Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง

Published by sofiayaten693, 2021-03-25 08:00:15

Description: sufficiency economy

Search

Read the Text Version

เศรษฐกจิ พอเพยี ง “ความหมาย เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาท่ีช้ีแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนของ ประชาชนในทุกระดับ รวมถึงระดับรัฐบาลในการพฒั นาและบริหารประเทศ ให้ ดาเนินไปในทางสายกลาง ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมี พระราชดารัส แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ และภายหลงั วิกฤติเศรษฐกิจ พ.ศ. ๒๕๔๐ ไดท้ รงเนน้ ย้าเป็นแนวทางการแกไ้ ขเพ่ือใหร้ อดพน้ และ สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยง่ั ยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความ เปล่ียนแปลงต่างๆ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้เชิญ ผูท้ รงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจ และสาขาอ่ืนๆ มาร่วมกนั ประมวลและกลนั่ กรองพระ ราชดารัส เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือบรรจุในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙) และได้จัดทาเป็ นบทความเร่ือง \"ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง\" และไดน้ าความกราบบงั คลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรม ราชวินิจฉยั เมื่อวนั ท่ี ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแกไ้ ขพระราชทาน และทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหน้ าบทความที่ทรงแกไ้ ขแลว้ ไปเผยแพร่ เพ่ือเป็น แนวทางปฏิบตั ิของสานกั งานฯ และทุกฝ่ ายที่เกี่ยวขอ้ ง ตลอดจนประชาชนโดยทว่ั ไป ในท่ี ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๒ “หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาช้ีแนวทางการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิของประชาชน ใน ทุกระดบั ต้งั แต่ระดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชน ถึงระดบั รัฐ ท้งั ในการพฒั นาและ

บริหารประเทศ ให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพียง รวมถึงความจาเป็ นท่ี จะตอ้ งมีระบบภูมิคุม้ กนั ในตวั ที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อนั เกิดจากการ เปล่ียนแปลงท้งั ภายนอกและภายใน ซ่ึงจะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และ ความระมดั ระวงั ในการนาวิชาต่างๆ มาใชใ้ นการวางแผนและดาเนินการทุกข้นั ตอน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทาน ข้างต้น เป็ นที่มาของ นิยาม \"๓ ห่วง ๒ เง่ือนไข\" ที่คณะอนุกรรมการขับเคล่ือน เศรษฐกิจพอเพียง สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นามาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านช่องทางต่างๆ อยู่ใน ปัจจุบนั ซ่ึงประกอบดว้ ยความ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กนั บนเงื่อนไข ความรู้ และ คุณธรรม ในวนั ที่ ๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชดารัสวา่ \"การจะเป็ นเสือน้ันมันไม่สาคัญ สาคัญอยู่ท่ีเราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการ เป็ นอยู่แบบพอมีพอกนิ แบบพอมีพอกนิ หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพยี งกบั ตัวเอง\" เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวคิดที่ยดึ หลกั ทางสายกลาง คาวา่ ความพอเพยี ง น้นั หมายถึงความพร้อมท่ีจะจดั การกบั ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากท้งั ภายนอกและภาย ใน ระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง ยงั สามารถมองไดว้ า่ เป็นปรัชญาในการดารงชีวิตใหม้ ี ความสุข ที่จาเป็นตอ้ งใชท้ ้งั ความรู้ ความเขา้ ใจ ผนวกกบั คุณธรรมในการดาเนินชีวิต เศรษฐกิจพอเพยี งไม่ใช่เพียงการประหยดั แต่เป็นการดาเนินชีวิตอยา่ งชาญฉลาด และ สามารถอยไู่ ด้ แมน้ ในสภาพที่มีการแข่งขนั และการไหลบ่าของโลกาภิวตั นาสู่ ความ สมดุล มนั่ คง และยง่ั ยนื ของ ชีวติ เศรษฐกิจ และ หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมีชื่อ เล่นที่พวกเราเรียนกนั คือ สามห่วงสองเง่ือนไขหรือสามห่วงกรอบความคิดและสอง เง่ือนไขพ้นื ฐานดงั ภาพประกอบ

หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การพฒั นาตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง คือการพฒั นาที่ต้งั อยบู่ นพ้ืนฐานของทางสาย กลาง และความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้าง ภูมิคุม้ กนั ที่ดีในตวั ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการ วางแผน การตดั สินใจ และการกระทา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลกั พิจารณา อยู่ 5 ส่วน ดงั น้ี 1. กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบตั ิตนในทางท่ี ควรจะเป็ น โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถีชีวิตด้งั เดิมของสังคมไทย สามารถนามา ประยกุ ตใ์ ชไ้ ดต้ ลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปล่ียนแปลง อยตู่ ลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา มุ่งเนน้ การรอดพน้ จากภยั และวิกฤต เพื่อความมนั่ คง และความยง่ั ยืนของการ พฒั นา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การปฏิบตั ิตนไดใ้ น ทุกระดบั โดยเนน้ การปฏิบตั ิบนทางสายกลาง และการพฒั นาอยา่ งเป็นข้นั ตอน

3. คานยิ าม ความพอเพียงจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 คุณลกั ษณะ พร้อม ๆ กนั ดงั น้ี 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไป และไม่มาก เกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผอู้ ื่น เช่นการผลติ และการบริโภค ท่ีอยใู่ นระดบั พอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตดั สินใจเกี่ยวกบั ระดบั ของความพอเพียง น้นั จะตอ้ งเป็ นไปอยา่ งมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทาน้ัน ๆ อย่าง รอบคอบ 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตวั ให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปล่ียนแปลงดา้ นต่าง ๆ ที่จะเกิดข้ึนโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนในอนาคตท้งั ใกล้ และไกล 4. เง่ือนไข การตดั สินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพียงน้นั ตอ้ งอาศยั ท้งั ความรู้ และคุณธรรมเป็นพ้นื ฐาน กล่าวคือ 1. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่าน้ันมา พิจารณาใหเ้ ช่ือมโยงกนั เพื่อประกอบการวางแผน และความระมดั ระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ 2. เง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะตอ้ งเสริมสร้างประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้ สติปัญญาในการดาเนินชีวติ 5. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยกุ ตใ์ ช้ คือ การพฒั นาที่สมดุล และยงั่ ยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ในทุกดา้ น ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม ความรู้ และเทคโนโลยี

“การนาหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ” เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ไดห้ ลายอย่าง ... จะขอยกตวั อย่างท่ีใกลต้ วั ที่สุดก็คือ เร่ืองของการใชจ้ ่ายอย่างฟ่ ุมเฟื อยของนักศึกษา ส่วนใหญ่ท่ีใชเ้ งินอยา่ งฟ่ ุมเฟื อยเกินตวั ซ้ือสิ่งของที่ไม่จาเป็ น ราคาแพง มีค่านิยมทาง วตั ถุ เม่ือเราศึกษาถึงเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงแลว้ จะสอนให้รู้จกั พอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่ คือ การใชเ้ งินอยา่ งพอประมาณ สมเหตุสมผล รู้จกั ประมาณตนวา่ ส่ิงไหนควรสิ่งไหน ไม่ควรไม่ตามค่านิยมจนเกิดไป ใชส้ ่ิงของที่มีอยใู่ ห้เกิดประโยชน์สูงสุด และรู้จกั การ เกบ็ ออม นอกจากน้ีสามารถนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชบ้ ริหารการใชท้ รัพยากรท่ี มีอยู่ เช่นการประหยดั น้าประหยดั ไฟฟ้า รวมถึงการนาทรัพยากรที่มีอยกู่ ลบั มาใชใ้ หม่ เพ่ือประโยชน์สูงสุด เช่น กระดาษรีไซเคิล ถุงรีไซเคิล และสิ่งที่กล่าวมายงั สามารถ ช่วยลดสภาวะเรื อนกระจกที่เป็ นสาเหตุของภาวะโลกร้อน ดงั คากล่าวทีว่ ่า \"เศรษฐกจิ พอเพยี ง\" จะสาเร็จได้ด้วย \"ความพอดขี องตน\"

รายงาน เร่ืองเศรษฐกจิ พอเพยี ง เสนอ อาจารยส์ มชาย ผาธรรม จดั ทาโดย น.ส.รุ่งอรุณ ยนจอหอ 115330505321-3 น.ส.นิภาพร วเิ ศษศรี 115330505322-1 น.ส.วภิ ารัตน์ กุลที 115330505323-9 นายมาโนช หว้ ยหงษท์ อง 115330505325-4 นายวิทยา ชิตพงษ์ 115330505386-6 น.ส.จิราภรณ์ กล่ินปรากฏ 115330505381-7 น.ส.วลิ าสินี บุญพิบูลยม์ ิตร 115330505384-1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook