Multimedia ผู้สอน : นางสาวซัมเราะห์ บากา แผนก เทคโนโลยสี ารสนเทศ3900-0003 การใชโ้ ปรแกรมมลั ติมีเดียในสาขางานอาชีพ
มลั ติมีเดีย คือ ระบบส่ือสารขอ้ มูลข่าวสารหลายชนิด โดยผา่ นสื่อทางคอมพวิ เตอร์ซ่ึงประกอบดว้ ย ขอ้ ความ ฐานขอ้ มลู ตวั เลขกราฟิ ก ภาพ เสียง และวดี ิทศั น์
Text Multimedia GraphicAnimation Sound video
มลั ติมีเดีย คือ การใชค้ อมพวิ เตอร์สื่อความหมายโดยการผสมผสานส่ือหลายชนิด เช่น ขอ้ ความ กราฟ ภาพศิลป์ (Graphic Art) เสียง (Sound)ภาพเคลื่อนไหว (Animation) และวีดิทศั น์ เป็นตน้ ถา้ ผใู้ ชส้ ามารถควบคุมส่ือเหล่าน้ีใหแ้ สดงออกมาตามตอ้ งการไดร้ ะบบน้ีจะเรียกวา่ มลั ติมีเดียปฏิสมั พนั ธ์(Interactive Multimedia)
มลั ติมีเดีย คือ โปรแกรมซอฟตแ์ วร์ที่อาศยั คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการนาเสนอโปรแกรมประยกุ ต์ ซ่ึงรวมถึงการนาเสนอขอ้ ความสีสนั ภาพ กราฟฟิ ก(Graphic images) ภาพเคล่ือนไหว (Animation) เสียง (Sound)และภาพยนตร์วดี ิทศั น์ (Full motion Video) ส่วนมลั ติมีเดียปฏิสมั พนั ธ์(Interactive Multimedia) จะเป็นโปรแกรมประยกุ ตท์ ่ีรับการตอบสนองจากผใู้ ช้โดยใชค้ ียบ์ อร์ด (Keyboard) เมาส์ (Mouse) หรือตวั ช้ี (Pointer) เป็นตน้
การใชม้ ลั ติมีเดียในลกั ษณะปฏิสมั พนั ธ์กเ็ พ่ือช่วยใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถเรียนรู้หรือทากิจกรรม รวมถึงดูส่ือต่าง ๆ ดว้ ยตนเอง สื่อต่าง ๆ ที่นามารวมไวใ้ นมลั ติมีเดีย เช่น ภาพ เสียง วีดิทศั น์ จะช่วยใหเ้ กิดความหลากหลาย น่าสนใจและเร้าความสนใจ เพม่ิ ความสนุกสนานในการเรียนรู้มากยงิ่ ข้ึน
หลักการทางานของ Multimedia เนื่องจากประสิทธิภาพของส่ือมลั ติมีเดีย ที่สามารนาเสนอไดท้ ้งัขอ้ ความ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสียง วีดิทศั น์ และอื่นๆท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตผนวกกบั ระบบติดต่อผใู้ ช้ (GUI: Graphics User Interface) ที่ทาให้ผใู้ ชม้ ีความสะดวกในการใชง้ าน สร้างสรรคง์ าน ทาใหบ้ ทบาทของสื่อฯ มีมากข้ึนตามลาดบั มีการนาส่ือมลั ติมีเดีย มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั งานต่างๆ มากมายเช่น การเรียนการสอน การถ่ายทอดความรู้ การนาเสนอขอ้ มลู การประชาสมั พนั ธ์ เป็นตน้
การประเมนิ และเเกไ้ ข การประกอบเอกสารประกอบ การสรา้ งและเขียนโปรแกรม การสร้าง story board การเขยี น Flow chart การออกแบบการจดั เตรยี ม
การสร้างสื่อมลั ติมีเดียไม่วา่ จะเป็นรูปแบบใดๆกต็ ามกจ็ ะเร่ิมท่ีการกาหนดหวั เร่ือง,เป้ าหมาย,วตั ถุประสงคแ์ ละกลุ่มเป้ าหมายผใู้ ช้ จากน้นั ทาการวเิ คราะห์,ออกแบบ,พฒั นาสร้างสื่อ,ประเมินผลและนาเผยแพร่ต่อไป การสร้างสื่อมลั ติมีเดียมี 7 ข้นั ตอน ดงั น้ี1.การจดั เตรียม-การกาหนดเป้ าหมายและวตั ถุประสงค์-รวบรวมขอ้ มูล-เน้ือหาสาระ-การพฒั นาออกแบบ-สื่อในการนาเสนอ
2.ข้นั ตอนการออกแบบ-ทบทวนความคิด-วิเคราะห์และแนวความคิด-ออกแบบข้นั แรก-ประเมินและแกไ้ ขการออกแบบ3.ข้นั ตอนการเขียนผงั งานเป็นการนาเสนอลาดบั ข้นั โครงสร้างของงาน4.ข้นั ตอนการสร้าง story boardเป็นการเตรียมนาเสนอขอ้ ความ ภาพ รูปแบบมลั ติเดียต่างๆ
5.ข้นั ตอนการสร้างและเขียนโปรแกรมเป็นกระบวนการเปลี่ยนสตอร่ีใหเ้ ป็นชิ้นงาน6.ข้นั ตอนการประกอบเอกสารประกอบแบ่งเป็ น-คู่มือการใช้-คู่มือสาหรับการแกป้ ัญหาเทคนิคต่างๆ-เอกสารประกอบเพิ่มเติมทว่ั ไป7.ข้นั ตอนการประเมินและเเกไ้ ขจะประเมินในการนาเสนอซ่ึงผทู้ ี่มีการออกแบบจะสงั เกตหลงั จากใชง้ าน
โปรแกรมที่ใช้สร้างงานมลั ตมิ เี ดยี
องค์ประกอบ1. ข้อความหรอื ตัวอกั ษร (Text)2. ภาพนิ่ง (Still Image)3. ภาพเคล่อื นไหว (Animation)4. เสยี ง (Sound)5. ภาพวดิ โี อ (Video)
ข้อความหรอื ตวั อกั ษร (Text) ขอ้ ความหรือตวั อกั ษรถือวา่ เป็นองคป์ ระกอบพ้ืนฐานที่สาคญั ของมลั ติมีเดีย ระบบมลั ติมีเดียที่นาเสนอผา่ นจอภาพของเครื่องคอมพวิ เตอร์นอกจากจะมีรูปแบบและสีของตวั อกั ษรใหเ้ ลือกมากมายตามความตอ้ งการแลว้ยงั สามารถกาหนดลกั ษณะของการปฏิสมั พนั ธ์(โตต้ อบ)ในระหวา่ งการนาเสนอไดอ้ ีกดว้ ย
ภาพนง่ิ (Still Image) ภาพนิ่งเป็นภาพท่ีไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพลายเสน้ เป็นตน้ ภาพนิ่งนบั วา่ มีบทบาทต่อระบบงานมลั ติมีเดียมากกวา่ ขอ้ ความหรือตวั อกั ษร ท้งั น้ีเน่ืองจากภาพจะใหผ้ ลในเชิงการเรียนรู้หรือรับรู้ดว้ ยการมองเห็นไดด้ ีกวา่ นอกจากน้ียงั สามารถถ่ายทอดความหมายไดล้ ึกซ่ึงมากกวา่ขอ้ ความหรือตวั อกั ษรนนั่ เองซ่ึงขอ้ ความหรือตวั อกั ษรจะมีขอ้ จากดั ทางดา้ นความแตกต่างของแต่ละภาษา แต่ภาพน้นั สามารถส่ือความหมายไดก้ บั ทุกชนชาติ ภาพน่ิงมกั จะแสดงอยบู่ นส่ือชนิดต่างๆ เช่น โทรทศั น์ หนงั สือพมิ พห์ รือวารสารวิชาการ เป็นตน้
ภาพเคล่อื นไหว (Animation) ภาพเคลื่อนไหว หมายถึง ภาพกราฟิ กท่ีมีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดงข้นั ตอนหรือปรากฏ การณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนอย่างต่อเน่ือง เช่น การเคล่ือนท่ีของอะตอมในโมเลกลุ หรือการเคลื่อนที่ของลูกสูบของเคร่ืองยนต์ เป็นต้น ท้งั น้ีเพื่อสร้างสรรคจ์ ินตนาการให้เกิดแรงจูงใจจากผชู้ ม การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะตอ้ งใชโ้ ปรแกรมท่ีมีคุณสมบตั ิเฉพาะทางซ่ึงอาจมีปัญหาเกิดข้ึนอยบู่ า้ งเก่ียวกบั ขนาดของไฟลท์ ี่ตอ้ งใชพ้ ้ืนที่ในการจดั เกบ็ มากกวา่ ภาพนิ่งหลายเท่านน่ั เอง
เสยี ง (Sound) เสียงเป็นองคป์ ระกอบหน่ึงที่สาคญั ของมลั ติมีเดีย โดยจะถูกจดั เกบ็ อยใู่ นรูปของสัญญาณดิจิตอลซ่ึงสามารถเล่นซ้ากลบั ไปกลบั มาได้ โดยใชโ้ ปรแกรมที่ออกแบบมาโดยเฉพาะสาหรับทางานดา้ นเสียง หากในงานมลั ติมีเดียมีการใชเ้ สียงท่ีเร้าใจและสอดคลอ้ งกบั เน้ือหาในการนาเสนอ จะช่วยใหร้ ะบบมลั ติมีเดียน้นั เกิดความสมบูรณ์แบบมากยง่ิ ข้ึน นอกจากน้ียงั ช่วยสร้างความน่าสนใจและน่าติดตามในเรื่องราวต่างๆ ได้เป็ นอย่างดี ท้งั น้ีเนื่องจากเสียงมีอิทธิพลต่อผูใ้ ช้มากกว่าขอ้ ความหรือภาพนิ่งนั่นเอง ดงั น้ัน เสียงจึงเป็ นองค์ประกอบท่ีจาเป็ นสาหรับมลั ติมีเดียซ่ึงสามารถนาเขา้ เสียงผ่านทางไมโครโฟน แผ่นซีดี ดีวีดี เทป และวิทยุเป็ นตน้
วดี โี อ (Video) วิดีโอเป็นองคป์ ระกอบของมลั ติมีเดียที่มีความสาคญั เป็ นอยา่ งมากเนื่องจากวดิ ีโอในระบบดิจิตอลสามารถนาเสนอขอ้ ความหรือรูปภาพ (ภาพน่ิงหรือภาพเคล่ือนไหว) ประกอบกบั เสียงไดส้ มบูรณ์มากกวา่ องคป์ ระกอบชนิดอื่นๆ อยา่ งไรกต็ าม ปัญหาหลกั ของการใชว้ ดิ ีโอในระบบมลั ติมีเดียกค็ ือ การสิ้นเปลืองทรัพยากรของพ้ืนที่บนหน่วยความจาเป็นจานวนมาก เน่ืองจากการนาเสนอวดิ ีโอดว้ ยเวลาท่ีเกิดข้ึนจริง (Real-Time) จะตอ้ งประกอบดว้ ยจานวนภาพไม่ต่ากวา่ 30 ภาพต่อวนิ าที (Frame/Second)
ถา้ หากการประมวลผลภาพดงั กล่าวไม่ไดผ้ ่านกระบวนการบีบอดั ขนาดของสญั ญาณมาก่อน การนาเสนอภาพเพียง 1 นาทีอาจตอ้ งใชห้ น่วยความจามากกวา่100 MB ซ่ึงจะทาให้ไฟลม์ ีขนาดใหญ่เกินขนาดและมีประสิทธิภาพในการทางานที่ดอ้ ยลง ซ่ึงเมื่อมีการพฒั นาเทคโนโลยีที่สามารถบีบอัดขนาดของภาพอย่างต่อเน่ืองจนทาให้ภาพวิดีโอสามารถทางานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึนและกลายเป็ นสื่อที่มีบทบาทสาคัญต่อระบบมัลติมีเดีย (MultimediaSystem)
ไฟลว์ ดี ีโอรูปแบบหน่ึงที่พฒั นาโดยบริษทั Apple จะนามาใชก้ บั งานดา้ นมลั ติมีเดีย และเวป็ ไซตเ์ ป็นส่วนใหญ่ท้งั น้ีตอ้ งติดต้งั Plug In ไวท้ ่ีเวป็เบราเซอร์ (IE , Netscape) ก่อนที่จะนาไฟลม์ ลั ติมีเดียประเภทน้ี (หาดาวน์โหลดไดท้ ี่ www.apple.com) นอกจากน้ียงั เป็นรูปแบบที่เคร่ือง Macintoshสามารถนาเสนองานรูปแบบน้ีไดด้ ีอีกดว้ ยซ่ึงสามารถเปิ ดผา่ นโปรแกรม QuickTime MOV (Movie)
เป็นไฟลว์ ดี ีโอเช่นเดียวกนั โดยฟอร์แมตน้ีจะถูกใชง้ านบนเครื่องพซี ี เช่นเมื่อโหลดภาพจากกลอ้ งวดี ีโอเขา้ มาที่เครื่องคอมกจ็ ะตอ้ งทาเป็นฟอร์แมต AVI ขอ้ เสียของมนั กค็ ือขนาดใหญ่มากไฟลว์ ดี ีโอแค่ 1 นาที อาจจะตอ้ งใชพ้ ้ืนที่เกบ็ ประมาณ 5 – 10 MB มกั จะนาไฟลร์ ูปแบบน้ีไปใชห้ รือทาการแปลงเป็นไฟลร์ ูปแบบอ่ืนๆ เช่น Quick Time , MPEG และอื่นๆ ไดอ้ ีกดว้ ยคุณภาพของการแปลงไฟล์ ภาพและเสียงจะแตกต่างกนั เลก็ นอ้ ย AVI( Audio Video Interleave )
RM,RPM เป็นรูปแบบหน่ึงของไฟลม์ ลั ติมีเดียที่ พฒั นาข้ึนโดย RealNetwork Inc. จะมี รูปแบบเฉพาะตวั ในการเล่นไฟล์ มลั ติมีเดียภาพและเสียงอยา่ งต่อเน่ืองที่ เรียกวา่ Streaming โดยเฉพาะมี โปรแกรมสาหรับเปิ ดไฟลป์ ะเภทน้ีไดแ้ ก่ RealPlayer RealAudio สามารถนาเสนอ งานบนอินเตอร์เน็ตไดเ้ ป็นอยา่ งดี
Shockwave Flashเทคโนโลยที ี่นาท้งั ภาพและเสียงและยงั จะโตต้ อบกบั ผู้ ใชง้ านไดด้ ว้ ย เช่นการกดป่ ุม การเปลี่ยนภาพเม่ือคลิ้กที่ Flash สามารถเล่นเกมส์ไดห้ ลายอยา่ ง อยา่ งท่ีเราคุน้ เคยในรูปของเกมส์ Flash นามสกลุ .swf
มาตรฐานของวิดโี อแบบตา่ ง ๆ
มาตรฐานของวดิ ีโอมีอยดู่ ว้ ยกนั 4รูปแบบ คือ VCD SVCD DVD และBD ซ่ึงคุณภาพของ วดิ ีโอกม็ ีความแตกต่างกนั ไปตามแต่ละประเภท โดยแต่ละรูปแบบกม็ ีคุณสมบตั ิดงั น้ี
VCD ( Video Compact Disc )VCD เป็นรูปแบบของวดิ ีโอท่ีไดร้ ับความนิยมกนั โดยทว่ั ไปประกอบดว้ ยภาพและเสียงแบบดิ จิ ต อ ล ค ว า ม จุ ข อ ง แ ผ่ น VCD โ ด ย ป ก ติ จ ะ อ ยู่ ที่ 7 4 / 8 0 น า ที ห รื อประมาณ 650/700 เมกกะไบต์ โดยไดร้ ับการเขา้ รหสั มาจากเทคโนโลยขี อง MPEG – 1 มีความละเอียดของภาพอยทู่ ่ี 352 x 288 พิกเซลในระบบ PAL และ 352 x 240 พกิ เซลในระบบ NTSC คุณภาพของวดิ ีโอใกลเ้ คียงกบั เทป VHS ซ่ึงสามารถเล่นไดก้ บั เคร่ืองเล่นวซี ีดีโดยทว่ั ไปหรือจากไดรฟ์ ซีดีรอมของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ และแผน่ ซีดีท่ีใชเ้ ขียน VCD ไดก้ ็จะมีอยู่ 2 แบบคือแผน่ CD-R ซ่ึงเป็นชนิดที่เขียนขอ้ มูลไดค้ ร้ังเดียว และแผน่ CD-RW ท่ีสามารถเขียนและลบเพื่อเขียนขอ้ มูลลงไปใหม่ได้ แต่แผน่ CD-RW มกั จะอ่านไม่ไดจ้ ากจากเคร่ืองเล่น VCD หลายๆ รุ่น
SVCD( Super Video Compact Disc )SVCD เป็นรูปแบบของวิดีโอท่ีคลา้ ยกบั VCD แต่จะใหค้ ุณภาพของวดิ ีโอท้งั ในดา้ นภาพและเสียงที่ดีกวา่ โดยเขา้ รหสั มาจากเทคโนโลยขี อง MPEG –2 จ ะ มี ค ว า ม ล ะ เ อี ย ด ข อ ง ภ า พ อ ยู่ ที่ 4 8 2 x 576 พิ ก เ ซ ล ใ นระบบ PAL และ 480 x 480 พิกเซลในระบบ NTSC ซ่ึงแผน่ ประเภทน้ียงั มีเครื่องเล่น VCD หลาย ๆ รุ่นท่ีอ่านไม่ได้ โดยจาเป็ นต้องอ่านจากเคร่ืองเล่น DVD หรือ VCD บางรุ่นที่สนบั สนุนหรือเล่นจาก CD – ROM จากเคร่ืองคอมพิวเตอร์เท่าน้นั
DVD ( Digital Versatile Disc )DVD เป็นรูปแบบการเกบ็ ขอ้ มูลแบบใหม่ที่ใหค้ ุณภาพของวดิ ีโอสูงท้งั ดา้ นภาพและเสียงซ่ึงมากกวา่ รูปแบบของ VCD หลายเท่าตวั โดยใหค้ วามละเอียดของภาพอยทู่ ่ี 720 x 480 พิกเซลในระบบ PAL และ 720 x 576 พกิ เซลในระบบ NTSC โดยมาตรฐานของแผน่ DVD กม็ ีหลายประเภท เช่น DVD +R/RW , DVD – R/RW , DVD + RDL และ DVD + RAM ซ่ึงความจุของแผน่ DVD กม็ ีใหเ้ ลือกใชต้ ามชนิดของแผน่ โดยมีต้งั แต่ 4.7 กิกะไบตไ์ ปจนถึง 17 กิกะไบต์ ทาใหส้ ามารถบนั ทึกภาพยนตร์ท้งั เร่ืองไดอ้ ยา่ งสบาย ซ่ึงคาดการณ์กนั วา่ ส่ือประเภท DVD คงจะเขา้ มาแทนที่ VCD ไดใ้ นไม่ชา้
BD ( Blu-ray Disc )มาตรฐานของบลูเรยพ์ ฒั นาโดย กลุ่มของบริษทั ท่ีเรียกวา่ Blu-ray DiscAssociation ซ่ึงนาโดย ฟิ ลิปส์ และ โซนี เปรียบเทียบกบั HD-DVD ท่ีมีลกั ษณะและการพฒั นาใกลเ้ คียงกนั บลูเรยม์ ีความจุ 25 GB ในแบบเลเยอร์เดียว (Single-Layer) และ 50 GB ในแบบสองเลเยอร์ (Double-Layer) ขณะท่ี เอช็ ดีดีวดี ีแบบเลเยอร์เดียว มี 15 GB และสองเลเยอร์มี 30 GB ความจุของบลูเรยด์ ิสค์ ซ่ึงปกติแผ่นบลเู รยน์ ้นั จะมีลกั ษณะคลา้ ยกบั แผน่ ซีดี/ดีวีดี โดยแผน่ บลูเรยจ์ ะมีลกั ษณะแบบหนา้ เดียว และสองหนา้ โดยแต่ละหนา้ สามารถรองรับไดม้ ากถึง 2 เลเยอร์
ชนดิ ของภาพ
รูปแบบชนิดของภาพแบ่งออกเป็ น 2 ชนิดคอืภาพแบบ บิตแมป( Bitmap ) หรือ ราสเตอร์( Raster ) คือภาพท่ีเกิดจากหน่วยภาพเลก็ ๆมารวมกนั จนเป็นภาพใหญ่คลา้ ยจิ๊กซอร์สามารถดูไดโ้ ดยการซูมภาพเขา้ ไปกล่าวคือภาพเหล่าน้ียงิ่ ซูม(ขยาย)ยง่ิ แตก จนดูไม่รู้เร่ืองเช่นภาพนามสกลุ .JPEG, .TIFF,.GIF และ PNG เป็นตน้
ภาพแบบเวคเตอร์( Vector ) คือภาพท่ีเกิดจากเสน้ โคง้ , เส้นตรง และคุณสมบตั ิสีของเสน้ น้นั ๆที่เกิดจากการคานวณทางคณิตศาสตร์(ท่ีเรามองไม่เห็นดว้ ยตา)กล่าวคือ ท่ีจุดๆหน่ึงของภาพที่เราซูมเขา้ ไปมนั จะเกิดจากการกาหนดคุณสมบตั ิไวว้ า่ ภาพเกิดจากเสน้ ตรง หรือเสน้ โคง้ ท่ีเอียงกี่องศา เกบ็ ค่ารหสั สีอะไรไว้ เมื่อเราซูมขยายภาพไม่วา่ จะขนาดเท่าไหร่กต็ ามภาพมนั จะไม่แตก(ไม่สูยเสียความละเอียดไป) เพราะการซูมภาพเป็นการคูณจานวนเท่า ลงไปที่คุณสมบตั ิภาพนนั่ เองดงั น้นั ถา้ เราแกไ้ ขภาพกค็ ือไปแกไ้ ขคุณสมบตั ิทางคณิตศาสตร์ ไม่วา่ จะยอ่ หรือขยายกี่คร้ังภาพแบบน้ีจะยงั คมชดั เท่าเดิมภาพ Vector เหล่าน้ีไดแ้ ก่- ภาพ .wmf (Clipart ท่ีเราไวต้ กแต่งใน Microsoft Office นน่ั เอง)-ภาพใน Adobe Illustrator, Macromedia Freehand
BMP (Bitmap) จุดเด่น จุดด้อย•ภาพจะมีรายละเอียดที่สมบรู ณ์ •ใช้เนื้อทใ่ี นการเก็บจานวนมาก ทา ให้ขนาดของไฟล์ภาพมขี นาดใหญ่
JPEG( Joint Graphics Expert Group ) จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ย•สนับสนนุ สไี ด้มากถึง 24 bit •ไม่สนับสนนุ ภาพเคลือ่ นไหวเพราะไมส่ ามารถ•สามารถกาหนดคุณภาพและตัง้ ค่าการบบี เก็บภาพหลายๆภาพไวด้ ว้ ยกนั ได้อดั ไฟล์ภาพได้•ใช้ใน Internet (Worl Wild Web) มีนามสกลุ .jpg•มีโปรแกรมสนับสนุนการสรา้ งจานวนมาก•เรียกดูภาพไดใ้ น Graphic Browser ทกุ ตัว
GIF( Graphics Interchange Format ) จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ย•เป็นท่นี ิยมมากทีส่ ุดสาหรบั ภาพทจ่ี ะแสดงบน •แสงภาพไดเ้ พยี ง 256 สเี ท่าน้ันWeb/Internet •ไม่เหมาะสาหรบั การนาเสนอ•มีขนาดเลก็ มาก ภาพถ่ายหรอื งานที่ต้องการความ•สามารถทาพื้นใหเ้ ปน็ แบบโปรง่ ใสได้ คมชดั สงู(Transparent/Opacity)•สามารถทาเป็นภาพเคล่อื นไหวบน WebPage ได้โดยใช้เครอ่ื งมอื ช่วยสร้างเช่น JAVA, Flash•มโี ปรแกรมสนับสนุนในการสร้างจานวนมาก•สามารถเรียกดภู าพได้ใน Graphic Browser ทุกตัว
PNG (Portable Network Graphics) JPG GIF PNGจดุ เดน่ จุดดอ้ ย•เอาคณุ สมบัตขิ อง(JPEG+GIF) มาใช้คอื สีมากกวา่ •ไมส่ นบั สนุนภาพเคลื่อนไหวเพราะไม่สามารถเกบ็ ภาพหลายๆภาพไวด้ ว้ ยกันได้256สแี ละโปร่งใสได้(Transparent)•PNG มกี ารบีบอัดข้อมูลโดยไม่เสียคุณภาพ•ทาให้โปรง่ ใสได้(Transparency)และยงั สามารถควบคมุ องศาของความโปร่งใส(Opacity)ไดด้ ว้ ย•เกบ็ บนั ทึกภาพดว้ ยสีจรงิ (True Color) ได้เชน่ เดยี วกบั ตารางส(ี Pallete) และสเี ทา(Grayscale)แบบ GIF
TIFF ( Tagged Image File Format ) คือ การเกบ็ ไฟลภ์ าพในลกั ษณะเดียวกบั ไฟลแ์ บบ BMP แต่ในไฟลม์ ีTagged File ซ่ึงเป็นสญั ลกั ษณ์ท่ีช่วยโปรแกรมควบคุมการแสดงภาพ เช่น การแสดงหรือไม่แสดงภาพบางส่วนได้ ภาพท่ีเกบ็ ไวใ้ นลกั ษณะของ TIFF จึงมีความพิเศษกวา่ การเกบ็ แบบอื่น ที่กล่าวมา นอกจากน้ียงั มีไฟลภ์ าพแบบต่างๆ อีกหลายแบบ โดยแต่ละแบบจะมีจุดเด่นแตกต่างกนั ไป มกั นิยมใช่ในงานกราฟิ กการพมิ พ์
รปู แบบไฟลเ์ สยี ง
AIFF(Audio Interchange File Format)ย่อมาจาก เป็นรปู แบบที่ใช้กนั มากกบั โปรแกรมบนMacเพราะ Apple เปน็ ผรู้ ิเรม่ิ เปน็ ได้ท้ัง Mono และ Stereoความละเอียดเริ่มตน้ ที่ 8 Bit/22 kHz ไปจนถงึ 24 bit/ 96kHz และมากกวา่ นั้น
WAVEไฟลเ์ สียง wave เปน็ ไฟล์เสยี งท่เี ราคนุ้ เคยกันมากท่สี ดุไฟลป์ ระเภทน้ีมนี ามสกุล .wav จัดเป็นไฟล์เสยี งมารฐานทีใ่ ช้กบั Windowsคุณสมบตั ิทีส่ าคญั คือครอบคลุมความถ่เี สียงไดท้ ัง้ หมด ทาให้คุณภาพเสยี งดมี ากและยงั ใหเ้ สียงในรปู แบบสเตอรโิ อได้อกี ดว้ ยข้อเสียคือไฟล์ .wav มขี นาดใหญ่ทาใหส้ ิน้ เปลืองพน้ื ทใ่ี นการเกบ็ ข้อมลู มาก
CDA (CD Audio)ไฟล์ CDA เป็นไฟลเ์ พลงบนแผน่ CD ทีใ่ ชก้ ับเครื่องเลน่ CD ทว่ั ไปไฟลป์ ระเภทน้เี ม่อื นามาใชก้ ับเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ โปรแกรมสาหรบัเลน่ CD จะมองเหน็ ขอ้ มลู เสียงในรปู ของแทรก็ เสียง (Audio Tack)แตถ่ า้ ดูดว้ ย Windows Explorer จะเหน็ เปน็ ไฟลม์ ีนามสกุล .cdaไฟล์ CDA มีคุณสมบัติทางเสียงเหมอื นกบั ไฟล์ wave คือให้คณุ ภาพเสยี งทด่ี เี ป็นธรรมชาติ จงึ นิยมใชบ้ ันทึกลงบนแผน่ CD เป็นสอ่ื ดนตรีเรยี กทว่ั ไปวา่ \"CD เพลง \"
MP3• Extension .mp3• บีบอดั เล็กกวา่ wave ประมาณ 10 เท่า• คณุ ภาพเสยี งดี• โปรแกรมใชง้ านมีมาก เช่น Winamp, MP3 Player, Windows Media Player, Musicmatch Jukebox ฯลฯ
RealAudio• Extension เปน็ .ra หรอื .rm• เปน็ ไฟล์ประเภท Streaming ใชง้ านบน Internet
ประโยชน์ของมลั ติมีเดยี• ง่ายต่อการใช้งาน โดยส่วนใหญ่เป็นการนามลั ติมีเดียมาประยกุ ตใ์ ชง้ าน ร่วมกบั โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพอ่ื เพม่ิ ผล ผลิตดงั น้นั ผพู้ ฒั นาจึงจาเป็นตอ้ ง มีการจดั ทาใหม้ ีรูปลกั ษณ์ท่ีเหมาะสม และง่ายต่อการใชง้ านตามแต่ กลุ่มเป้ าหมายเพ่อื ประโยชนใ์ นการเพมิ่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิงาน ตวั อยา่ งเช่น การใชง้ านส่ือมลั ติมีเดียโปรแกรมการบญั ชี
ประโยชน์ของมัลตมิ ีเดยี (ต่อ)• สัมผสั ได้ถงึ ความรู้สึก สิ่งสาคญั ของการนามลั ติมีเดียมาประยกุ ตใ์ ชง้ านก็ คือ เพ่อื ใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถรับรู้ไดถ้ ึงความรู้สึกจากการสมั ผสั กบั วตั ถุที่ปรากฎ อยบู่ นจอภาพ ไดแ้ ก่ รูปภาพ ไอคอน ป่ ุมและตวั อกั ษร เป็นตน้ ทาใหผ้ ใู้ ช้ สามารถควบคุมและเขา้ ถึงขอ้ มูลต่างๆ ไดอ้ ยา่ งทวั่ ถึงตามความตอ้ งการ ตวั อยา่ งเช่น ผใู้ ชค้ ลิกท่ีป่ ุม Play เพือ่ ชมวิดีโอและฟังเสียงหรือแมแ้ ต่ผใู้ ช้ คลิกเลือกท่ีรูปภาพหรือตวั อกั ษรเพ่อื เขา้ ถึงขอ้ มลู ท่ีตอ้ งการ เป็นตน้
ประโยชน์ของมัลติมเี ดยี (ต่อ)• สร้างเสริมประสบการณ์ การออกแบบและพฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ดา้ นมลั ติมีเดีย แมว้ า่ จะมีคุณลกั ษณะที่แตกต่างกนั ตามแต่ละวธิ ีการ แต่ส่ิง หน่ึงที่ผใู้ ชจ้ ะไดร้ ับกค็ ือ การสง่ั สมประสบการณ์จากการใชส้ ื่อเหล่าน้ีใน แง่มุมที่แตกต่างกนั ซ่ึงจะทาใหส้ ามารถเขา้ ถึงวธิ ีการใชง้ านไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และแม่นยา ตวั อยา่ งเช่น ผใู้ ชไ้ ดเ้ คยเรียนรู้วธิ ีการใชป้ ่ ุมต่างๆ เพอื่ เล่นเกมส์ บนคอมพิวเตอร์มาก่อน และเม่ือไดม้ าสมั ผสั เกมส์ออนไลน์ใหม่ๆ กส็ ามารถเล่นเกมส์ออนไลน์ไดอ้ ยา่ งไม่ติดขดั
ประโยชน์ของมัลตมิ เี ดีย (ต่อ)• เพม่ิ ขดี ความสามารถในการเรียนรู้ สืบเน่ืองจากระดบั ขีดความสามารถ ของผใู้ ชแ้ ต่ละคนมีความแตกต่างกนั ท้งั น้ี ข้ึนอยกู่ บั ระดบั ความรู้และ ประสบการณ์ท่ีไดร้ ับการสงั่ สมมา ดงั น้นั การนาสื่อมลั ติมีเดียมา ประยกุ ตใ์ ชจ้ ะช่วยเพ่มิ ขีดความสามารถในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ตวั อยา่ งเช่น การเล่นเกมส์คอมพวิ เตอร์ ผใู้ ชส้ ามารถเรียนรู้และพฒั นา ทกั ษะในการเล่นจากระดบั ที่ง่ายไปยงั ระดบั ท่ียากยงิ่ ๆ ข้ึนไป
ประโยชน์ของมัลติมเี ดยี (ต่อ)• เข้าใจเนือ้ หามากยงิ่ ขนึ้ ดว้ ยคุณลกั ษณะขององคป์ ระกอบของมลั ติมีเดีย ไม่ วา่ จะเป็นขอ้ ความหรือตวั อกั ษร ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสียงและวดิ ีโอ สามารถท่ีจะสื่อความหมายและเร่ืองราวต่างๆ ไดแ้ ตกต่างกนั ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั วธิ ีการนาเสนอ กล่าวคือ หากเลือกใชภ้ าพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว การส่ือ ความหมายยอ่ มจะมีประสิทธิภาพมากกวา่ การเลือกใชข้ อ้ ความหรือ ตวั อกั ษร ในทานองเดียวกนั หากเลือกใชว้ ดิ ีโอ การสื่อความหมายยอ่ มจะ ดีกวา่ เลือกใชภ้ าพน่ิงหรือภาพเคล่ือนไหว
ประโยชน์ของมัลตมิ เี ดยี (ต่อ)• คุ้มค่าในการลงทุน การใชโ้ ปรแกรมดา้ นมลั ติมีเดียจะช่วยลดระยะเวลา ไม่ วา่ จะเป็นเร่ืองการเดินทาง การจดั หาวทิ ยากรการจดั หาสถานท่ี การบริหาร ตารางเวลาและการเผยแพร่ช่องทางเพอื่ นาเสนอสื่อ เป็นตน้ ทาใหป้ ระหยดั ค่าใชจ้ ่าย ในกรณีท่ีไดห้ กั ค่าใชจ้ ่ายท่ีเป็นตน้ ทุนไปแลว้ กจ็ ะส่งผลใหไ้ ดร้ ับ ผลตอบแทนความคุม้ ค่าในการลงทุนในระยะเวลาท่ีเหมาะสม
ประโยชน์ของมัลตมิ เี ดีย (ต่อ)• เพมิ่ ประสิทธิผลในการเรียนรู้ การสร้างสรรคช์ ิ้นงานดา้ นมลั ติมีเดีย จาเป็นตอ้ งถ่ายทอดจินตนาการจากสิ่งที่ยากใหเ้ ป็นส่ิงท่ีง่ายต่อการรับรู้ และเขา้ ใจดว้ ยกรรมวธิ ีต่างๆ นอกจากจะช่วยอานวยความสะดวกในการ ทางานแลว้ ผใู้ ชย้ งั ไดร้ ับประโยชนแ์ ละเพลิดเพลินในการเรียนรู้อีกดว้ ย ตวั อยา่ งเช่น ผใู้ ช(้ User)ออกแบบและสร้างเวบ็ เพจ็ (Web Page) ดว้ ย โปรแกรมแมค็ โครมีเดีย ดรีมวเิ วอร์ (Macromedia Dreamweaver ) หรือ ผใู้ ชก้ าลงั ศึกษาสารคดีเก่ียวกบั ประวตั ิศาสตร์และวฒั นธรรม
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: