บรรพด้วยกัน ไดป้ ระมวลหลกั ปรชั ญาการตอ่ ส้แู ละทฤษฎีการปกครองไวอ้ ย่างครบครัน หนงั สอื เล่มนเี้ บอ้ื งโบราณสมัยหลัง ๆ ตอ่ มา แม้ ขงเบ้ง, พระเจ้าถงั ไท้จงฮอ่ งเต้ ตลอดจนนักการทหารและนกั การปกครองอันมชี อื่ ของจนี อ่นื ๆ ก็ไดถ้ ือเปน็ ตาํ ราเล่าเรยี นตลอดมา ชาวโลกก็นยิ มว่าเปน็ แม่บทของตาํ ราวชิ าการ ทหารซ่ึงมีอายุเกา่ แกท่ ีส่ ดุ เล่มหนงึ่ ถ้อยคําสํานวนเดิมสน้ั , รดั กมุ , แนน่ แฟนู และเป็นคาํ ยาก ด้วยเป็นคาํ โบราณ เทา่ ที่ทราบกันว่าไดแ้ ปลเป็นพากย์ต่าง ๆ แลว้ มภี าษาอังกฤษ, ฝรัง่ เศส, ญปี่ ุน, รสั เซยี , เชคโก, เยอรมนั ฯลฯ หลายภาษาดว้ ยกนั สําหรับพากยไ์ ทยทีข่ า้ พเจา้ แปลน้ี ข้าพเจ้าได้แปลจากต้นฉบบั โดยตรง พร้อมทัง้ ยังเรียบเรียงอรรถาธบิ ายเปน็ ภาษาจนี ป๎จจุบัน ควบค่ตู ามอันดบั วรรคตอนโดยตลอดด้วย ข้าพเจ้าได้พยายามทาํ ตามความสามารถที่จะทําได้ หากมขี อ้ ขาดตกบกพร่องหรือผิดพลาดประการใด ขอทา่ นผรู้ ้โู ปรดได้กรุณาชี้แจงแนะนาํ เพอ่ื แก้ไขด้วย จะเป็นพระคุณอย่างสูง เสถียร วรี กุล ๑๔ มกราคม ๒๔๙๕
คานยิ มจาก ล.เสถยี รสุต บรรดาหนงั สือแนวปรชั ญาของจนี จําได้วา่ มอี ยูไ่ มก่ ีเ่ ลม่ ทไ่ี ดร้ ับการยกย่องหรือถือ ว่าเป็น \"คมั ภรี ์\" เชน่ คมั ภีรเ์ หลาจื๊อ-ขงจ๊ือ และ ตาํ ราพชิ ัยสงครามของซนุ วู กเ็ ป็นหนงั สืออกี เลม่ หนงึ่ ทถ่ี ูกยกเปน็ \"คมั ภีร์\" เชน่ กนั สิ่งทอ่ี ยากจะกลา่ วถึงคุณความดีของ \"ตาํ ราพชิ ัยสงครามซุนวู\" กค็ อื ภาษาหนังสอื ของ \"ซนุ ว\"ู ถูกยกยอ่ งวา่ เป็นภาษาหนังสอื ท่ีดีท่ีสดุ มีทง้ั ความเฉยี บคม ดุเดือด เขม้ แข็ง เด็ดขาด และลีลาท่สี งา่ งามทางภาษา ซ่ึง โจโฉ กก็ ลา่ วยกยอ่ งไว้มาก ประการต่อมา-เนอื้ หาซึ่งถอื เปน็ ตาํ ราพชิ ยั สงครามนั้น มีคุณค่าสูงส่งโดยปราศจาก ขอ้ สงสัย แม้ \"ขงเบง้ \" กย็ กยอ่ งและยอมรบั นับถอื บรรดาแม่ทพั นายกองและขา้ ราชการชั้น ผู้ใหญ่ของจีนจาํ นวน 13 คน ได้ทาํ \"หมายเหตุ\" บรรยายหรือขยายความเพ่ือให้คนร่นุ ต่อมาได้ เขา้ ถึงอย่างลกึ ซงึ้ หนงั สอื \"ตาํ ราพิชยั สงครามชนุ วู\" เล่มน้ยี ังได้ถกู อ้างองิ อย่างกวา้ งขวาง แมแ้ ตค่ ํา กราบบังคมทูลของขงเบง้ ก็อา้ งถึงว่า โจโฉมีความสามารถเทียบเทา่ ซนุ วู ไกเซอร์ วิลเลยี มที่ สองซึง่ พา่ ยแพ้สงครามโลกครัง้ ทหี่ นงึ่ ขณะถูกเนรเทศไปอยูท่ ี่ฮอลแลนดไ์ ดอ้ ่านหนังสอื เล่มนี้ และได้กล่าววา่ \"ถ้าไดอ้ ่านตาํ ราพชิ ยั สงครามซุนวมู ากอ่ นหนา้ น้ี คงรบไมแ่ พแ้ น่\" นักการทหารญี่ปนุ คนหนง่ึ ได้เขยี นบรรยายถงึ หนังสือเลม่ น้ีโดย ละเอียด สรปุ ไวว้ า่ เป็นหนังสอื ที่ยอดเย่ียมท่ีสุด เปน็ ปรชั ญาซึง่ ทุกคนสามารถนาํ มาใชไ้ ดต้ ลอด ชีวติ และใช่จะใช้ไดแ้ ต่เฉพาะการยทุ ธใ์ นสงครามเทา่ นนั้ แมแ้ ต่การดาํ เนินกจิ การงานท่ัวไป และการดาํ รงชวี ิตในครอบครัวใหป้ กตสิ ขุ \"ตําราพชิ ัยสงครามซนุ วู\" ก็สามารถนํามาใช้อยา่ ง ได้ผลดีเชน่ กัน ชาวจีนยกยอ่ งซุนวูวา่ \"ซนุ จอ๊ื \" เช่นเดียวกับทีเ่ รยี กเหลาจ๊ือ, ขงจ๊ือ หมายถึง \"ท่าน ปราชญ์ซนุ วู\" ซ่งึ บรรดาปราชญ์ทไ่ี ดร้ ับยกย่องนม้ี ไี มก่ ี่คนนกั คณุ เสถยี ร วีรกุล เป็นผู้หนง่ึ ซึ่งมคี วามสามารถทางดา้ นอกั ษรศาสตร์จนี และไทย เป็นอย่างดี ซ่งึ ท่านคงจะเห็นด้วย เม่อื ได้อ่าน ตาํ ราพชิ ยั สงครามซนุ วู เล่มนแ้ี ลว้ ล. เสถยี รสุต ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๙
เสถยี ร วีรกลุ ผูแ้ ปล \"ตาํ ราพิชัยสงครามซนุ วู\" เยอื นสสุ านบเู ช็กเทยี น ซุนวู หรือ ซุนจือ่ เปน็ ชาวแคว้นฉี เม่ือตําราพิสยั สงครามของเขาไดถ้ กู นาํ ทลู เสนอ พระเจ้าเหอหลู แห่งนครหวู (นครวจู างในปจ๎ จุบนั ) และเม่อื ทรงอา่ นจบไดร้ ับส่งั แกซ่ ุนวูวา่ \"ตาํ ราพชิ ัยสงครามทง้ั ๑๓ บรรพ นั้น ข้าได้อา่ นจนจบสิ้นขบวนความแลว้ เพื่อให้ แนใ่ จวา่ ใช้ได้ผลโดยปราศจากขอ้ สงสัย ขอท่านสาํ แดงยุทธวิธคี วบคุมขบวนศึก เป็นการ ทดสอบจะได้หรอื ไม่\"
ซนุ วทู ูลวา่ \"มอิ าจขดั พระทัยพระเจ้าขา้ \" พระเจา้ เหอหลตู รัสถามว่า \"จะทดสอบด้วยอิสตรไี ดห้ รือไม่\" ซุนวตู อบวา่ \"แลว้ แตพ่ ระประสงค์พระเจา้ ข้า\" พระเจ้าเหอหลสู ่งนางสนมเอกและสนมท่ีโปรดปราน ๑๐๘ คน ซนุ วไู ดแ้ บ่งเป็นสอง กองรอ้ ย และให้สนมเอก ๒ คน ทําหนา้ ทีเ่ ปน็ นายกองให้ทุกคนถืองา้ วเปน็ อาวุธ เข้าแถวแบบ ทหาร ซนุ วูถามด้วยเสยี งเฉียบขาดหนักแน่นวา่ \"ทุกทา่ นยอ่ มรู้ แขนซ้าย แขนขวา และหลังอยู่ทใี่ ด\" \"ทราบดี\" บรรดานางสนมตอบ ซนุ วูจงึ กล่าวต่อไปว่า \"เมือ่ ขา้ พเจา้ สั่งวา่ หน้าหนั ก็ขอใหท้ กุ คนมองตรงไปเบือ้ ง หนา้ ถ้าสั่งว่าซา้ ยหันกห็ ันไปทางเบื้องซา้ ย ถ้าส่ังวา่ ขวาหนั กห็ นั ไปทางเบอื้ งขวา และถา้ สั่งว่า กลับหลงั หนั กห็ นั กลับหลงั ไปทางขวามือ ท่านพอจะเข้าใจหรือไม่\" \"เราเข้าใจ\" นางสนมตอบ ซนุ วูปฏิบตั ิใหด้ ูและกลา่ วย้าํ พรอ้ มกับแจ้งถงึ วนิ ัยทหาร แล้วนําขวานอาญาสทิ ธม์ิ า ตั้งบนแท่น ประกาศถึงอาญาสิทธต์ิ ามวินยั ทหาร จากนัน้ ก็สงั่ ให้ทหารหญิงทกุ คน \"ขวาหนั \" แตบ่ รรดาทหารหญิงกลบั ส่งเสียงหัวเราะอยา่ งสนกุ สนาน ซนุ วจู งึ กลา่ วว่า \"หากยงั ไม่เขา้ ใจกฎเกณฑแ์ น่ชัด ระเบยี บวนิ ัยทหารยงั ไม่ซมึ ซาบ ย่อมถอื เปน็ ความผดิ ของแมท่ ัพ\" จากนัน้ ซนุ วูกก็ ลา่ วยํ้าคาํ สง่ั อกี สามครัง้ อธิบายอกี หา้ คร้งั แลว้ ก็ลั่นกลองให้ทหาร \"ซา้ ยหัน\" นางสนมยังคงหวั เราะดุจสําเรงิ สําราญอยูใ่ นวังกม็ ิปาน ซุนวูจึงกล่าววา่ \"หากคําบัญชาไม่แจง้ ชัด คาํ สง่ั ไม่เปน็ ทีเ่ ข้าใจ แมท่ พั สมควรถกู ตาํ หนิ หากคาํ ส่งั ชัดแจง้ การซกั ซ้อมและคําอธบิ ายแจง้ ชดั แต่ไมอ่ าจรักษาระเบยี บวินัย ความผดิ ยอ่ มตกอยทู่ ีน่ ายกอง\" นายกองกค็ อื สนมเอกสองคน \"นําทัง้ สองไปตดั ศรี ษะ\" ซนุ วูสงั่ ทหาร พระเจา้ เหอหลูตกพระทัยรีบลงจากแท่นประทับ รับสง่ั ขอชวี ติ นางสนมเอกทงั้ สอง \"ขา้ เห็นแล้วว่า ทา่ นสามารถคุมทัพจดั ขบวนศกึ ไดด้ ี แตข่ า้ ไมอ่ าจขาดนางสนมทั้งสองได้ ถ้า ปราศจากนางข้าย่อมเหมอื นกนิ อาหารไร้รสชาติ ขอจงระงับย้งั โทษสักครัง้ เถดิ \" ซุนวูจงึ ทูลตอบวา่ \"ในเมอ่ื ทรง แตง่ ตัง้ ใหข้ ้าพเจา้ เป็นแม่ทพั อาญาสิทธิใ์ นการ ควบคมุ แมท่ ัพนายกองยอ่ มอยู่ท่ีข้าพเจ้า พระ ราชโองการย่อมไม่อาจมาแปรเปล่ยี นได้\" จึงเปน็ อนั ว่าสนมเอกท้งั สองถกู ประหารชีวติ ใน บดั นนั้ ตอ่ หน้าบรรดาทหารหญิง จากนัน้ ซนุ วูก็ ให้นางสนมคนถัดมาเปน็ นายกองแทน เสยี งกลองสญั ญาณให้ทหารหญงิ ปฏบิ ตั ติ ามคําส่งั ดังรัวขึ้นอกี คราวน้ไี มว่ ่าจะเปน็ คําสั่ง ซ้ายหนั ขวาหัน ต่างปฏบิ ตั ิตามกัน เครง่ ครัด ซุนวถู วายรายงานต่อพระเจา้ เหอหลวู า่ \"บดั นี้ ทหารหญงิ ได้รบั การฝกึ ซอ้ มและอยู่
ในระเบยี บวินัยขบวนยุทธแ์ ลว้ ขอพระองคท์ รงตรวจพล หากพระองคจ์ ะรบั สั่งให้ไปรบทพั จับศกึ บุกน้ําลยุ ไฟท่ไี หน เขาย่อมพร้อมปฏบิ ัตแิ มช้ ีวติ จะหาไม่\" พระเจ้าเหอหลตู รสั วา่ \"ท่านแม่ทพั กลบั ไปพกั ได้แล้ว ขา้ ยังไม่ประสงคจ์ ะตรวจพล\" ซนุ วู ทลู ว่า \"พระองคท์ รงโปรดแต่สาํ นวนในตําราพิชยั สงคราม แตป่ ราศจากความ จริงใจในหลักยทุ ธศาสตร์ของตําราเล่มนี้\" หลงั จากน้นั พระเจ้าเหอหลกู ็ทรงตระหนกั ดวี ่าซนุ วูเปน็ ผชู้ าํ นาํูดา้ นกลยุทธ์ จงึ ทรง แตง่ ตัง้ ใหเ้ ปน็ แม่ทัพออกเผชญิ ศกึ นําทัพบุกยดึ อาณาจกั รฉู่(จวิ -เมืองฌ้อ) บุกอาณาจกั รฉีและ อาณาจักรจ้นิ , ซง่ , หลู่ ซึ่งต่างยอมศโิ รราบ และเป็นทค่ี รั่นครา้ มของบรรดาแคว้นนอ้ ยใหญ่ใน ขณะน้ัน เพือ่ กนั ความเขา้ ใจสับสน ในวงการแปลเก่ียวกบั ตาํ ราการทหารของจนี ข้าพเจ้าถือ โอกาสน้ี ชแ้ี จงถึงปญ๎ หาตาํ ราพชิ ยั สงครามบางประการ ทั้งนเ้ี พอ่ื ความเข้าใจทถ่ี กู ตอ้ งตาม สมควร ตําราพิชัยสงครามของจนี มีปรากฏหลกั ฐานแนช่ ัดและมีหนงั สอื ครบถ้วน อยู่ถึง ๗ ฉบับด้วยกนั ซ่งึ ทางจนี เขาเรียกว่า 'หว่จู งิ ชีซู' ( ) หรือตาํ ราพิชยั สงคราม ๗ ฉบบั ดังมชี ่ือดังตอ่ ไปน้ี ก. ตาราพิชัยสงครามซนุ วู ( ) อีกชอ่ื หนงึ่ \"ซนุ จอื๊ ปงิ ฝุา\" ( ) \"วู\" ท่ีขา้ พเจ้าแปลนั้นเปน็ ช่อื ของปรมาจารย์ทหารผ้นู นั้ โดยตรง ซึ่งเปน็ การออกเสยี งตาม
ภาษากลาง ถ้าออกเสียงเป็นเสียงแตจ้ วิ๋ จะอ่านวา่ \"บ\"ู๊ (บนุ๋ หรอื บู๊ตามที่คนไทยเราเข้าใจกัน) วา่ ทีจ่ ริงคําว่า บนุ๋ (พลเรือน) บู๊ (ทหารหรือพลกาํ ลัง) เปน็ การออกเสยี งตามสําเนียงชาวฮกเกีย้ น ภาคเอ้หมึง ข้าพเจา้ ใช้วา่ ซนุ วเู พือ่ ให้ตา่ งจาก 'ตาํ ราพสิ ยั สงครามของซนุ ปิง' ( ) (ซง่ึ เป็นนิพนธข์ องหลานปุขู องซนุ วูในสมยั จา้ นกว๋อ) ( ) มเี วลาห่างจากกนั ประมาณ ร้อยกวา่ ปี ภายหลังหนังสือฉบบั นไี้ ด้สูญหายไป จนกระท่งั คนโบราณตอ่ ๆ มาเข้าใจวา่ ซนุ วู หรือ ซุนปงิ คอื คนเดียวกนั แต่หนังสอื เลม่ นี้เพ่ิงจะมาค้นพบในสุสานสมยั ฮน่ั ( ) เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ (ค.ศ. ๑๙๗๒) เดือนเมษายน ในตําบลอนิ เฉ่ซนั ( ) อําเภอหลินฉี มณฑล ซานตุง ข. ตาราพิชัยสงครามของซุนปิง ทางการของประเทศสาธารณรฐั ประชากรจนี ได้ให้ฝาุ ยโบราณคดี และผเู้ ช่ยี วชาญทางอักษรโบราณชาํ ระแล้ว แต่เน่อื งจากเขยี นดว้ ยหมกึ ไว้ บนแผ่นซีกไม้ไผ่ และเวลาเนิ่นนานมาทําใหเ้ กดิ ชาํ รุดเสยี หายและกระจุยกระจายในสถานทีน่ ้ัน เม่อื ชําระแล้วมีข้อความขาดตกบกพร่องกระท่อนกระแทน่ ตวั อกั ษรขาดหายไปเป็นคํา ๆ และ แมก้ ระทัง่ เปน็ วรรค ๆ ท่วั ไป ซง่ึ เขาได้จัดพิมพ์เปน็ สําเนาขั้นตน้ ไวแ้ ลว้ ในการชาํ ระเบอ้ื งต้นนี้ เขาแบง่ เปน็ ๒ ภาค คือ ภาคตน้ มขี อ้ ความ ๑๕ บรรพ นบั ตัง้ แต่ 'จบั ผังเจวียน' ( ) ถึง 'การสรา้ งแสนยานภุ าพ' ( ) ภาคปลายกจ็ ดั ไว้เป็น ๑๕ บรรพ ตั้งแต่ ปุจฉา ๑๐ประการ ( ) ถงึ 'รบซึง่ หนา้ และรบพลิกแพลง' ( ) ข้าพเจา้ ไดห้ นังสือน้ีมาเล่มหนึง่ แต่ไม่ สามารถแปลได้ เพราะข้อความกระท่อนกระแท่นจนไม่สามารถจบั ใจความใหเ้ ข้าใจได้โดย ส้ินเชิง ค. หนงั สอื พชิ ยั สงครามอีก ๖ ฉบับ คือ ค. ๑ ตาํ ราพชิ ยั สงครามหวฉู ่ี ( ) หรือ หวูจ่อื ( ) ขอชแ้ี จงคํา 'จ่อื ' นเี้ ปน็ คํายกย่องว่า 'ปราชญ'์ หรอื 'ผู้คงแกเ่ รียน' เช่น ขงจื๊อ ฯลฯ และหวูฉ่ี อา่ นตาม สําเนียงแต้จวิ๋ วา โง้วคี้, โงว้ คอื แซข่ องชาวจนี ดาษดื่นทว่ั ไปแมใ้ นประเทศไทย ค. ๒ ตาํ ราพชิ ัยสงคราม อยุ้ เหลย่ี วจอื่ ( ) ค. ๓ ตาํ ราพิชยั สงครามเคลด็ ลบั ๖ ประการ ( ) วา่ กนั ว่าเปน็ นพิ นธข์ อง จิวไท้ กง ( ) หลอื หว้าง ( ) ค. ๔ ตาํ ราพชิ ัยสงคราม 'กโลบาย ๓ ประการ' ( )(ซ่านเล่ห์) ค. ๕ ตาํ ราพชิ ยั สงคราม 'ซือหม่าฝุา' ( ) ค. ๖ คําปุจฉา-วสิ ชั นาของ 'หล่อี ุ้ยกง' ( ) ตาํ ราพชิ ยั สงคราม เขียนบนซีกไมไ้ ผ่ ตําราพชิ ัยสงคราม นอกจากซนุ ปิง ซงึ่ ไม่สมบูรณแ์ ลว้ นอกนัน้ เปน็ หนงั สือทมี่ ี ข้อความครบถ้วนท้ังน้ัน แต่เม่ือกลา่ วถึงหลกั ของการทาํ สงครามตลอดจนการปกครองแล้ว ความรวบรัดเปน็ หลักการมีนา้ํ หนักและรอบคอบรวมท้ังใซภ้ าษาที่รัดกมุ ประทับใจ ไม่มฉี บับใด จะเกิน 'ตําราพิชัยสงครามซนุ ว'ู ซงึ่ ท่วั โลกยกยอ่ งว่าเป็นแมบ่ ทของการทหาร การทาํ สงคราม
รวมทัง้ หลกั การปกครองด้วย จงึ มีฉบบั แปลเปน็ ภาษาตา่ ง ๆ ทัว่ โลกหลายประเทศ ในเมืองไทย กม็ ีหลายสาํ นวนด้วยกนั เม่ือการณเ์ ปน็ เช่นน้ี เพือ่ ความเข้าใจอนั ดแี ละถูกต้อง จึงขอถอื โอกาส เรยี นชี้แจงโดยย่อ ตามข้อความขา้ งตน้ น้ี นายเสถียร วรี กลุ ๘ กันยายน ๒๕๒๑ (หลงั จากการพิมพค์ รัง้ แรกมาแลว้ ๒๖ ปี) อน่งึ พงึ สาํ เหนียกว่า ตาํ รายุทธพชิ ยั นี้ ควรนําไปใชต้ ่อสู้ กบั อรริ าชขา้ ศกึ ศตั รู เพื่อปกปอู งประเทศชาติ หาใชน่ ํามาใช้ต่อสแู้ ก่งแย่ง ทําลายลา้ งคนในชาติด้วยกนั เองไม่ บรรพ ๑ วางแผน บรรพ ๒ ดาํ เนินการ บรรพ ๓ ยทุ โธบาย บรรพ ๔ ลักษณะการ บรรพ ๕ ยุทธานภุ าพ บรรพ ๖ ความลกึ ต้ืน บรรพ ๗ สัประยทุ ธ์ บรรพ ๘ นานาวกิ าร บรรพ ๙ การเดนิ ทัพ บรรพ ๑๐ พนื้ ภมู ิ บรรพ ๑๑ นวภูมิ บรรพ ๑๒ เพลงิ พิฆาต บรรพ ๑๓ จารชน
ปราชญ์ซนุ วูกล่าววา่ การรณรงค์สงคราม เป็นงานใหญข่ องประเทศชาติ เป็นจุดความเปน็ ความตาย เป็นวถิ ที างอันนําไปสูค่ วามยืนยงคงอยู่ หรือดบั สญู หายนะ พึงพนิ จิ พเิ คราะห์จงหนักทีเดยี ว เพราะฉะน้นั จ่งึ วนิ จิ ฉัยด้วยกรณยี กิจ ๕ ประการ เปรยี บเทียบถงึ ภาวะต่าง ๆ เพอ่ื ทราบความจริง กลา่ วคือ ๑.ธรรม ๒.ดนิ ฟูาอากาศ ๓.ภูมิประเทศ ๔.ขนุ พล ๕. ระเบยี บวินัย ธรรมคือ สิง่ ทีบ่ นั ดาลใหท้ วยราษฎร์ รว่ มจิตสมานฉันทก์ บั ฝุายนํา ร่วมความเปน็ ความตาย โดยมไิ ด้ย่อทอ้ ต่อภยันตรายใด ๆ เลย
ดนิ ฟาู อากาศ คอื กลางวนั กลางคนื ความร้อนความหนาว และความผนั แปรเปลีย่ นแปลงแห่งอากาศ ภมู ปิ ระเทศ ก็คอื ความใกล้ไกล ความทุรกนั ดารหรอื ราบเรียบแหง่ พ้นื ที่ ความกวา้ งแคบของแนวรบ ตลอดจนยทุ ธภูมนิ ้ัน อยูใ่ นลักษณะเป็นตายอยา่ งไร ขุนพล คอื บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยสตปิ ๎ญญา ความเทย่ี งธรรม ความเมตตา ความกล้าหาญ และความเขม้ งวดเดด็ ขาด ระเบยี บวนิ ัย คือระบอบการจัดสรรพลรบ วินัยแห่งทหาร และการใชจ้ า่ ยของกองทพั กรณียกจิ ๕ ประการน้ี แม่ทพั นายกองยอ่ มรอู้ ยูท่ ั่วกัน แต่ทวา่ ผู้รจู้ ริงจงึ ชนะ ผ้ไู มร่ จู้ ริงยอ่ มปราชยั
ดว้ ยเหตฉุ ะน้ี จงึ ต้องเปรยี บเทยี บภาวะต่าง ๆ เพ่อื ทราบความจรงิ กล่าวคอื มขุ บรุ ษุ ฝุายไหนมีธรรม ขนุ พลฝาุ ยไหนมีสมรรถภาพ ดินฟาู อากาศอาํ นวยประโยชน์แกฝ่ าุ ยใด การบงั คบั บัญชาฝุายไหนยึดปฏบิ ตั ิม่ัน มวลพลฝุายไหนแข็งกลา้ ทแกลว้ ทหารฝุายไหนชาํ นาญศึก การปูนบาํ เหน็จหรอื การลงโทษ ฝุายไหนทําไดโ้ ดยเท่ยี งธรรม จากเหตุเหล่าน้ี ขา้ ฯกพ็ อหย่งั ถงึ ซ่งึ ความมชี ยั หรอื ปราชยั ไดแ้ ล้ว แมท่ พั นายกองคนใด เหน็ ดว้ ยยุทโธบายของข้าฯ เอาไวใ้ ช้คงชนะ จงรบั ไว้ใช้ ผใู้ ดไม่เหน็ ชอบด้วย ขนื ใชไ้ ปคงต้องประสบความพ่ายแพ้แนน่ อน กใ็ หเ้ ขาออกจากหน้าท่ไี ปเถิด เม่ือได้วางแผนการเหมาะสม และผอู้ ย่ใู ต้บังคับบัญชาเห็นชอบและเชอ่ื ฟ๎งดีแลว้ ก้าวตอ่ ไปก็คอื เสกสร้างเหตกุ ารณ์ให้เกดิ ข้นึ เพอ่ื คอยเป็นกาํ ลังเสริมทางภายนอกอีกดา้ นหน่ึง อนั ว่าเหตกุ ารณ์อันจะปลกุ เสกข้นึ นนั้ เรามพิ ักต้องถือหลกั เกณฑ์ตายตวั จงทําไปโดยนัยประโยชน์ของฝาุ ยเราก็แลว้ กัน
ยทุ ธศาสตร์คือวิชาเลห่ เ์ หลีย่ มแต้มคู เพราะฉะน้ัน เม่อื เรามีความสามารถจริง พงึ แสดงใหเ้ ห็นว่า เราไม่มคี วามสามารถเลย ครัน้ ตกลงจะเขา้ โรมรันด้วย แต่แสดงประหนงึ่ ว่า เราไม่มคี วามประสงคเ์ ช่นนน้ั สิ่งใดใกลก้ ็แสดงใหเ้ หน็ ว่าไกล สิ่งใดไกลก็แสดงให้เห็นวา่ ใกล้ คอยล่อใจศตั รดู ้วยนานาอามสิ ประโยชน์ เมื่อเหน็ ศตั รูแตกแยกระสํ่าระสายแล้ว กพ็ งึ เข้าหักเอา จงเตรยี มพร้อมเม่อื ขา้ ศึกมกี าํ ลงั สมบูรณ์
หลกี เลย่ี งเมื่อข้าศึกเข้มแข็งแกร่งกล้าอยู่ เยา้ เมอ่ื ศตั รูตกอยใู่ นโทสะจรติ พงึ ถอ่ มตัวพินอบพิเทาเสรมิ ให้ศตั รูโอหังได้ใจ ตอ้ งรังควาญใหเ้ หนด็ เหน่อื ยระอา ในเม่อื ศัตรูพักผอ่ นเพ่อื ออมกําลงั ยรุ ําตํารวั่ ให้ปรปก๎ ษแ์ ตกแยกความสามคั คีกนั พึงหักเอาในขณะทเ่ี ขาไม่ไดเ้ ตรยี มพรอ้ ม เขา้ จโู่ จมยามที่เขาไม่ได้คาดฝน๎ ทั้งน้ี เป็นเงือ่ นงําความมีชยั ของนักการทหาร จงอยา่ แย้มพรายใหศ้ ตั รูลว่ งรู้ เจตจํานงแทจ้ รงิ ของเราได้เปน็ อนั ขาด
อันแผนการรบซง่ึ สังสรรค์กนั ในพระเทพบิดรมหาปราสาท (สภาการรบในสมยั โบราณ) ไดบ้ ง่ ช้ใี หเ้ ห็นชยั ชนะแต่เมอื่ ยงั ไมไ่ ดร้ บกนั ยอ่ มเนอื่ งจากไดพ้ ิจารณา ทบทวนแผนการนัน้ โดยรอบคอบแลว้ ตรงกันขา้ มลางแพ้จะปรากฏใหเ้ หน็ แต่ต้นมือ เม่อื การวางแผนการรบยงั ไมล่ ะเอียดรอบคอบ การณ์เป็นเช่นน้ี สาอะไรกับสงคราม ซึง่ มิไดว้ างแผนการเอาเสยี เลยเล่า และดว้ ยสิ่งเดยี วนี้ ขาั ฯก็ประจกั ษช์ ดั ถงึ โชคชัยและปราชยั แล้ว ปราชญ์ซุนวูกลา่ วว่า การเคลอ่ื นพลนน้ั
รถใชใ้ นการโจมตอี ันเทยี มดว้ ยมา้ ส่ี และรถพิทกั ษ์หุ้มเกราะหนงั แตล่ ะพนั คนั พลรบนบั แสนซึ่งพรอ้ มสรรพด้วยเกราะ โล่ ดัง้ เขน การลําเลยี งเสบยี งอาหารในระยะทางไกลตง้ั พนั โยชน์ คา่ ใชจ้ า่ ยทั้งภายในและภายนอกประเทศ รายจ่ายในการรบั รองทตู านุทูต ค่าเครื่องอุปกรณอ์ าวธุ เช่น กาวหรือยางไม้ คา่ ซอ่ มแซมเครอื่ งรบนานาชนิด ตอ้ งใชจ้ า่ ยวันละพนั ตาํ ลึงทอง จงึ สามารถยกพลจาํ นวนเรือนแสนได้ ดังนัน้ การนําพลเขา้ โรมรันกนั หลกั สําคัญคอื รีบควา้ เอาชัยชนะเสยี ในเร็ววัน ถา้ ปล่อยใหก้ ารรบยืดเย้อื แล้ว อาวธุ ยทุ โธปกรณ์จะลดความคมกล้า ขวัญทหารนับวนั จะเส่อื มทราม เมือ่ คิดจะโหมเขา้ หกั เมือง กาํ ลังรพ้ี ลก็อ่อนเปล้ยี แล้ว กองทพั ต้องตดิ ศึกอยู่นานวนั ฉะนี้ การคลังของประเทศกจ็ ะเขา้ ตาจน อนั อาวุธขาดความคมกล้า ขวญั ทหารเส่ือมทราม กาํ ลังรีพ้ ลกะปลกกะเปลี้ย และทรัพย์สนิ เงินทองฝืดเคอื ง (เมื่อมอี นั เปน็ ไปเชน่ น้ี) ประเทศราชทง้ั หลาย ก็จักฉวยโอกาสลกุ ฮือข้ึนทันที เบอ้ื งน้ี ถงึ แมจ้ ะมีผกู้ อปรดว้ ยสติปญ๎ ญาเฉียบแหลมปานใด ก็ไมส่ ามารถบริหารงานใหเ้ ปน็ ไปโดยราบร่นื ได้
ฉะนี้ ดั่งได้สดับมา การรบน้นั แม้ผเู้ ขลากย็ งั ทราบวา่ ต้องการความรวดเร็ว ไม่เคยปรากฏวา่ ผ้ฉู ลาดใด นิยมการยดื เยื้อชกั ชา้ เลย อนั การศึกตดิ พันกันเปน็ เวลานาน แต่ประเทศชาตกิ ลบั ไดร้ บั ประโยชน์จากเหตนุ ้ัน ยังไมเ่ คยปรากฏเลย จ่ึงผู้ใดยงั ไมท่ ราบผลร้ายของสงครามโดยถ่องแท้แลว้ ผู้น้นั ยงั ไม่ทราบซึ้งถึงผลดีของสงครามเช่นเดียวกนั ผู้สันทัดจดั เจนในการศกึ เขาไมร่ ะดมพลถึงคํารบสอง เขาจะไมล่ ําเลียงเสบียงอาหารถงึ ๓ ครั้ง อาวุธยทุ โธปกรณเ์ คร่อื งใช้ ซ่อมจากประเทศของตนเอง แต่เสบียงอาหารพึงเอาจากศัตรู กระนี้ อาหารของเหล่าทหารจึงเพียงพอแล ประเทศจะยากจนลง กเ็ พราะต้องส่งเสบยี งอาหาร แกก่ องทพั ในระยะทางไกล ดว้ ยวา่ การกระทาํ เช่นนั้น ย่อมทําให้เหลา่ ประชายากแค้นแสนเขญ็
ในเขตการทหาร จะซ้ือสง่ิ ของก็ต้องซอื้ ด้วยราคาแพง ของแพงจกั ทาํ ใหเ้ งนิ ทองราษฎร รอ่ ยหรอส้ินเปลอื งไป การสิน้ เปลอื งน้ีแหละ จะนาํ มาซ่งึ การเกณฑส์ รรพวตั ถตุ า่ ง ๆ อกี กาํ ลังแรงงานและกําลงั ทรัพยข์ องประเทศ ต้องสิน้ เปลืองไปจนหมดสนิ้ ทุกครัวเรือนจักวา่ งเปลา่ รายได้ของประชาราษฎร์ ตอ้ งถกู เกณฑใ์ ช้ ๗ ใน ๑๐ การสน้ิ เปลืองของประเทศ อาทิ รถรบที่ชํารุดเสียหาย ม้าลาท่พี กิ ลพิการ เสอ้ื เกราะ หมวกเหลก็ ธนู หอกหลาว ด้งั เขน โล่ใหญ่ ตลอดจนววั เข่อื งและรถหนกั จะตอ้ งสญู เสียถงึ ๖ ใน ๑๐ เพราะฉะนัน้ ขนุ พลผู้กอปรด้วยสตปิ ญ๎ ญา พึงหาเล้ยี งรี้พลของตนจากศัตรู การกินขา้ วของศตั รู ๑ 'จง' มีผลดเี ท่ากบั กินของตนเอง ๑๐ 'จง' ใช้พืชเลย้ี งสัตว์พาหนะ เช่น ตน้ ถว่ั หรือฟางข้าว ๑ 'ซ'ึ
เทา่ กับใช้ของตนเอง ๒๐ 'ซึ' ดงั่ นี้ การที่จะให้ทหารเขน่ ฆ่าข้าศกึ กโ็ ดยปลุกป๎่นให้เกิดความเคียดข้งึ จะให้ร้ีพลหาญหักเข้าช่วงชิง สัมภาระทง้ั หลายของศัตรู กโ็ ดยให้สนิ จ้างรางวลั ดง่ั เช่นการรบด้วยยานรถ ผู้จบั รถข้าศึกได้ ๑๐ คันขนึ้ ไป ต้องปนู บาํ เหนจ็ ทหารเขา้ ยึดคนแรกให้ถึงขนาด แล้วเปล่ยี นธงประจํารถขนึ้ ทาํ เนยี บของเรา เชลยศกึ ซึ่งจับได้นนั้ ตอ้ งเล้ียงดูโดยดีเพอ่ื ชว่ งใชต้ ามควร น้ีแหละจงึ จะได้ชื่อว่า ยงิ่ ชนะข้าศึกเพยี งใด ก็ยิง่ เพมิ่ ความเกรยี งไกรแกต่ นเองเพยี งนั้น เพราะฉะน้ัน การทาํ สงคราม ตอ้ งรบี กําชยั ชนะเผดจ็ ศึกในเรว็ วัน ไมค่ วรเนิ่นชา้ อยู่ ฉะนน้ั ขนุ ศกึ ผ้รู อบรกู้ ารศกึ กค็ ือ วีรบรุ ุษผกู้ ําความเป็นความตายของผองนกิ ร และผู้แบกไว้ซึ่งภาระ อนั จะยังความรม่ เยน็ หรือทุกขเ์ ขญ็ แก่ประเทศชาตินัน้ แล
ปราชญซ์ นุ วูกลา่ ววา่ หลกั การยทุ ธ (ซ่ึงทําให้ประเทศศตั รหู มอบราบคาบแกว้ ) โดยมพิ กั ตอ้ งทําลายเมอื งนบั ว่าประเสรฐิ ยงิ่ รองลงมาก็คอื หักเอาโดยไมต่ ้องทาํ ลายกองพล รองลงมาอกี กค็ อื เอาชนะโดยไม่ต้องทาํ ลายกองพัน เลวกวา่ นนั้ ก็อย่าให้ตอ้ งถงึ ทําลายกองรอ้ ย หรือทาํ ลายกระท่งั หมวดหมู่ เพราะฉะนนั้ การชนะร้อยทงั้ ร้อยมิใชว่ ิธกี ารอนั ประเสรฐิ แท้ แตช่ นะโดยไม่ต้องรบเลย จึ่งถือวา่ เป็นวิธีอันวิเศษย่ิง ดงั น้นั วธิ กี ารใชท้ หารช้นั เลิศคือหกั ศตั รูด้วยกโลบาย รองลงมาคือหักเอาด้วยวิธีการทูต รองลงมาอกี ข้ันหน่ึงคอื หักดว้ ยกาลงั ทหาร เลวท่สี ดุ น้นั คือการลอ้ มตคี ่ายคู หอรบ ของศตั รู
เบอื้ งวา่ ยกพลเข้าล้อมตเี มอื งขา้ ศกึ พึงใช้เมอ่ื คราวจาํ เป็นจริง ๆ เท่านั้น เพราะการซอ่ มโล่ใหญ่และรถหุ้มเกราะ การเตรียมเครอ่ื งใช้ไม้สอย จักต้องกนิ เวลาตงั้ สามเดือนจึงลคุ วามสําเรจ็ ตอ่ จากนี้จะต้องใช้เวลา เพ่อื สร้างปูอมปราการอีกราว ๓ เดอื น ในความชกั ช้าเชน่ น้ี ผบู้ ัญชาการทหารจะรูส้ ึกเดอื ดดาลราํ คาญใจ จนถึงแกต่ ้องใช้ทหารเขา้ โจมตี อยา่ งมดตอมเสยี ก่อนกําหนด เม่ือเสยี ร้พี ลไปสัก ๑ ใน ๓ แตย่ งั มอิ าจหกั เขา้ ไปได้ ย่อมเป็นภัยแกฝ่ ุายรกุ ตีอยา่ งอนันต์ ดว้ ยเหตุนี้ นกั การทหารท่ีสามารถ พงึ ทาํ ให้ขา้ ศกึ ยอมแพ้ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งรบ ยดึ ครองเมืองข้าศึกไดโ้ ดยไม่ต้องเข้าลอ้ มตี ทําลายประเทศศตั รูโดยไม่ตอ้ งใชเ้ วลานาน จําเปน็ อย่างย่ิงท่ีต้องรกั ษากําลังฝุายตนมใิ ห้พรอ่ ง เพ่ือพชิ ิตขา้ ศึกภายใตห้ ลา้ นี้ เมื่อรพี้ ลไมบ่ อบชาํ้ ผลประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั กจ็ กั สมบรู ณ์ หลักยทุ โธบายมีอย่ดู ังนแ้ี ล (เม่ือถงึ คราวทต่ี อ้ งใช้กําลังทหารกนั แล้ว) หลักยุทธวธิ ีมอี ยวู่ า่ เรามีกาํ ลัง ๑๐ เท่าของข้าศกึ จงเขา้ ลอ้ มเอา ถ้า ๕ เท่าของศัตรู กจ็ งบุกตี ถ้าเพียงเท่าเดยี ว กแ็ ยกเป็นสองกองเขา้ ชิงชยั
ถ้าหากกาํ ลังทัดเทยี มกัน จงพยายามเข้ารบพุง่ น้อยกวา่ จงตัง้ รบั ไว้ ถา้ ด้อยกว่า จงหาทางหลกี เลยี่ งไวก้ อ่ น ฉะนนั้ ความขดั แขง็ ถอื ดขี องกําลังอันนอ้ ย ยอ่ มตกเปน็ ลูกไกข่ องกองทพั อนั มกี าํ ลงั มหาศาลนัน่ เอง อันขนุ พลกเ็ สมือนหนงึ่ หลกั ชัยของประเทศ ถา้ หลกั ชยั น้ันมีคณุ สมบัติครบถ้วน ประเทศกเ็ ข้มแขง็ หากมีคณุ สมบัติขาดตกบกพร่อง ประเทศกอ็ อ่ นแอ เพราะฉะน้ัน ราชนั ยม์ ักทาํ ความเสียหายให้แก่การทหาร ดว้ ยเหตุ ๓ ประการ คอื
ไมเ่ ขา้ พระทยั ว่า กองทัพเคลอ่ื นกาํ ลงั รกุ ไปไมไ่ ด้ แต่รบั ส่ังให้รุก หรอื กองทัพจะถอยไมไ่ ด้ แต่รับสงั่ ใหถ้ อย เช่นนเ้ี รยี กวา่ กีดขวางการปฏิบตั ิทางทหาร ไมเ่ ขา้ พระทัยในกจิ การทหาร กท็ รงเข้าเกี่ยวขอ้ งดว้ ย จะทําให้แมท่ พั นายกองงนุ งง (ไม่ทราบทางปฏิบัติ) ไมเ่ ข้าพระทยั ในหลกั การปรับตวั กับเหตกุ ารณโ์ ดยยุทธนัย ก็ทรงรบั ภารกิจอนั นัน้ จะทําใหแ้ ม่ทพั นายกองสงสัยแคลงใจ เมือ่ เหลา่ ทหารงุนงงสงสยั ภัยอนั เกดิ จากจากเจา้ ครองนครก็จะพลนั ถงึ นแี้ หละเรยี กว่า กอ่ ความระส่าํ ระสาย ให้บงั เกิดแกก่ องทัพตนเอง และอาํ นวยชัยชนะแก่ข้าศึก เพราะฉะนัน้ วธิ ีหยงั่ รู้ชัยชนะมอี ยู่ ๕ ประการ คอื รู้ว่าควรรบไมค่ วรรบเพยี งใด ผนู้ ั้นชนะ รู้หลักการใช้ทหารมากนอ้ ยเพียงใด ผู้นน้ั ชนะ ฝาุ ยนาํ และผอู้ ยู่ใตบ้ งั คับบญั ชา ร่วมจิตสมานฉนั ท์เป็นอันหนง่ึ อันเดียวกนั ผ้นู ัน้ ชนะ
เตรียมพร้อมเสมอ เพือ่ คอยโอกาสหละหลวมของศัตรู ผู้นั้นชนะ ขุนพลมีสมรรถภาพ และราชันยไ์ มส่ อดแทรกกา้ วกา่ ย (ปลอ่ ยใหป้ ฏิบตั ิการได้โดยเสรี) ผนู้ ั้นชนะ หลกั ๕ ประการน้ี คือ วธิ หี ยัง่ ร้ซู ่ึงความมีชยั เพราะฉะน้ัน จึงกลา่ วได้ว่า หากรูเ้ ขารูเ้ รา แม้นรบกันต้ังร้อยคร้งั กไ็ ม่มีอันตรายอนั ใด ถา้ ไมร่ ้เู ขาแต่รเู้ พียงตัวเรา แพ้ชนะยอ่ มก้าก่ึงอยู่ หากไม่ร้ใู นตัวเขาตวั เราเสยี เลย ก็ตอ้ งปราชยั ทกุ ครง้ั ทม่ี กี ารยทุ ธนัน้ แล
ปราชญ์ซุนวกู ลา่ ววา่ ผู้เช่ยี วชาญการศึกในสมยั โบราณ กอ่ นอน่ื เขาตอ้ งสรา้ งความเกรียงไกรแก่ตนเอง เพอ่ื คอยโอกาสทจ่ี ะเอาชนะขา้ ศกึ ความพชิ ิตนัน้ ตอ้ งอย่ทู เี่ รา แต่ความเอาชนะไดต้ ้องอยทู่ ขี่ ้าศึก เพราะฉะน้ัน ผู้เชี่ยวชาญการศกึ แมอ้ าจจะสรา้ งความเกรยี งไกรแก่ตนเอง แต่ไมส่ ามารถทําใหข้ า้ ศกึ จะตอ้ งอยูใ่ นฐานะเอาชนะได้ (เพราะเปน็ เร่ืองของข้าศกึ เอง) จึงกล่าวไดว้ า่ อนั ชัยชนะนั้น เราอาจหย่งั รู้ แต่ไมส่ ามารถจะสร้างขึ้น ในขณะท่ียังเอาชนะข้าศึกไมไ่ ด้ พงึ ตัง้ รบั ไว้ก่อน ครน้ั ทจ่ี ะเอาชนะได้ จงเร่งรุกเถดิ การต้ังรับน้ันเพราะกาํ ลังยังด้อย
รุกเพราะมีกําลังเหลือหลาย ผสู้ ันทัดในการตงั้ รบั นนั้ จะเสมอื นหน่ึงซ่อนเร้นยังใตบ้ าดาลชั้นเก้า (เงยี บกริบปราศจากว่ีแววใด ๆ) ผู้เชี่ยวชาญในการรุกนั้น ดจุ ไหวตัว ณ ฟากฟูาชนั้ เกา้ (กอ่ เสยี งกมั ปนาทน่าสะพงึ กลัว) ด้วยเหตุน้ี จง่ึ สามารถรักษากําลงั ของตน และได้ชัยชนะอย่างสมบรู ณ์ การหยั่งเห็นชัยชนะซึ่งใคร ๆ กร็ ูอ้ ยู่แลว้ มิใชช่ ัยชนะอันดเี ลศิ เมอ่ื รบชนะแล้วพลรบต่างแซ่ซอ้ งรอ้ งสรรเสรญิ ก็มใิ ชช่ ยั ชนะอันเย่ยี มเช่นเดียวกนั ดว้ ยเหตุวา่ ผ้สู ามารถยกขนสัตว์เพียงเส้นเดยี วไดน้ ั้น มใิ ช่ผู้ทรงพลัง ผมู้ องเหน็ เดอื นและตะวนั ได้ มใิ ช่ผ้มู นี ัยนต์ าแจ่มใส ผู้ไดย้ นิ ฟ้าคารณลัน่ มิใชผ่ มู้ โี สตประสาทไว ผใู้ ดช่อื ว่าเช่ยี วชาญการศกึ ในสมยั โบราณกาล เขาชนะเพราะเหตทุ อี่ าจเอาชนะได้โดยง่าย ฉะนนั้ ชยั ชํานะของผูเ้ ช่ียวชาญศกึ จงึ ไม่มนี ามบนั ลอื ในทางสติปญ๎ ญา ไม่มคี วามดใี นทางกลา้ หาญ ดงั น้นั ชยั ชํานะของเขาเป็นสิ่งท่แี น่นอนไม่แปรผนั ทีว่ ่าไม่แปรผนั นน้ั กโ็ ดยท่ีเขารบต้องชนะ ชนะเพราะขา้ ศึกแพ้แลว้ น่นั เอง
ดังน้นั ก่อนอื่น ผ้ทู ี่เชย่ี วชาญการศึกตอ้ งอยใู่ นฐานะไม่แพแ้ ล้ว และไมพ่ ลาดโอกาสที่ข้าศึกจกั ตอ้ งแพด้ ว้ ย ดว้ ยเหตุนเ้ี อง กองทพั ท่ีกาชัยชนะ จงึ รบในเม่ือเห็นชยั แลว้ แต่กองทัพท่พี ่ายแพจ้ ะรบเพ่อื หาทางชนะ ผู้เช่ยี วชาญการศกึ มงุ่ ผดุงธรรมและรักษาระเบียบวนิ ยั จงึ สามารถประสิทธิ์โชคชยั ได้ หลักยุทธศาสตรม์ วี า่ ๑ ศกึ ษาภูมปิ ระเทศ ๒ การคาํ นวณความสนั้ ยาวแห่งยทุ ธบริเวณ ๓ การวางอตั ราพลรบ ๔ การหาจุดศูนย์ถ่วงแหง่ กําลงั ๕ สูค่ วามมชี ัยอันลกั ษณะพ้นื ภูมิทําใหเ้ กิดการคาํ นวณ
การคาํ นวณทาํ ให้มีการวางอัตราพลรบ การวางอัตราพลรบทาํ ให้เกิดความมีชยั ในท่ีสดุ ดังนน้ั กองทัพพิชิต (เม่อื เขา้ ยทุ ธแยง้ กับข้าศกึ ) จงึ เสมอื นเอา 'อ้ี' * (ของหนกั ) ไปชง่ั 'จ'ู (ของเบา) แตก่ องทพั ทพ่ี า่ ยแพน้ ้นั กลบั เสมือนเอา 'จ'ู (ของเบา) ไปชั่ง 'อ้ี' (ของหนัก) การทําสงครามของผกู้ าํ ชัยชนะ เปรียบประดุจปล่อยน้าํ ซ่ึงทดไว้ ใหพ้ งุ่ สหู่ บุ ห้วยลกึ ตั้งพัน 'เย่นิ ' (ราว ๘๐,๐๐๐ ฟุต ผแู้ ปล) น่คี ือลกั ษณะการยทุ ธแล * จแู ละอ้ีเปน็ มาตราช่ังสมยั ดึกดาํ บรรพ์ของจนี กลา่ วกันว่า ๒๕ จู เทา่ กับ ๑ ตาํ ลงึ , ๒ ตําลึง เทา่ กบั ๑ อ้ี -ผแู้ ปล ปราชญ์ซุนวกู ล่าวว่า การปกครองทหารจาํ นวนมากได้ด่ังคนจํานวนนอ้ ย กด็ ว้ ยระเบียบการจดั กองรบ
การต่อส้คู นจาํ นวนมากไดเ้ ชน่ เดียวกับเผชิญคนจํานวนน้อย ก็ดว้ ยอาณัติสัญญาณธงและฆอ้ งกลอง กองทพั หนง่ึ ซ่ึงกอปรดว้ ยพลรบมากหลาย แต่อาจบญั ชาให้รบข้าศึกไดโ้ ดยไมเ่ พล่ยี งพลาํ้ น้ัน กด็ ้วยรู้จกั วธิ รี บซงึ่ หนา้ และวธิ ีรบพลกิ แพลง กองทพั รุกพุ่งไปทางใด เสมอื นหน่งึ กลง้ิ หินเข้ากระทบไข่ เพราะรวู้ ธิ ใี ช้กาํ ลังอนั แข็งแกรง่ ทลายจดุ ออ่ นแอของขา้ ศกึ นน่ั เอง สงครามใด ๆ กด็ ี ท้งั สองฝาุ ยยอ่ มเข้าปะทะกันซ่ึงหน้า (เป็นปกติวสิ ัย) แต่จักชนะกนั ได้กด็ ว้ ยยุทธวธิ พี ลิกแพลง เพราะฉะน้ัน ผ้จู ดั เจนวิธีการยทุ ธพลกิ แพลง วธิ ีการของเขาจะไม่รอู้ บั จน ดั่งดินฟาู อนั ไมร่ ู้จกั สนิ้ สญู จักไม่รหู้ มดส้ินดั่งแม่นาํ้ ไหลรนิ ไมข่ าดสาย พอจบแลว้ กเ็ ริม่ ใหม่ เช่นเดอื นตะวันทต่ี กแล้วขนึ้ อีก ตายแลว้ กผ็ ดุ เกิด เชน่ การหมนุ เวียนแห่งฤดูกาลท้ัง ๔
สรรพสําเนยี งมีเพียง ๕ แต่ความเปลย่ี นแปรแห่งเสยี งทงั้ ๕ นั้น เราจกั ฟง๎ ไมส่ ิ้น สมี เี พียง ๕ แตก่ ารแปรแหง่ สที ้งั ๕ จะทศั นาไม่หมด รสมเี พียง ๕ แตค่ วามแปรเปล่ียนแหง่ รสท้งั ๕ ยอ่ มลิม้ ชิมไม่รู้จบ (ฉันใด) (ฉนั น้ัน) สภาพการรบ ซึ่งมเี พียงการรบซงึ่ หนา้ และรบพลิกแพลงเท่านั้น แตค่ วามเปลี่ยนแปรแห่งวิธีการทงั้ สอง ก็มิรู้จักส้ินสดุ ดจุ กนั การรบซ่ึงหนา้ และรบพลิกแพลงย่อมเกอ้ื กนั เหมือนห่วงโซต่ ิดเป็นพืดหาข้อข้ึนตน้ มิได้ ฉะนี้ ใครจะเสาะหาเงอ่ื นงําของมนั ได้เลา่ ? ความเรว็ ของสายนาํ้ เชี่ยว ถงึ กับพัดพาก้อนหินลอยไปดว้ ยนัน้ เนอ่ื งจากความไหลแรงของมัน ความเรว็ ของนกอนิ ทรี ถึงกับทาํ ลายเหยอื่ แหลกลาญไป ก็ดว้ ยรู้จกั ประมาณชว่ งระยะโจมตอี ยา่ งดี ดว้ ยเหตุน้ี ยทุ ธานุภาพของผู้เชีย่ วชาญศกึ จึงรวดเร็วน่าสะพรึงกลัว การจู่โจมของเขาจงึ อยใู่ นช่วงสั้น ยุทธานภุ าพน้ัน เหมือนหนา้ ไมอ้ ันเหน่ียวเตม็ แล้ การกําหนดชว่ งโจมตี เหมอื นการเล็งเพอ่ื ปล่อยลกู ธนู
ในขณะทโ่ี รมรนั พนั ตูกนั ดชู ุลมนุ วนุ่ วาย แต่จะระส่ําระสายไม่ได้ กระบวนศึกตดิ พันกนั เป็นวงกลมดสู ับสนอลวน แตจ่ ะแพ้เสยี มิได้ การรบที่ชุลมุนว่นุ วายน้ัน ต้องเกดิ จากยทุ ธวิธีอนั มรี ะเบียบ อาการประหน่งึ ขลาดกลัวน้ัน ต้องเน่อื งจากความเหยี้ มหาญ ทที ่าซง่ึ ดูออ่ นเปลยี้ ต้องสืบจากความแขง็ กลา้ (ทงั้ เพื่อซอ่ นความจรงิ ให้ข้าศึกหลงเขา้ ใจผิด) ความมีระเบยี บหรอื ความวุ่นวาย เปน็ เรื่องของการจดั พลรบ (ถา้ การจดั พลดกี จ็ ะยังความมีระเบยี บได้) ความขลาดหรอื ความกลา้ เป็นเรอื่ งของยทุ ธานุภาพ (ถา้ สถานการณไ์ ด้เปรยี บ แมท้ หารท่ีขลาดก็จะบงั เกิดความกล้า) ความเขม้ แข็งหรืออ่อนแอเป็นเรื่องของกระบวนศกึ (ถา้ กระบวนศึกอยู่ในลกั ษณะดี ทแกล้วทอ่ี ่อนแอก็จะเข้มแข็งแกร่งกล้าขน้ึ )
เพราะฉะน้นั ผเู้ ชยี่ วชาญการหลอกล่อขา้ ศกึ เมอื่ แสดงกริ ยิ าทา่ ทีไปบ้าง ข้าศึกจะตกหลุมพลาง ทนั ทีท่ีหยิบยนื ให้ ขา้ ศึกจะตอ้ งตะครุบเอา จงึ่ ล่อดว้ ยประโยชน์แลว้ คุมเชงิ ด้วยพลพฤนท์ เพราะฉะนัน้ ผเู้ ชี่ยวชาญศกึ พึงแสวงชยั ชนะจากรูปการณ์สงคราม มใิ ช่คอยแตต่ ีโพยตพี ายผอู้ ื่น ด้วยเหตนุ ี้เขาจงึ ร้จู ักเลือกใชค้ น และผ่อนคลอ้ ยตามรปู การณ์ (เพ่อื บรรลชุ ยั ชนะในที่สดุ ) ทวี่ ่าผอ่ นคลอ้ ยตามรปู การณ์ คือ การบัญชากองทัพเข้ารบกบั ข้าศกึ ก็เหมอื นงัดซงุ หรือกอ้ นหินใหก้ ลิง้ ไป อนั ธรรมชาติของไม้หรอื หินน้นั ในที่ราบเรียบมนั จะน่งิ ไม่ขยบั เขยอ้ื น ในที่ลาดชนั มนั จะกลง้ิ เอง ถ้าไมแ้ ละหนิ น้นั เปน็ เหลย่ี มมนั จะหยุด ถา้ กลมมนั จะหมนุ ดว้ ยเหตุฉะนี้ อาการประยทุ ธไพรี ซ่ึงเสมือนหนึ่งกล้ิงหนิ กลมจากภูผาสูงตงั้ พนั 'เยิ่น' (มนั จะบดขย้ไี ปอย่างอตุ ลุด) ก็เนอ่ื งแตย่ ทุ ธานภุ าพยังใหเ้ ปน็ ไปฉะน้ันแล
ปราชญ์ซนุ วูกลา่ วว่า ผถู้ ึงสมรภูมคิ อยทัพขา้ ศึกก่อน กาํ ลงั ยอ่ มสดชืน่ ส่วนผ้ทู ีถ่ งึ หลงั และยังตอ้ งเข้ารบด้วย ย่อมเหนด็ เหน่ือยอิดโรย จงึ่ ผู้ชานาญการศึกพึงคุมผู้อืน่ หายอมอยใู่ นฐานะใหผ้ ู้อ่นื คุมไม่ การทจ่ี ะทําใหข้ ้าศึกมาเขา้ บว่ งเอง กด็ ้วยล่อใหเ้ ห็นผลได้ และจะให้ศตั รูขยาดไม่เขา้ ใกล้ ก็ดว้ ยแย้มให้เหน็ ผลเสีย ด้วยเหตนุ ี้ ถ้าศัตรอู ยใู่ นภาวะสดชน่ื กระปรี้กระเปรา่ เรากอ็ าจรงั ควาญใหไ้ ดร้ ับความลําบาก ถา้ อ่ิมหมพี ีมัน เรากอ็ าจทําให้หิวโหย ถา้ สงบมน่ั คง เรากอ็ าจทําใหห้ วัน่ ไหวสะดงุ้ สะเทือน
จึ่งโจมตใี นเสน้ ทางทีข่ า้ ศกึ จะต้องมา และเขา้ บกุ คราศตั รมู ไิ ดค้ าดฝน๎ การตกี องทพั เดนิ ทางไกลต้ังพัน 'หลี่' (ราว ๓๕๗.๙ ไมล์) โดยไม่รสู้ กึ อิดโรยนั้น ก็เพราะเดินทางไปในแนวทปี่ ลอดคน (ไม่มีศัตรูรบกวน) การตีเมอื งเป็นตอ้ งได้ กเ็ พราะตีเมืองที่ศัตรูไม่สามารถจะรักษาไว้ ครัน้ ถึงคราวรกั ษาเมอื งก็รกั ษาได้เหนยี วแน่นม่ันคง กเ็ พราะข้าศกึ ไม่พึงประสงคเ์ ข้าตี ด้วยเหตุนี้ ผู้ทส่ี นั ทดั การรุก จึงเขา้ บกุ จนศัตรูไม่มที างรบั สว่ นผูช้ ํานาญการต้ังรับ จะทําใหข้ า้ ศกึ ไม่ทราบว่าจะเข้าตอี ย่างไร มันช่างแสนพิศดารย่ิงหนอ ถงึ แกไ่ มแ่ สดงรูปลกั ษณใ์ หเ้ หน็ มันช่างมหศั จรรยเ์ หลือล้น ถึงแกไ่ ม่ปรากฏสุ้มเสียงใหไ้ ดย้ ิน จึงอาจกําชีวติ ไพรินไวไ้ ดโ้ ดยเด็ดขาด ยามเขา้ ราญรุก ก็บุกจนข้าศกึ ต้านทานไมอ่ ยู่ เพราะเข้าทลายจดุ ออ่ น ครนั้ ทถี อยก็ถอยจนไล่ไม่ตดิ เพราะความรวดเรว็ ไมท่ ันกัน
ฉะนี้ เม่ือเราต้องการจะรบ แม้นข้าศึกจะอยู่ในปูอมค่ายอันสงู และมีคเู มอื งอันลกึ ลอ้ มรอบ ก็ไม่วายทต่ี ้องออกรบดว้ ยความจําใจ ด้วยว่าเขา้ ตจี ดุ ที่ข้าศึกตอ้ งแกน้ ่ันเอง คราเราไมป่ ระสงค์จะรบ แม้นขีดเส้นตงั้ รับไว้บนพน้ื ดิน ศตั รูกไ็ มอ่ าจรบเราได้ เน่อื งด้วยผดิ จํานงในการเขา้ ตีของเขา ฉะนน้ั จึงใหศ้ ัตรูเป็นฝุายเปิดเผย ส่วนเราไมส่ าํ แดงร่องรอยใหป้ ระจกั ษ์ กระนฝี้ ุายเรารวม แต่ศัตรูแยก เรารวมเป็นหนงึ่ ศตั รูแยกเป็นสบิ เทา่ กบั เราเอาสิบเข้าตหี น่งึ เมือ่ กาํ ลงั ฝาุ ยเรามากแต่ศัตรนู ้อย การที่เอากําลงั มากจูโ่ จมกําลงั น้อย ส่งิ ทเ่ี ราจะจัดการกับขา้ ศึกกง็ า่ ยดาย สถานท่เี ราจะรบข้าศึก เรามิแย้มพรายใหร้ ู้ เมือ่ ขา้ ศกึ ไม่รกู้ ย็ ่อมตอ้ งแบ่งแยกกําลงั เตรียมรับไว้หลายแหง่ ด้วยกนั เมอื่ ขา้ ศกึ กระจายกําลงั ปูองกนั มากแหง่ สว่ นทเ่ี ราตอ้ งเข้ารบพุ่งด้วยก็ยอ่ มนอ้ ยลง
ฉะนน้ั ถา้ ระวังหนา้ กําลังทางหลังจะนอ้ ย ระวงั ทางด้านหลัง กาํ ลังทางด้านหน้าจะนอ้ ย ระวังดา้ นซ้าย กําลังทางขวาจะน้อย ระวังดา้ นขวา กําลงั ทางซา้ ยจะนอ้ ย ระวังเสยี ทุก ๆ ดา้ น กําลังทุก ๆ ทางจะบางลง การทก่ี ําลังนอ้ ยก็ด้วยวา่ ต้องระวังผู้อ่ืน (และตรงกันข้าม) กาํ ลงั จะเพมิ่ พนู ขน้ึ กโ็ ดยให้ผู้อ่ืนระวงั ระไวเรา ดงั น้นั ถ้าเรารู้สถานที่และวนั เวลาทจี่ ะรบแล้วไซร้ แม้วา่ เราจะต้องรบขา้ ศึกในระยะไกลตัง้ พัน 'หล่ี' ออกไป เราก็สามารถเข้าทาํ การชงิ ชยั ได้ ถา้ ไม่รสู้ ถานทแ่ี ละวนั เวลาท่ีจะต้องรบ (ครน้ั เม่ือถกู โจมตเี ขา้ ) กําลงั ปีกซ้ายก็ไม่สามารถเขา้ ชว่ ยปีกขวา กําลงั ทางปกี ขวากไ็ ม่สามารถชว่ ยปีกซา้ ย กําลงั ทางกองหนา้ ไม่สามารถเข้าช่วยกองหลัง และกองหลงั กไ็ ม่สามารถช่วยกองหนา้ (การณ์เปน็ เช่นน้ี) กส็ าอะไรกับกอง ๆ หนึง่ ยังตง้ั ห่างกันหลายสบิ 'หล่ี' ในระยะไกล หรอื หรือหลาย 'หลี่' ในระยะใกลเ้ ล่า ตามความพเิ คราะหข์ องขา้ ฯ
ถงึ พลรบของประเทศ 'ย-ุ เวะ' (เยียะ) มีมากมาย จะมีประโยชน์อนั ใดกบั การมีชยั ไดฤ้ า? เพราะฉะน้นั จงึ กลา่ วได้วา่ อันชยั ชนะอาจสร้างขนึ้ ได้ (มใิ ชส่ ง่ิ สดุ วิสยั ) แม้นศตั รูจะมจี าํ นวนมากหลาย กอ็ าจทําให้หมดกําลงั ส้รู บได้ ดว้ ยเหตุน้ี ต้องพจิ ารณาสภาพเราสภาพเขา เพอ่ื ใหร้ ู้เชิงได้เชิงเสยี ต้องทําการสอดแนม เพื่อรู้เบาะแสการเคล่อื นไหวของขา้ ศกึ ต้องวางกาํ ลงั ทหารเพือ่ รูแ้ ดนเป็นแดนตาย และตอ้ งฟด๎ เหวี่ยงประลองดู เพ่อื รูว้ า่ กําลังของเราจุดไหนขาดเกินประการใด ฉะนั้น การจดั ทัพอย่างเลศิ แลว้ จะไม่ปรากฏรอ่ งรอยให้เห็น เม่ือปราศจากรอ่ งรอยอันใด แม้จารบุรษุ ท่ลี ึกล้ํา กไ็ มส่ ามารถเลง็ เห็นเจตจาํ นงของเราได้ แมเ้ จ้าปญ๎ ญา ก็ไม่สามารถดําเนนิ กโลบายต่อเราอย่างไร
เนือ่ งด้วยหยั่งรคู้ วามลกึ ตนื้ หนาบางของข้าศกึ จงึ นําความมีชัยมายืน่ ให้กองทัพของตน ถงึ เหล่าทวยหาญก็ไมแ่ จง้ ในเหตแุ หง่ ชัยชนะได้ ชนท่วั ไปต่างรเู้ ห็นรปู การณ์ท่เี ราเอาชนะอยู่ แต่ไม่อาจล่วงร้ถู งึ หลักประกันแหง่ ชัยชนะนัน้ ๆ ฉะน้ี วธิ เี อาชนะจึงไมซ่ ํา้ แบบ และอาจสนองกบั เหตุการณ์โดยไม่รจู้ ักจบสิ้น ฉะนัน้ การใชก้ าํ ลงั ทหาร จึงเหมือนหนง่ึ ธรรมชาตขิ องนาํ้ น้าํ ย่อมหลกี ท่ีสูงไหลสูท่ ี่ต่ํา ลกั ษณะการยทุ ธกย็ อ่ มหลีกเลี่ยงด้านทมี่ ีกาํ ลังเข้มแขง็ ยกั ยา้ ยเขา้ ตจี ดุ ออ่ นแอ นาํ้ ยอ่ มจัดกระแสไหลบ่าไปตามลักษณะพนื้ ภูมิ การยทุ ธก็ย่อมเอาชนะกนั ตามสภาวะของข้าศึก ฉะน้ัน การยทุ ธจึงไมม่ ีหลกั เกณฑ์ตายตัว เฉกเช่นนาํ้ ซึง่ หามรี ปู ลักษณะอันแนน่ อนไม่ จึงผู้เอาชนะด้วยปฏิบตั ิการเหมาะสม กับความผนั แปรของขา้ ศึกนน้ั พงึ กลา่ วได้ว่า เขาคือเทพเจา้ ผู้ทรงอทิ ธิฤทธิ์ทเี ดยี ว ฉะน้ัน ในกองธาตุท้งั ๕ ย่อมไมม่ ธี าตใุ ดชนะเป็นเย่ียมในทีส่ ดุ (เชน่ ธาตุไฟแพ้ธาตุนา้ํ แตธ่ าตนุ ํ้าแพธ้ าตุดิน ฯลฯ ผแู้ ปล) ฤดกู าลทัง้ ๔ ยอ่ มไมม่ ีตําแหล่งทีแ่ น่นอน แสงตะวันย่อมมีส้นั ยาว (ตามฤดกู าล) ดวงจันทร์ยอ่ มมขี ึ้นป๎กษแ์ รมป๎กษ์
(ดังเช่นการศึกซึง่ ไม่มีหลักเกณฑ์ตายตัวน่นั แล) ปราชญ์ซนุ วูกลา่ วว่า อันการศกึ นน้ั เมอ่ื ขนุ พลได้รับแต่งตง้ั จากกษตั ริย์ ระดมพลเรียงค่ายขัดตาทพั ไว้ จะไม่มอี ะไรยากย่ิงกว่าการดาํ เนินสปั ระยุทธ์ชงิ ชยั ที่วา่ ยากน้ัน คือ จักต้องเปล่ียนทางอ้อมให้เปน็ ทางลดั ขจดั ความร้ายใหเ้ ปน็ ผลดี
เพราะฉะนนั้ เพอื่ ให้เสน้ ทางเดินทพั ของข้าศึกออ้ มหกวกเวยี น จงึ ต้องลอ่ ด้วยอามิสประโยชน์ สว่ นเราแมจ้ ะเคลอื่ นภายหลัง แตก่ บ็ รรลุจุดหมายไดก้ ่อน เช่นน้ี เรยี กวา่ รเู้ งอ่ื นงําของความอ้อมลัดแล ดว้ ยเหตุน้ี การสปั ระยุทธช์ ิงชัย จึงเป็นได้ทง้ั ความสวสั ดิภาพ หรอื มหันตราย (สุดแตผ่ บู้ ัญชาการทัพจะดาํ เนนิ การอย่างไร) เบือ้ งวา่ ยกกําลังทงั้ หมดเขา้ ชิงชยั ก็ไม่ทันการ (เพราะอุ้ยอ้ายใหญ่โต) คร้ันจะทอดทิ้งกําลงั โดยใชแ้ ตเ่ พยี งบางส่วน กจ็ ะทําให้สูญเสยี ซึ่งยทุ ธสัมภาระ (เพราะอย่ลู า้ หลัง อาจถูกโจมตไี ด้) ฉะน้ัน การใหร้ พี้ ลถอดเกราะออกเสยี และเร่งรุดเดินทัพในความเรว็ เปน็ ทวีคณู โดยมิได้พักผอ่ นท้งั กลางวนั และกลางคนื ถา้ เข้าชิงชัยกบั ข้าศกึ ในระยะทางร้อย 'หล'่ี
นายทัพทงั้ สาม (ทัพหนา้ ทพั หลวง และ ทัพหลงั ) จะตอ้ งตกเปน็ เชลยของขา้ ศกึ ทง้ั สนิ้ เพราะผูท้ แ่ี ขง็ แรงจะถงึ กอ่ น ผอู้ อ่ นแอจะถงึ หลัง กาํ ลงั ซึง่ ถึงจดุ จะมีไดเ้ พียง ๑ ใน ๑๐ เทา่ นั้น ถา้ เขา้ ชงิ ชัยในระยะ ๕๐ 'หลี่' ทัพหนา้ ก็จะปราชัย เพราะกําลงั พลถงึ ไดเ้ พียงคร่ึงเดียว ถ้าเขา้ ชิงชัยในระยะทาง ๓๐ 'หล่ี' กาํ ลงั จะถงึ ระยะเพียง ๒ ใน ๓ เทา่ นน้ั เพราะฉะนนั้ กองทัพจะขาดเสียซ่งึ ยทุ ธสัมภาระ เสบยี งอาหาร และสรรพส่ิงเครือ่ งสํารองไม่ได้ หาไมแ่ ล้วจกั ต้องแตกพา่ ยวางวายแนน่ อน ฉะนัน้ ถา้ ไมร่ ูเ้ จตจาํ นงของเหล่าเจา้ ครองนคร เราจะผูกไมตรีไว้ไม่ได้ ถ้าไม่รู้ลักษณะภูเขาลําเนาไม้ ทค่ี บั ขันลมุ่ ดอน ตลอดห้วยหนองคลองบงึ บาง เราจะเดนิ ทพั ไม่ได้ ถา้ ไมใ่ ช้มคั คเุ ทศกน์ ําทาง เราจะไมไ่ ดเ้ ปรียบทางพน้ื ภูมปิ ระเทศ ฉะนน้ั การศึกจงึ ตั้งบนเลห่ เ์ หลี่ยมแต้มคู เคลอ่ื นไหวเมือ่ ผลได้ และยงั แปรโดยการรวมหรอื กระจายกาํ ลัง
ด้วยเหตนุ ี้ จงึ มีความเรว็ เหมอื นลมเพชรหึง เชอ่ื งช้าประหนึง่ แมกไมใ้ นพงไพร ราวีเฉกเชน่ ไฟประลัยกลั ป์ หนกั แน่นเลห่ ์ปานภผู า ยากทจี่ ะหยัง่ รูด้ จุ ทอ้ งฟาู อันคลุมเครอื และไหวตัวดง่ั เม่ือสายฟูาคํารณลนั่ สะท้านสะเทอื น (เมอื่ เหยียบประเทศข้าศกึ ) ได้ลาภสงครามอนั ใดมา กแ็ จกจ่ายร้พี ล ยึดได้พน้ื ที่กแ็ บ่งปน๎ แก่แม่ทพั นายกอง จะประกอบการอนั ใด จงชั่งตรองใหถ้ อ่ งแท้แน่ใจ ผูร้ อบรู้เงื่อนงาํ ความออ้ มลดั จักชนะ นี้คอื วธิ ีสัประยทุ ธ์ชงิ ชัยแล
ตําราทหารกลา่ วไว้ว่า \"ดว้ ยเหตุไมส่ ามารถยิน สรรพสาํ เนยี งท่ีพูด จ่งึ ลั่นฆอ้ งเภรี ดว้ ยเหตทุ ี่ไม่สามารถแลเหน็ กัน จึงให้อาณัติสญั ญาณธวชั \" อนั การฆาตฆ้องกลองและใช้ธวชั น้ัน กเ็ พื่อรวมหตู า (ทั้งกองทพั ) ให้เปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั นน่ั เอง เมื่อร้ีพลมสี มาธิแนว่ แน่ฉะนี้ สําหรบั ผู้ที่กลา้ หาญ ก็จะไม่รกุ ล้ําไปเบอื้ งหนา้ แตโ่ ดดเดีย่ ว ผู้ขลาดจะไมถ่ ดถอยตามลาํ พัง นีค้ อื วธิ ีการบญั ชาการทัพใหญแ่ ล เพราะฉะน้ัน การรบในเวลาคํ่าคนื จงึ มากไปด้วยคบไฟและระงมไปดว้ ยเสยี งเภรี การสปั ระยุทธใ์ นเวลากลางวนั จึงดาษดว้ ยสัญญาณธวชั ท้ังนี้ เพื่อก่อกวนประสาทหตู า ของข้าศึกใหห้ ลงเลอะน่ันเอง
ด้วยเหตุน้ี เราอาจทําลายขวัญของข้าศกึ และจิตใจของแม่ทพั นายกองให้แหลกลาญได้ (ตามปกติ) ขวัญตอนเช้าย่อมดี (เพราะกําลังสดช่ืน) ถงึ เที่ยงกท็ รามดว้ ยความเกยี จคร้าน ตกเย็นกโ็ ทรมเพราะใคร่จะพักผอ่ น ผู้ชํานาญการศกึ จึงหลกี เล่ียงขา้ ศกึ ตอนสดช่ืน และเขา้ โจมตีเวลาขวัญข้าศกึ ทรามหรือโทรมแลว้ นี้คอื วธิ ีปฏิบตั ิตอ่ ขวญั ทหารแล จงเอาความมีระเบียบวินัยแห่งตน คอยจ่โู จมเมอ่ื ขา้ ศึกอลวนวนุ่ วาย จงเอาการสงบน่งิ ตอบสนองความเอะอะมะเท่ิง นคี้ ือวธิ ีรกั ษากาํ ลงั จิตใจแล จงเอาความใกล้ (ตอ่ สมรภมู ิ) ของเราคอยรบั ข้าศึกซง่ึ ตอ้ งเดนิ ไกล จงเอาความสดช่ืนของเรา ส้ศู กึ ซงึ่ อิดโรยเมอ่ื ยลา้ จงเอาความอมิ่ หนําสาํ ราญของเรา รับมือข้าศกึ ทหี่ ิวโหย นคี้ ือวิธีถนอมกาํ ลังแล
จงอย่าเขา้ ตขี บวนทัพ ซึง่ มีทิวธวชั ถะถนั่ เป็นระเบียบ จงอยา่ จ่โู จมปูอมคา่ ยแนวรบของปรปก๎ ษ์ ทต่ี ้ังเปน็ สง่านา่ เกรงขาม นคี่ อื วิธีปูองกนั มิใหเ้ กดิ เภทภัยแล เพราะฉะน้ัน วิธีสัประยทุ ธม์ ีอยูว่ า่ อยา่ แหงนหน้าเข้าตีข้าศึกซงึ่ ตัง้ บนท่ีสูง อย่ารกุ พุ่งข้าศึกท่อี ิงสนั เขาเปน็ ทม่ี น่ั อยา่ ไล่กระชัน้ ขา้ ศึก ซ่ึงทาํ ทีว่าแตกระส่ํา อย่ากระหนํ่าข้าศกึ เมอ่ื เขาขวญั ดแี ละเหีย้ มหาญ อยา่ ทะยานฮุบเหยอื่ เม่ือเขาทอดให้ และไมค่ วรรง้ั ทัพศกึ ทีร่ บี รกุ จะถอนคืน การลอ้ มทพั ข้าศึก จาํ เป็นตอ้ งเปดิ ทางไปไวท้ างหนึง่ (น่คี งหมายถงึ การรบในที่กวา้ ง มิใชก่ ารล้อมเมอื ง - ผ้แู ปล) เมอ่ื ทพั ศึกจนตรอกแล้ว ก็อยา่ ไดร้ ุกกระหน่ําประชิดเข้าไป (เพราะเมอ่ื เขาไมม่ ีทางไป ก็จะหันหน้าส้อู ย่างไม่คิดชีวิต)
น่คี อื วิธีสัประยุทธ์แล ปราชญ์ซุนวกู ลา่ ววา่ อนั การศึกนนั้ เม่อื ขนุ พลได้รับแต่งตัง้ จากกษัตรยิ ์ และระดมพลชมุ นมุ ทพั แลว้ อย่าไดต้ ัง้ ค่ายในท่ีทุรลกั ษณ์
ความผกู พนั ไมตรีกับแวน่ แคว้นทอ่ี ยูท่ างแพร่ง (คอื ประเทศเป็นกลางอนั ตงั้ อยรู่ ะหว่างเรา และประเทศท่สี าม อ่ืน ๆ เพราะเปน็ ศูนยก์ ลางคมนาคม การมพี นั ธะกนั ไว้ ย่อมเอื้ออํานวยประโยชนอ์ นนั ต์) อยา่ อ้อยอง่ิ แช่ดองในแดนทรุ กนั ดาร เมือ่ อยู่ในท่ีลอ้ มจงเร่งขวนขวายหาทางออก หากพลดั เขา้ อยู่แดนตาย(อบั จน) จงรีบเรง่ ทมุ่ เทกําลงั เข้าสู้รบ (เพื่อถอนตวั ให้หลดุ จากท่ีนัน้ ) บางวาระอาจไมเ่ ดินทพั ตามเส้นทางท่ีควรไป และอาจจะไม่ตที ัพขา้ ศึกบางกองบางหนว่ ย เมืองดา่ นของขา้ ศึกบางแห่งเราก็ไมเ่ ขา้ โจมตี
บางถิน่ บางทเี่ ราไม่เขา้ ยทุ ธแยง้ ชงิ ชัยดว้ ย บางครั้ง พระบรมราชโองการ ก็ไมพ่ ึงรับสนองเสมอไป (เพราะผู้เป็นขุนพลตอ้ งปฏบิ ัติการรบ ให้สมคล้อยตามรูปการณ์ของสงครามโดยเสรี) เพราะฉะนนั้ ขุนพลแจ้งในคณุ านุคุณแห่งนานาวิการ (ความเปลยี่ นแปลงบิดเบอื นต่าง ๆ อันมิได้เปน็ ไปตามทค่ี วรเป็น) จงึ นับได้วา่ รู้การศกึ ขนุ พลผไู้ ม่แจ้งในหลกั นานาวกิ าร แม้จะรลู้ ักษณะภมู ิประเทศดี กไ็ มอ่ ํานวยผลประโยชน์อย่างไรเลย และในการบัญชาทัพ หากไม่รวู้ ธิ ีการสู้รบต่อนานาวกิ ารแล้วไซร้ แมซ้ าบซ้ึงถึงความไดเ้ ปรยี บแห่งภูมปิ ระเทศ กไ็ ม่อาจใชก้ าํ ลังพลไดเ้ ต็มเม็ดเตม็ หนว่ ย ดว้ ยเหตนุ ี้ ความใครค่ รวญของผ้ทู รงปญ๎ ญา จงึ ทบทวนอยใู่ นระหว่างคณุ -โทษ ผลได้-ผลเสยี ถา้ ทบทวนเหน็ คุณหรือผลได้ (ในโทษหรือผลเสยี )
ความเชื่อมั่นต่อความสําเรจ็ ในกจิ การงานก็แนน่ แฟูนย่งิ ขนึ้ ถ้าทบทวนเหน็ โทษหรือผล (ในคณุ หรือผลได้) เภทภยั อันอาจเกิดขึ้น ก็จักแกไ้ ขกนั ทนั ท่วงที เพราะฉะนั้น จะให้เหลา่ ประเทศราชหมอบราบคาบแกว้ ได้ ก็ดว้ ยให้เหน็ ภยั โทษ จะช่วงใชก้ ็ดว้ ยมอบภารกจิ จะจูงจิตใจให้ฝก๎ ใฝตุ อ่ เรา กด็ ว้ ยกอบเก้อื อามิสประโยชน์ เพราะฉะนั้น ในการศึกนน้ั อย่าวางใจขา้ ศกึ จะไม่มาราวี แตพ่ งึ ยึดมน่ั ในการเตรียมพรอ้ มของฝุายตน อยา่ วางใจวา่ ข้าศึกจะไม่จู่โจม แตพ่ งึ ยดึ มัน่ ในความแขง้ แกรง่ มัน่ คงของเราเอง เพราะฉะนัน้ ผ้นู ําทัพ จึงมจี ดุ อนั ตราย ๕ ประการ คอื ผทู้ ค่ี ดิ แต่สู้ตายถ่ายเดียว อาจถกู หมายเอาชวี ิตได้ ผู้ทีค่ อยแต่รักษาตวั รอด อาจถูกจบั กมุ เป็นเชลย
Search