พุ ทธศาสตร์ กับ วิทยาศาสตร์ ดร. เอนก นาคะบุตร
พุ ทธศาสตร์กับวิทยาศาสตร์ ตอนที่ 1 : อะไรคือความหมายของชีวิต ? 1.ชีวิตมนุษย์ทุกคน คือ กระแสธารการแปรเปลี่ยนของสสารและพลังงาน ที่แปรเปลี่ยนสภาวะหนุนเนื่องและ หมุนวนจาก พลังจิต (จิตปฏิสนธิ : พลังงาน) สู่ร่างกายมนุษย์ (สสาร) เติบโต เจ็บ แก่ และเมื่อหมดอายุขัยก็ แปรเปลี่ยนเป็น จิตสุดท้าย : วิญญาณ (พลังงาน +/-) ภายใต้ปัจจัยของเวลาและสถานที่ (space & time) ที่ จะล่องลอยและหมุนวนเวียนในรูปพลังงานอยู่ในวัฏสงสาร (จักรวาล : ไตรภูมิ) ไม่มีจุดสิ้นสุด จนกว่ามนุษย์คน นั้นสามารถชำระจิตจนพลังจิตเข้าสู่ ความว่าง : ดับทุกข์ (พลังงานจิต + และ - ) โดยสิ้นเชิง : นิพพาน (0) หรือเอกภพ (singularity) 2.มนุษย์ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ กายและจิต (สสารและพลังงาน) ร่างกายขับเคลื่อนพฤติกรรมเป็นวง โคจรของวิถีชีวิตแต่ละคน ตามปัจจัยของกาละและเทศะ (space & time) ด้วยการคิด พูด ทำดีและชั่ว (+/-) ส่งผลเป็นมวลกรรม +/- ในจิตใต้สำนึก ส่วนจิตและวิญญาณ (จิตสำนึก จิตใต้สำนึก) ขับเคลื่อนวิถีวงโคจร อารมณ์ (อาการของจิต) ตามปัจจัยที่เกิดจากการปรุงแต่งของรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ด้วยความรู้สึก (เวทนา) (+/-/0) ความคิดและความจำ (สังขารและสัญญา) และการรับรู้ (จิตมืด : หลง/ จิตสว่าง : รู้สึกตัว) ควบคู่การบันทึกพลังความปิติ/ สุข (+) และพลังความทุกข์ (-) ไว้ในจิตใต้สำนึกสะสมใน วิญญาณ : จิตสุดท้าย ทุกเสี้ยววินาทีที่จิตใต้สำนึกได้รับคลื่นจิต จากมวลกรรม (กระบวนการของจิตที่เป็นเหตุ ปัจจัย เกิด/ดับ รวม เรียกว่า ขันธ์ 5) ที่ส่งผลเป็นวงโคจรของจิต : ชีวา เป็นความสุขและความทุกข์ เกิดและดับ เป็นสายธารของ จักรวาลจิต ที่มีทั้งจิตมืด : หลุมดำแห่งจิต ควบคู่กับ พลังปัญญาแห่งจิต : หลุมขาว ที่มนุษย์ต้องฝึกฝนและ ชำระจิตด้วยตนเอง ให้คุณภาพจิตผุดบังเกิด (emergence) พลังจิต (ใต้สำนึก) สติ สมาธิ ปัญญา ที่จะเป็น ปัจจัย (cause) ให้คุณภาพจิต/ พลังจิตมนุษย์คนนั้น สงบ สะอาด สว่าง (effect) ในจิตสุดท้าย/ วิญญาณ นั่นเอง ดร. เอนก นาคะบุตร 10 กันยายน 2564
ตอนที่ 1 : อะไรคือความหมายของชีวิต ? ดร. เอนก นาคะบุตร 11 กันยายน 2564 2 วงโคจรของชีวิตและชีวา (กายและจิต) : จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว วงโคจรของวิถีชีวิตโดยทั่วไปของชีวิตร่างกาย ซึ่งมีการเกิด แล้วนำไปสู่การแก่ แล้วนำไปสู่การเจ็บป่วยด้วยโรค ภัยต่าง ๆ สุดท้ายเมื่อหมดอายุขัยของร่างกายร่างกาย ร่างกายก็จะเปลี่ยนสภาพเป็นพลังงานที่ทุกคนเข้าใจว่า ตายนั่นเอง ด้วยปัจจัยแห่งสถานที่ (space) และเวลา (time) มนุษย์ทุกคนก็จะพัฒนาการของร่างกายจากเซลล์เซลเดียว เป็นผู้หญิงผู้ชายที่ร่างกายแข็งแรง แล้วก็สร้างครอบครัว บางครอบครัวสร้างทายาทสืบสกุลต่อเนื่อง ควบคู่การ สะสมมวลกรรม ดีและเลว (+/ -) ของการคิด พูด ทำ และการประกอบอาชีพ เพื่อการแสวงหาลาภ ยศ สรรเสริญ และความสุข เป็นเป้าหมายชีวิต แล้วก็จบชีวิตเมื่อสิ้นอายุขัยของร่างกายด้วยการแปรสภาพตาย ของร่างกายมนุษย์เป็นวิญญาณเข้าสู่ไตรภูมิ : สังสารวัฏ ต่อไป แรงขับเคลื่อนวิถีชีวิตดังกล่าว ล้วนเกิดจาก “ 5 อวัยวะสัมผัสการรับรู้ของร่างกาย”คือตา-ลิ้น-จมูก-หูและ ร่างกาย ให้มีพฤติกรรมหมุนรอบวนเวียน การกิน กาม (กามคุณ) และแสวงหาความยอบรับใส่ตน : “เกียรติ” หมุนวนวันแล้ววันเล่า ด้วยปัจจัยแรงกระตุ้นภายนอกจาก “กิเลสสามตัว” คือโลภ-โกรธ-หลงผ่าน รูป-รส- กลิ่น-เสียงและสัมผัส อันเปรียบเสมือน “ดาวเทียม” 5 ดวง ที่หมุนรอบร่างกายมนุษย์และส่งสัญญาณให้ มนุษย์มีพฤติกรรมคิด-พูด-ทำในแต่ละวัน
ตอนที่ 1 : อะไรคือความหมายของชีวิต ? 2 วงโคจรของชีวิตและชีวา (กายและจิต) : จากความโลภ โกรธ หลง (กิเลส) และความไม่รู้ (อุปาทาน) ยิ่งทำให้จิตดำมืดมิด และขยายวงกว้างขึ้น จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว เรื่อย ๆ จนก่อให้เกิดตัวตนที่ยึดมันถือมั่นว่ามีตัวมีตน เกิด ตายขึ้นในจิต เมื่อรูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส แปรเปลี่ยน เป็นความรู้สึก (เวทนา) ในจิต (จิตสำนึก) ของ จนกระทั่งเมื่อได้รับสัญญาณคลื่นจิตใหม่ จาก มนุษย์ว่าชอบหรือไม่ชอบหรือเฉย ๆ (+/0/-) รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส วนรอบอารมณ์ของ จิตจะเริ่มปรุงแต่งด้วยจิตเองจากความคิดและ จิตมนุษย์ในแต่ละวัน แต่ละอารมณ์ เมื่อกระแส ความจำ (สังขารและสัญญา เป็นความอยาก จิตมืดหมุนวนมากขึ้นและใหญ่ขึ้นในจิต ก็จะ และความชอบ หรือความไม่ชอบและความไม่ เกิดสภาวะหลุมดำในใจกลางจิต เกิดภพและ อยาก) อันนำไปสู่แรงดูดเมื่อชอบ และแรงผลัก ภูมิ ในใจกลางจิต (จิตใต้สำนึก) เช่นเดียวกับ ดันเมื่อเกลียดในจิตตนเองนั่นเอง หลุมดำในจักรวาล (ดาราจักรต่าง ๆ : Galaxy) เมื่อความอยากและความชอบดังกล่าว เกิด ต่าง ๆ ในทางกลับกัน มนุษย์ผู้ผ่านการฝึกฝน เป็นกระแสหนุนเนื่องของจิตซ้ำแล้วซ้ำเล่า ก็จะ และชำระจิตด้วยไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) เกิดความรู้สึกยึดมันถือมั่น ที่จะยึดสิ่งนั้นมาเข้า ตามองค์ความรู้ของพุทธศาสตร์ จนเกิดความ สู่ตนเองอันเกิดจากกิเลสของความหลง ที่ทำให้ สงบ สะอาด สว่างในใจกลางจิต เป็นกระแส ใจกลางของจิตมนุษย์คนนั้นหมุนวนเวียน ยิ่ง พลังจิตสว่าง ยิ่งฝึกฝนจิตต่อเนื่องอย่าง อยากได้และยึดสิ่งนั้น เป็นของตนเองมากเท่า พากเพียร ใจกลางจิตใต้สำนึก ธาตุรู้จะผุด ไหร่ แรงดูด แรงผลัก และแรงหมุนวนทั้ง 3 บังเกิดคุณภาพใหม่ของจิตจากพลังสติ เป็นพลัง แรงจะก่อให้เกิดหลุมดำในจิตตนเองมากยิ่งขึ้น สมาธิที่ตั้งมั่น และเป็นปัญญาญาณ เป็นแสง และดำมืดมากขึ้นทุกที ๆ อันนำไปสู่ความทุกข์ สว่างและปัญญา ออกจากความไม่รู้ที่หลงยึด ความสุข (ชั่วคราว) ที่ล้วนไปจบลงที่ความทุกข์ มั่นว่ามีตัวตน (อัตตา) เกิดเป็นพลังปัญญาญาณ ในชีวาของมนุษย์แต่ละคน เข้าถึงความว่าง ทั้งสภาวะความว่างในวุ่น เมื่อความทุกข์ ความสุข ได้บังเกิดขึ้นในใจกลาง (อุเบกขา) จนเข้าถึงความจริงของสรรพสิ่งใน ของจิตและหมุนวนวินาทีแล้ววินาทีเล่า จน จักรวาลที่ล้วนมีสภาวะเปลี่ยนแปลง ไม่เที่ยง กลายเป็นสภาวะที่เป็นกระแสต่อเนื่องที่เรียกว่า ไม่มีตัวตน (ไตรลักษณ์) จนเข้าถึงสภาวะ ภพหรือภูมิของจิต อันเปรียบเสมือนใจกลาง นิพพาน (0) ของพลังงานจิต กลับสู่จักรวาล ของหลุมดำหรือหลุมขาวของดาราจักรต่าง ๆ ใหญ่ (สุญญตา : enlightenment) ในจักรวาลนั่นเองที่ค่อย ๆ ก่อเกิดแรงดึงดูด ของจิตเข้าสู่ศูนย์กลางจากของฉันและเพื่อฉัน ดร. เอนก นาคะบุตร และเกิดเป็นตัวตนฉันในจิตของมนุษย์คนนั้นใน 11 กันยายน 2564 ที่สุด เปรียบเสมือนหลุมดำของดาราจักรต่าง ๆ ที่มีแรงดูดมหาศาลดูดสรรพสิ่งที่อยากหรือชอบ
ตอนที่ 1 : อะไรคือความหมายของชีวิต ? ชีวิตมนุษย์มาเกิดด้วยการแปรเปลี่ยนสภาพจาก จิตสุดท้าย ที่อยู่ในจิตใต้สำนึกของมนุษย์ทุกคน พลังงาน (จิตปฏิสนธิ) เป็นร่างกายมนุษย์ที่เรียก จะบันทึกมวลกรรมทั้งดีและชั่ว (+/-) และ ว่า สสาร มีช่วงชีวิตร่างกายตามอายุขัยของ บรรจุอยู่ในวิญญาณเมื่อออกจากร่างกายที่ แต่ละคนประมาณ 1-80 ปี โดยเฉลี่ยจากนั้น มนุษย์เรียกว่า ตายวนเวียนเข้าสู่โลกแห่ง ร่างกายจะแปรสภาพเป็นพลังงานที่เรียกว่า จิต พลังงานจิตซึ่งมี 3 จักรวาลของภพภูมิจิต สุดท้าย อีกครั้งหนึ่ง เฉกเช่นเดียวกับเมื่อตอน แต่ละคลื่นพลังจิตเหล่านั้น วิญญาณที่มีพลัง เด็ก ๆ เราเก็บกิ่งไม้ใบไม้ (สสาร : คาร์บอน) มา จิตดี (+) อย่าไปรวมกันอยู่ในพรหมโลก จุดไฟเผาฟืนหรือกิ่งไม้เหล่านั้น เพื่อสร้างความ วิญญาณที่มีมวลกรรมของพลังจิต ที่มีทั้งดีและ ร้อนในการหุงต้ม กลายเป็นพลังความร้อน เลว ผสมปนเปกันมากบ้างน้อยบ้างจะวนเวียน (Carbon + Oxygen) กิ่งไม้หรือฟืน จึง รวมกันอยู่ในมนุษยโลก (+<-) และโลกแห่งกาย เปลี่ยนแปลงสภาพเป็นควันนั่นเอง แล้วจะวน ทิพย์ (เทวโลก : +>-) สุดท้ายวิญญาณที่มีแต่ เวียนรวมกันในก้อนเมฆ ควบแน่นตกลงมาเป็น พลังจิตที่มืดมิด อันเกิดจากการสะสมความ น้ำฝนที่มีฝุ่นคาร์บอนอยู่ในเม็ดฝนเหล่านั้นวน เลว/ความชั่ว ไว้ในช่วงที่เป็นมนุษย์ เป็นส่วน เวียนเช่นนี้ฤดูกาลแล้วฤดูกาลเล่า ปีแล้วปีเล่า ใหญ่ วิญญาณดวงนั้นนั้นจะถูกเหนี่ยวนำไปสู่ ในช่วงที่มนุษย์มีร่างกายสมบูรณ์ มักจะโคจรไป นรกภูมิ หรือ ทุคติภูมิ ในชั้นต่าง ๆ ตามสถานที่และเวลา (space & time) ที่ เฉพาะวิญญาณที่ผ่านการฝึกฝนและชำระจิตใน จิตสำนึกหรืออารมณ์บงการและมักจะไปพบ ขณะที่เป็นมนุษย์ หมั่นฝึกฝนและชำระจิตด้วย ประพูดคุยกับเพื่อนเก่าและเพื่อนใหม่ ในสถานที่ ทาน ศีล และภาวนา ควบคู่การฝึกฝนจิตด้วย ดังกล่าว ซึ่งล้วนพบว่ามีรสนิยมและจิตสำนึกที่ หลักไตรสิกขา ของพุทธศาสตร์ จนจิตผุด คล้าย ๆ กันหรือตรงกันนั่นเองอันเป็นสภาวะ บังเกิดคุณภาพของพลังสติ พลังสมาธิ และ ของจิตมนุษย์ที่เรียกว่า ภพภูมิ ในแต่ละสถานที่ พลังปัญญา ในจิตใต้สำนึกอันเป็นพลังที่สว่าง และแต่ละเวลาของวงโคจรของจิตในแต่ละวัน ของจิต ที่มีพลังหยั่งรู้ (ญาณ : intuition) ให้จิต นั่นเอง ไปวัดทำบุญสวดมนต์และภาวนาจะได้ เข้าสู่การเข้าถึงความจริง ในเรื่องสภาวะของ กรรมและพลังจิตที่ปิติสุข (+) ในขณะที่ไปดู ธรรมชาติที่เป็นไตรลักษณ์ และสภาวะความ ฟุตบอลกับเพื่อนจะได้ความสุขถ้าทีมฟุตบอล ว่าง (สุญญตา หรือนิพพาน) นั่นเอง ชนะแต่จะได้ความทุกข์ผิดหวังเมื่อทีมฟุตบอล แพ้ (+/-) สุดท้ายถ้าไอเล่นการพนันในบอลกับ ดร. เอนก นาคะบุตร เพื่อนและเสียการพนันมีหนี้ติดตัวกลับมาก็จะได้ 12 กันยายน 2564 รับความทุกข์ในวันนั้น (-) เป็นต้น
ตอนที่ 2 : องค์ความรู้พุ ทธศาสตร์ : 5 กฎธรรมชาติ 1. กฏอิทัปปัจจยตา ที่สร้างกระแสสายธารชีวิต จากเหตุหนึ่ง (วันหนึ่ง/ วัยหนึ่ง/ จิตหนึ่ง) ไปสู่ ผล หนึ่ง (พรุ่งนี้/ วัยหนุ่มสาว/ สุข) แล้วผลนี้เป็นเหตุปัจจัย ส่งผลให้เกิดสิ่งใหม่ (วันใหม่/ วัยชรา/ ทุกข์/ สุข) หนุนเนื่องเป็นเหมือนกระแสน้ำ ลำธาร แม่น้ำ ทะเล มหาสมุทร เมฆ แล้วกลั่นตัวจากไอน้ำ กลับมา เป็นน้ำฝนใหลเป็นกระแสน้ำลงลำธารอีกครั้งหนึ่งนั่นเอง (ผ่านกาลเวลา วันแล้ว วันเล่า ฤดูกาลแล้ว ฤดูกาลเล่า ปีแล้ว ปีเล่า ไม่มีที่สิ้นสุด) อารมณ์มนุษย์ (ชีวา) ดังกล่าวแล้ว ก็ถูกหนุนเนื่องด้วยปัจจัยของ แรงกระตุ้นของโลภ โกรธ หลง อันเป็นกิเลสที่เป็นผลจาก รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส หนุนเนื่องให้เกิด เป็น กระแสจิต และหมุนวน (ยึด) เข้าสู่ใจกลางของมนุษย์เป็นหลุมดำของจิตในที่สุด เมื่อได้พักใจ สวด มนต์ภาวนา และนั่งสมาธิให้อารมณ์และความคิดปรุงแต่งสงบลง ก็จะส่งผลให้จิตสงบและเย็นลง สิ่งนี้ (การฝึกฝนจิต) เมื่อทำบ่อยขึ้น ๆ ด้วยความเพียร ผลจะทำให้จิตที่สงบและเย็นลง ตั้งมั่นในใจกลางจิต (จิตใต้สำนึก) ยกระดับเป็นพลังสติ แล้วถ้าฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง ปัจจัยดังกล่าวจะทำให้ ธาตุรู้ใน จิตใต้สำนึกเปลี่ยนคุณภาพจิต ผุดบังเกิดด้วยจิตเองเป็น ผลใหม่ สมาธิที่ตั้งมั่น (จิตผู้รู้) ที่สามารถแยกจิต ออกจากกายได้
ตตออนนที่ที2่ 2: อ: องงค์คค์ควาวมามรู้พรูุ้พทุ ทธศธศาสาสตตร์ร์: 5: 5กกฎฎธรธรรมรมชชาตาิติ 2. กฏแห่งกรรม มนุษย์ใชัชีวิต คิด พูด ทำ อย่างไร ดีหรือชั่ว (+/ -) จะได้รับผลกลับมาหาตนเอง อย่างนั้น (สุข ทุกข์) หรือเป็นคนดี คนไม่ดีนั่นเอง มวลกรรมจิต ที่เกิดจากการสะสมอารมณ์ที่เกิดดับจน เป็นกระแสจิตหรือเป็นหลุมดำแห่งจิต และการชำระจิตควบคู่การฝึกฝนจิตด้วยการให้ทาน สวดมนต์ ภาวนาหรือนั่งสมาธิ จนจิตสงบ สะอาด สว่าง และหนุนเนื่องเป็นกระแสจิตขาวที่สว่างไสว หมุนรอบ กระแสจิตดำในหลุมดำของจิต และมีสติเป็นเครื่องคอยรู้สึกตัวเท่าทัน กำกับ และหยุดยั้งให้กระแสจิต มืดไม่ขยายตัวเข้าสู่ความหลงในตันหาราคะ และความไม่รู้ (อุปาทาน) อีกต่อไป เป็นไปตามกฎของ ฟิสิกส์ทางวิทยาศาสตร์ที่เมื่อมีแรงกระทำ (action) ต่อสิ่งหนึ่ง สิ่งนั้น จะได้รับแรงปฏิกิริยา (reaction) สะท้อนกลับเท่ากันกับแรงนั้น (action = reaction) และหนุนเนื่องเป็นกระแสของมวลสสารและ พลังงานขยายตัวออกไปเรื่อย ๆ ตามกฎจักรวาล (Big Bang theory) และด้วยกฎแห่งสัมพันธภาพของ ไอน์สไตน์ ที่ระบุว่า แรงโน้มถ่วงของสรรพสิ่งในจักรวาล ถูกกำหนดโดยมวลของสิ่งนั้นภายใต้เวลาและ อวกาศ (กาลอวกาศ : space & time)
ตอนที่ 2 : องค์ความรู้พุ ทธศาสตร์ : 5 กฎธรรมชาติ การที่วิญญาณมนุษย์ต้องวนเวียนมาเกิดและดับในแต่ละช่วงชีวิตของร่างกายในวัฏสงสาร เปรียบ เสมือนเมื่อมนุษย์มาเกิดและใช้ชีวิตโดยการไปกู้ยืมเงินจากเพื่อนหรือจากธนาคารหนึ่ง จึงมีหนี้สินเกิดขึ้น และมีเจ้าหนี้ คือเพื่อนผู้ให้ยืมหรือนายธนาคารนั้น ๆ หากยังไม่ใช้คืนหนี้ดังกล่าวต่อเจ้าหนี้ แล้ววนเวียน เดินทางไปจังหวัดต่าง ๆ จะด้วยลืมหรือหนีเจ้าหนี้เหล่านั้น ไม่ว่าจะเป็นเพื่อนคนนั้นหรือนายธนาคารคน นั้นซึ่งเป็นเจ้าหนี้ เขาก็จะติดตามทวงถามหนี้สินดังกล่าวให้เรานำเงินจำนวนที่ยืมไป มาชำระคืนจนกว่า หนี้สินจะหมด เจ้าหนี้ดังกล่าวก็คือ เจ้ากรรมนายเวร ของมนุษย์เรานั้นเอง ที่เราต้องเกิดมาชดใช้กรรม เก่า และต้องพยายามไม่สร้าง กรรมใหม่ ที่เป็นหนี้สินหรือเป็นสิ่งที่ต้องไปชดใช้ให้กับเจ้ากรรมคนใหม่ คนแล้วคนเล่า กรรมแล้วกรรมเล่า 3. กฏแห่งความสมดุลย์แห่งชีวิต : การเดินทางสายกลางนั่นเอง โลกมีกลางวันและกลางคืนทำให้ เกิดความร้อนและความเย็นอย่างสม่ำเสมอที่เท่ากันในกลางวันจะร้อนในขณะที่กลางคืนจะเย็น จึงเกิด ลมพัดจากเขตอากาศร้อน ลอยขึ้นสูงในท้องฟ้า และอากาศที่เย็นกว่าพัดเข้ามาแทนที่ ถ้าร้อนมาก ๆ ลม เย็นจะเปลี่ยนเป็นพายุพัดรุนแรงเข้าแทนที่ ถ้าร้อนรุนแรง ลมเย็นที่ปะทะกับลมหนาวจากขั้วโลก ก็จะ เปลี่ยนเป็นพายุหมุน หมุนวนอย่างรุนแรงเข้าแทนที่ลมร้อน (ในทะเล) พายุหมุนดังกล่าว (depression) จะเกิดขึ้นปีแล้วปีเล่า ในทุกฤดูฝน เช่นเดียวกับจิตที่ร้อน ร้อนรนและบ้าคลั่งที่หมุนวนในจิตมนุษย์ที่ขาด สติสมาธิ (ปัญญาที่จะออกจากอารมณ์ความบ้าคลั่งนั้น ๆ ) อย่างน้อยด้วยพลังสติ (ที่เกิดจากการฝึกฝน เท่านั้น) จะทำให้จิตเย็นและสงบ ยิ่งจิตมีปัญญาเท่าทันอารมณ์บ้าคลั่งเท่านั้น จิตผู้รู้ (สมาธิที่ตั้งมั่น) จิตจึงจะเริ่มวางอารมณ์นั้น ๆ ลง (ว่างในวุ่น) สภาวะความสมดุลย์ หรือทางสายกลางของจิตและของ การคิด พูด ทำ จึงจะอยู่ในความพอเหมาะพอดีกับสถานที่และเวลา ปรับชีวิตมนุษย์เข้าสู่ทางสายกลางที่ เข้าใกล้สภาวะความสมดุลย์
ตอนที่ 2 : องค์ความรู้พุ ทธศาสตร์ : 5 กฎธรรมชาติ สอดคล้องกับโครงสร้างอะตอมของสสาร ที่มีจำนวนอิเลคตรอนโคจรรอบนิวเคลียส (มีความเป็นกลาง ไม่เคลื่อนไหว อยู่เป็นศูนย์กลางของอะตอม) เท่ากับจำนวนโปรตอนที่อยู่ล้อมนิวเคลียส จึงทำให้ประจุ บวก จับคู่กับประจุลบ เกิดสภาวะสมดุลย์ (stability) ของอะตอมนั้น ๆ (+/- = 0) ในขณะที่อิเลคตรอน ส่วนเกินจะถูกปลดปล่อยออกจากอะตอมนั้น กลายเป็นอนุมูลอิสระ จำนวนโปรตอนที่มีแตกต่างกันใน แต่ละสสารยิ่งมีมากจะบ่งบอกถึงคุณภาพของสสารนั้น ๆ เช่น ทอง และแร่ธาตุต่าง ๆ ในทำนองเดียวกัน จะพบว่าจิตที่มีสติ (จำนวนโปรตอนที่มากของสสาร) และจิตที่สร้างเส้นแบ่ง ความพอเพียงและพอดี ระหว่างจิตมืดกับจิตสว่าง อันเสมือนมีแส้นแบ่งขอบฟ้า (event horizon) ระหว่างหลุมดำกับหลุมขาวที่ใจกลางแต่ละดาราจักร (Galaxy) นั่นเอง (Quantum theory) 4. กฎแห่งไตรลักษณ์ ทุกสรรพสิ่งในจักรวาลทั้งสสารและพลังงานตลอดจนชีวิตมนุษย์ ล้วนดำรง อยู่บนความไม่แน่นอนความเปลี่ยนแปลงที่มักมีความกดดันและมีความขัดแย้ง ตลอดจนไม่มีตัวตนหรือ การดำรงอยู่ที่คงที่ ตามเหตุปัจจัยที่สร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทุกเสี้ยวกาลเวลาและสถานที่ (time & space) และเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดกระแสธารของการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องจากเหตุหนึ่งไปสู่ผลหนึ่ง อย่างเช่น จักรวาลและดาราจักรต่าง ๆ ที่กำลังพองตัวขยายตัวออกเรื่อย ๆ ไม่มีวันสิ้นสุด (Big Bang theory)
ตอนที่ 2 : องค์ความรู้พุ ทธศาสตร์ : 5 กฎธรรมชาติ พุทธศาสตร์ เมื่อกว่า 2,500 ปีที่ผ่ามา ค้นพบว่าใน และพบว่าในดวงอาทิตย์ ที่เป็นศูนย์กลางของระบบ ช่วงชีวิตของมนุษย์ที่มีร่างกายเป็นเหตุปัจจัยหรือ สุริยะจักรวาล (solar system) มีแรง 2 แรง ที่ทำให้ อายุขัยในช่วง 1-80 ปีโดยเฉลี่ย ล้วนดำรงชีวิตอยู่ภาย ดวงอาทิตย์ดำรงอยู่ คือ 1) แรงดูดเข้า จากแรงโน้มถ่วง ใต้วงจรของการเปลี่ยนแปลงจากสสารที่เรียาว่า ของจักรวาล และ 2) แรงดันออก จากใจกลางดวง ร่างกายมนุษย์ ภายใต้กฏธรรมชาติที่เรียกว่า กฎ อาทิตย์ อันเกิดจากปฏิกิริยา fusion ของแก๊ซฮีเลียม ไตรลักษณ์ อันบ่งบอกว่าร่างกายทั้งวิถีพฤติกรรมและ และไนโตรเจนแผ่รังสีพลังงานความร้อน และเมื่อกาล วิถีจิต (ชีวิตและชีวา) ล้วนมีความไม่เที่ยง ไม่แน่นอน อวกาศผ่านไป มวลแก๊ซ (ฮีเลียมและไนโตรเจน) ก็จะ (อนิจจัง) มีความกดดันที่อึดอัดและขัดแย้งทั้งใน น้อยลงไปเรื่อย ๆ จนทำให้มวลรวมของดวงอาทิตย์ดับ ร่างกายและจิตใจมนุษย์ที่รวมเรียกว่า ทุกข์ สุดท้ายสิ่ง ลงทันที เกิดเป็นแรงดูดมหาศาลจากการยุบตัวของแก๊ส ที่มนุษย์หลงยึดเป็นตัวเป็นตนว่าของฉันและตัวฉันนั้น สองอย่างดังกล่าว ที่เรียกว่า แรงตบ อันทำให้ดวง แท้ที่จริงไม่มีตัวตน ทั้งนี้เพราะหลัง 100 ปีขึ้นไป ทุก อาทิตย์เปลี่ยนสภาพเป็นหลุมดำขนาดเท่าดวงอาทิตย์ ร่างกายที่เป็นชีวิตของมนุษย์แต่ละคนก็จะผุพังไม่มีตัว เดิมหรือมีปริมาณมากกว่าขนาดดวงอาทิตย์เดิมอย่าง ไม่มีตนอีกต่อไป ทรัพย์สมบัติที่เคยยึดไว้ไม่ว่าเงินทอง น้อยอีกสามเท่าขึ้นไป กลายเป็นหลุมดำขนาดใหญ่ดูด ลาภ ยศ เกียรติยศ ที่เคยอยู่ภายใต้ชื่อของมนุษย์คนนั้น สรรพสิ่งในจักรวาลและหมุนขยายตัวไปเรื่อย ๆ จนทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นของฉันก็จะเสื่อมสลายไปเช่น สุดท้ายนักวิทยาศาสตร์พบว่า แรงความเร็วหลุดพ้นที่ เดียวกัน หรือโอนไปให้คนอื่นเมื่อร่างกายถึงจุดที่เรียก จะทำให้จรวดที่ยิงจากพื้นดินออกทะลุแรงดึงดูดของ ว่า ตาย โลกไปสู่อวกาศ จะมีความเร็วสูงมาก ราวประมาณ 11.2 กิโลเมตร ต่อวินาที สรุปแรง 3 แรงในดวงอาทิตย์ 5. อริยสัจและนิพพาน Quantum Field theory เปรียบได้กับสามแรงในจักรวาลจิตของมนุษย์ ในขณะ ค้นพบว่า ในอะตอมของทุกสสารที่เป็น อนุภาค ที่แรงที่ 4 จะผุดบังเกิดขึ้นในเฉพาะใจกลางจิตใต้สำนึก (particle) ดำรงอยู่ทั้งสองสภาวะที่เรียกว่า super ของมนุษย์ที่ผ่านการฝึกฝนอย่างพากเพียรต่อเนื่องจน position คือเมื่อนักวิทยาศาสตร์มองและจับจ้อง หลุมขาวในจักรวาลจิต เกิดการอัดแน่นและควบแน่น อนุภาคนั้นนั้น จะแสดงตัวตนเป็นสสาร (living cat) จนเกิดปัญญาญาณในธาตุรู้ในใจกลางของจิตใต้สำนึก เมื่อไม่มองอนุภาคนั้นจะดำรงตนเป็น สนามพลัง 4 (วิญญาณ) มนุษย์คนนั้น เกิด แรงความเร็วหลุดพ้น พลังงาน (sleeping cat) คือ พลังแรงโน้มถ่วง พลังแม่ จากแรงดึงดูดของสุขและทุกข์ (+/-) ที่ทำให้มนุษย์วน เหล็กไฟฟ้า พลังเหนี่ยวนำระหว่างอะตอมอย่าง รอบอยู่กับวัฏฏสงสาร ทั้งในแต่ละชีวิตร่างกายตาม strong force และพลังชนิดอ่อน weak force ที่ยัง อายุขัยและในไตรภูมิ เข้าสู่สภาวะนิพพาน (สุญญตา) ทำให้เกิดความสับสนในหมู่นักวิทยาศาสตร์ว่า แท้ที่ นั้นเอง จริง อนุภาคที่เล็กที่สุดของสสารใด ๆ เป็นสสารหรือ พลังงาน? ดร. เอนก นาคะบุตร 14 กันยายน 2564
ตอนที่ 2 : องค์ความรู้พุ ทธศาสตร์ : 5 กฎธรรมชาติ จากภาพข้างบน ชีวิตมนุษย์ปฏิสนธิจากพลังจิตปฏิสนธิซึ่งบรรจุกรรมดี (-) และกรรมชั่ว (-) อันเป็นพลังงานมาจาก ชาติสุดท้าย มาผุดบังเกิดในเซลล์แรกของมนุษย์ (สสาร) ที่มาจากไข่ของแม่ ผสมกับเชื้ออสุจิของพ่อฺ เกิด เป็นชีวิต เป็นตัวอ่อนในมดลูกของแม่ ราว 9 เดือน จึงคลอดออกมาเป็นทารกและเริ่มเติบโตขึ้นทั้ง ร่างกายและจิตใจ คิด พูด ทำ เกิดวงโคจรของชีวิตและชีวา หมุนวนระหว่างความสุขและความทุกข์ใน แต่ละขณะจิต ในแต่ละวัน ในแต่ละปี จวบจนร่างกายสิ้นอายุขัย พุทธศาสตร์เปิดเผยภาระกิจมนุษย์ 3 ภาระกิจสำคัญ อันเป็นเหตุให้มนุษย์มาเกิด ดังนี้ : ชดใช้กรรมชั่ว (พลังจิตลบ) ที่บรรจุอยู่ในจิต เพิ่มกรรมดี (พลังจิตบวก) ทั้งการคิด พูด ทำ ปฏิสนธิที่เปรียบเสมือน เจ้าหนี้หรือเจ้ากรรม และการประกอบอาชีพในช่วงวัยทำงาน จวบจน นายเวร ในชาติก่อนที่เราเคยไปสร้างกรรมกับ เข้าสู่วัยชราและสิ้นอายุขัย เขาไว้ (เปรียบเหมือนเราไปยืมเงินเจ้าหนี้ จึงมี ดำเนินชีวิตและชีวา บนทางสายกลาง และเพื่อ หนี้สินติดตัวมา) ควบคู่การพยายามไม่สร้าง พยายามปรับเข้าสู่หลักความสมดุลย์ระหว่าง กรรมชั่ว (พลังจิตลบ) กับใครก็ตาม ในชาติ ความดีกับความเร็ว ความสุขกับความทุกข์ และ ปัจจุบันใหม่ ระหว่างกรรมดีกับกรรมชั่วนั้นเอง
ตอนที่ 2 : องค์ความรู้พุ ทธศาสตร์ : 5 กฎธรรมชาติ ตามหลักไตรสิกขาของพุทธศาสตร์ มนุษย์จึงควรชำระจิตและฝึกฝนจิตในแต่ละชาติอย่างต่อเนื่อง ให้เกิดความสงบ สะอาด และสว่าง เพื่อเหนี่ยวนำคุณภาพจิตใหม่ ที่เกิดพลังสติ พลังสมาธิ และพลัง ปัญญา ในศูนย์กลางจิตใต้สำนึกอันจะทำให้เกิดความเท่าทันต่ออารมณ์ที่ถูกเหนียวนำโดยความโลภ ความโกรธ และความหลง ว่าต้องเป็นของฉันและมีฉันที่เป็นศูนย์กลางชีวิต (ตัวตน) ทั้งนี้เพื่อมีเป้าหมาย ต่อภารกิจของชีวิตมนุษย์ ที่จะเตรียมจิตสุดท้าย ให้มีพลังจิตดี (พลังจิตบวก) มากกว่าพลังจิตชั่ว (พลังจิตลบ) อันจะบรรจุอยู่ในวิญญาณของมนุษย์ที่ออกจากร่าง และจะถูกเหนียวนำโคตรจนต่อไปใน ไตรภูมิ นักบวชและนักปฎิบัติธรรมที่มุ่งแสวงหาความหลุดพ้นจากการหมุนวนอยู่กับความสุขและความ ทุกข์ดังกล่าว จึงมุ่งฝึกฝนจิตให้เกิดพลังสมาธิและพลังปัญญาญาณที่จะเหนี่ยวนำจิตเข้าสู่ความว่างที่อยู่ เหนือความสุขและความทุกข์ (+/ -) และดับทุกข์ คือทั้งความสุขและความทุกข์ในที่สุด ดร. เอนก นาคะบุตร 15 กันยายน 2564
ตอนที่ 3 : ความหมายและเป้าหมายชีวิตจากมหาบุรุษโลก นอกจากความหมายกับภาระกิจชีวิตที่พุระพุทธเจ้า : พุทธศาสตร์ ได้ทรงเปิดเผยแล้ว (ตอนที่ 2) ยัง มีองค์ความรู้ของคัมภีร์เต๋า และมหาบุรุษของโลกทางพุทธศาสตร์ ในโลกปัจจุบัน คือ ท่านพุทธทาสภิกขุ ควบคู่มหาบุรุษของโลกด้านวิทยาศาสตร์ 2 ท่าน คือ ปราชญ์/ ศิลปินชาวกรีกโบราณ ชื่อ อริสโตเติล (Aristotle) และนักวิทยาศาสตร์/ ฟิสิกส์ชาวเยอรมัน/ ยิว ผู้คิดค้นทฤษฎีสัมพันธภาพและทฤษฎีแห่ง ความสุขมนุษย์ คือ ไอน์สไตน์ (Einstein) คัมภีร์เต๋า เมื่อราวกว่า 2,000 ถึง 3,000 ปีที่ผ่านมา ก็ได้มี อริสโตเติล (Aristotle) เป้าหมาย ปราชญ์ชาวจีน ที่ได้บันทึกความจริงของสรรพสิ่งใน ชีวิตมนุษย์ ควรมุ่งสู่ความเป็นชีวิตที่ดี จักรวาล ล้วนเป็นนิรันดร์อันเร้นลับ ไม่มีจุดเริ่มต้นและไม่มี (good life) อันหมายถึงการมี จุดจบ สรรพสิ่งต่าง ๆ ล้วนเป็นของคู่กันและกัน ชีวิต ร่างกายที่มีสุขภาพดี การได้มาซึ่ง มนุษย์จึงมีความหมายในการดำเนินชีวิตที่ควรสบาย ๆ กับ อาหารเครื่องนุ่งห่ม และปัจจัยที่ ชีวิต และควรรู้จักรากเหง้า ว่าตนเองมาจากไหน ชีวิตจริง จำเป็นต่อชีวิต โดยไม่ต้องไลล่าหรือ จะสุขสงบ ควบคู่การให้ความรักต่อโลกและเพื่อนมนุษย์ แข่งขัน (need) สุดท้ายการมี เหมือนดังการรักตนเอง วิญญาณที่ดี คือการได้มาซึ่งความสุข ท่านพุทธทาสภิกขุ สวนโมกข์ อ.ไชยา จ.สุราษฎรธานี เกียรติ และศักดิ์ศรี อันเป็นสิ่งที่มี เป้าหมายชีวิตของคนธรรมดาทั่วไป ควรมุ่งไปสู่ความสงบ อย่างจำกัดในสังคมมนุษย์ เย็นและเป็นประโยชน์สุขต่อผู้อื่น กรณีนักบวชหรือนัก ไอน์สไตน์ (Einstein) ไม่ได้ชี้ชัดว่า ปฎิบัติธรรม ที่ต้องการหลุดพ้นจากวัฎสงสาร จึงควรมุ่ง ชีวิตนี้มีเป้าหมายเพื่ออะไร แต่เขาให้ เน้น การสละในทุกสิ่ง ทั้งญาติพี่น้อง บ้านเรือน ทรัพย์ คุณค่าสำคัญต่อชีวิตที่เห็นว่า มนุษย์ สมบัติรอบตัว เพื่อให้ตนเองหมดตัว และ ไม่มีตัวตน ทุกคนล้วนมีชีวิตสัมพันธ์ซึ่งกันและ กัน และต่างพึ่งพาขึ้นต่อกัน นอกจากนั้น เขายังได้เขียนโน้ตในใบกระดาษเรื่อง (relations) เป็นทั้งผู้รับและผู้ให้ เขา ทฤษฎีของความสุขให้กับพนักงานโรงแรมในประเทศญี่ปุ่น เอง ตั้งแต่ที่เกิดมาและเรียนรู้ชีวิต ว่า (แทนสินน้ำใจ : tip) อันโด่งดังในเวลาต่อมาซึ่งระบุว่า ล้วนเป็นผู้รับมาตลอด จึงต้อง ความสุขของชีวิตคือการใช้ชีวิตที่เรียบง่ายและเงียบสงบสุข ตอบแทนผู้คนรอบข้างอย่างดีที่สุดทั้ง ในครอบครัวและผู้คนรอบข้างที่ล้วน เป็นผู้ให้ต่อชีวิตเขาทั้งสิ้น ดร. เอนก นาคะบุตร 16 กันยายน 2564
ตอนที่ 4 : เตรียมจิตสุดท้าย อย่างไร ? หลักการพุทธศาสตร์ค้นพบการโคจรของกระแสจิตมืด ตามปัจจัยของแรงดูด ผลัก หมุนวน จาก โลภ โกรธ หลง ซึ่งเป็นอารมณ์ (ผล) จากความรู้สึก จากรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสซึ่งเป็นวัฏจักรหมุนวน ของกระแสจิตมืด (-) หรือพลังจิตที่เป็นหลุมดำในจิตสำนึก เมื่อหลุมดำจิตอัดแน่นเข้าสู่ใจกลางจิต จิตใต้สำนึกจะบันทึกคลื่นจิตที่อัดแน่นเหล่านั้นในจิตใต้สำนึก (ความสุขที่เปี่ยมล้น ปิติสุข และความทุกข์ ที่ซึมเศร้าแสนสาหัส) และเมื่อวิญญาณแยกจากร่างกาย วิญญาณดังกล่าวจะนำพลังจิต +/- (กุศล/ อกุศล) โคจรต่อไปในไตรภูมิ ตามคุณภาพพลังจิตของวิญญาณนั้น ในทางกลับกันมนุษย์ที่ฝึกฝนจิต หมั่น ชำระจิตตนเองให้สงบ สะอาด สว่างตามหลักไตรสิกขาอย่างต่อเนื่องและพากเพียร พลังจิตและวิญญาณ ของมนุษย์คนนั้น สามารถผุดบังเกิดคุณภาพใหม่ของจิต เกิดเป็นพลังสติ (เส้นแบ่งระหว่างหลุมดำจิต และหลุมขาวจิต พลังสมาธิที่ตั้งมั่น เท่าทันอารมณ์/ ความคิดปรุงแต่ง และอัดแน่นในใจกลาง จิตใต้สำนึก (วิญญาณ) เป็นพลังปัญญาญาณ (พลังการหยั่งรู้ ที่อยู่เหนือกาลเวลาและสถานที่ : space & time) ทั้ง 3 พลังจิตดังกล่าวล้วนทำให้จิตมนุษย์สงบสะอาดและสว่างในที่สุด และพลังสมาธิและพลัง ปัญญาญาณที่อัดแน่นอยู่ในจิตใต้สำนึกของมนุษย์ อันเป็นใจกลางของวิญญาณก็จะนำพาพลังจิตดัง กล่าวเข้าไปสู่โลกแห่งพลังงานในไตรภูมิต่อไป
ตอนที่ 4 : เตรียมจิตสุดท้าย อย่างไร ? 1.หมั่นสะสมพลังจิตดี จิตสว่าง ให้มากกว่าพลังจิตมืดที่เป็นผลจากกรรม คิด พูด ทำดี เป็นคนดี (มวลกรรม + >-) ที่คุณภาพจิตใหม่ มีคุณธรรม เมตตาธรรม เด่นกว่าความโลภ โกรธ หลง วิธีการ 2.ฝึกฝนจิต (ธาตุรู้ในจิตใต้สำนึก) ให้หมั่นรู้สึกตัว (aware/ mind) ต่ออารมณ์แต่ละขณะที่เกิดดับ (เสี้ยววินาที) ทั้งที่เกิดจากร่างกาย (เดิน ยืน นั่ง นอน) และที่เกิดจากความคิด อย่างใดอย่างหนึ่ง ผลทำให้อารมณ์และความคิด เหล่านั้นหายไป-ดับไปไม่ปรุงแต่งเข้าสู่เรื่องราว (จิตแช่) ดังความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ว่าอนุภาคของสสารใดจะมั่นคง (stability) เมื่อ proton (+) จับคู่กับ electron (-) จะทำให้เกิดความสมดุลย์ (+/- = 0) เมื่อฝึกฝนอย่างต่อเนื่องบ่อย ๆ จิตจะผุดบังเกิดพลังสติ ที่สงบนิ่ง มีสภาวะใหม่เสมือน proton ที่อยู่รอบนิวเคลียสของอนุภาคสสารต่าง ๆ (particle) และเสมือนมีแนวเส้นแบ่งระหว่างหลุมดำแห่งจิตและหลุมขาวแห่งจิต ในจักรวาลจิตมนุษย์นั่นเอง (Event Horizon) 3.ฝึกฝนจิตให้เท่าทันความคิดควบคู่กับอารมณ์ต่าง ๆ พร้อมกันบ่อย ๆ และต่อเนื่อง ผลธาตุรู้จะผุด บังเกิดพลังจิตใหม่ จดจำสภาะจิตที่เท่าทันความคิดและอารมณ์ เป็นจิตผู้รู้ มีความสามารถแยก การรับรู้ของจิตแยกออกจากการรับรู้ของร่างกาย (จิตแยกจากกาย) ทำงานควบคู่ระหว่างพลังสติ และจิตผู้รู้ ผล จิตใต้สำนึกเข้าถึงการเห็นแจ้งในจิตต่อสภาวะที่แท้จริงของจิตมนุษย์ที่มี สภาวะ ไตรลักษณ์ (ไม่ถาวร ไม่เที่ยง ไม่ใช่เรา) ที่รวมเรียกว่า พลังสมาธิที่ตั้งมั่น (สัมมาสมาธิ) ในใจกลาง จิตมนุษย์คนนั้น กรณีนักบวช นักปฏิบัติธรรม มักจะฝึกฝนจิตสม่ำเสมอต่อเนื่องจนจิตใต้สำนึก พลังสมาธิ อัดแน่นหมุนวนในหลุมขาวจิตสว่างและหมุนวนเข้าสู่การระเบิดในใจกลางของจิตสว่าง (พลังสมาธิ) ผลผุดบังเกิดพลังปัญญาญาณ : ญาณ ที่สามารถหยั่งรู้สรรพสิ่ง อยู่เหนือความสุข ความทุกข์ (+/-) และปัจจัยของสถานที่และกาลเวลา (space & time) พลังจิตใหม่ทั้ง 3 พลังดัง กล่าว เป็นคุณภาพจิตใหม่ที่มนุษย์ทุกคนสามารถฝึกฝนและชำระจิตตนเอง ค่อย ๆ สะสมพลังจิต ใหม่ดังกล่าวในวิญญาณของตน และเมื่อรวมกับมวลพลังจิตจากพลังกรรมที่สะสม พลังจิตบวก มากกว่าพลังจิตมืด ผล มนุษย์ผู้นั้นเมื่อตาย (วิญญาณแยกออกจากร่างกาย) ที่เรียกว่า จิต สุดท้าย ผล วิญญาณนั้นจะถูกเหนี่ยวนำเข้าสู่สุขคติภูมิในไตรภูมิ สวรรค์หรือพรหมโลกนั่นเอง ดร. เอนก นาคะบุตร 19 กันยายน 2564
ตอนที่ 4 : เตรียมจิตสุดท้าย อย่างไร ? องค์ความรู้พุ ทธศาสตร์ ฝึกฝนจิตมนุษย์มีชีวิตสมดุลย์ 1.ตอนที่ 4.1 องค์ความรู้ทางพุทธศาสตร์ ค้นพบสิ่งที่มีคุณค่าสูงสุดของมนุษย์ในแต่ละชีวิต คือการ ใช้ชีวิตเพื่อฝึกฝนจิตในตนเองของมนุษย์ให้เท่าทันสภาวะจิตวุ่นและจิตมืดดังกล่าวแล้ว เพื่อที่จะ สร้างสมดุลย์ระหว่างการใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางจิตวุ่นและบางครั้งจิตมืดมิด เพื่อกลับไปหาจิตที่สว่าง และสงบเย็น และเพื่อมุ่งสู่การดับทุกข์ในจิตของมนุษย์โดยสิ้นเชิง ด้วยการตื่นรู้และเข้าถึงสภาวะ ความเป็นจริงของธรรมชาติของชีวิตมนุษย์ ด้วยการตรัสรู้ด้วยตนเอง (Enlightentment) 2.กระบวนการฝึกฝนจิตด้วยตนเองตามหลักไตรสิกขา อันประกอบด้วยการปฎิบัติและใช้ชีวิตด้วย ศีล 5 หรือศีล 8 ตลอดจนการภาวนาจิตให้สงบนิ่ง และปฏิบัติภาวนาจนจิตมีพลังสติและพลัง สมาธิ และใช้สมาธิที่ตั้งมั่นดังกล่าว ยกระดับคุณภาพจิตในใจกลางซึ่งเป็นจิตใต้สำนึกเข้าสู่การมี ญาณหยั่งรู้ (intuition) ที่จะหยั่งรู้ถึงสภาวะธรรมชาติที่แท้จริงซึ่งล้วนเป็นสภาวะแห่งไตรลักษณ์ คือสภาวะที่ทุกสรรพสิ่งล้วนมีการเปลี่ยนแปลง ไม่สามารถดำรงอยู่อย่างถาวร และไม่มีตัวตนซึ่ง รวมเรียกว่าสภาวะที่เป็นเช่นนั้นเอง (ตถตา) 3.มนุษย์จึงมีสองทางเลือกหรือทางออก ในการใช้ชีวิตแบบปุถุชนหรือแบบอาริยะชน กล่าวคือใน ระดับแรกในการเป็นคนธรรมดา คนที่มีสภาวะของความเป็นคนดี ที่ทั้งคิดดี พูดดี ทำดี ตลอดจน ประกอบอาชีพดีที่สุจริตไม่เบียดเบียนมนุษย์และสัตว์ ตลอดจนมีการบำเพ็ญเพียรในชีวิต ให้รู้จัก การให้ทาน ควบคุมพฤติกรรมตนเอง ให้อยู่ในศีลอย่างน้อยคือศีล 5 ตลอดจนมีการทำจิตให้ ผ่องใสและสงบนิ่ง ด้วยการภาวณาในรูปแบบต่าง ๆ อยู่เนือง ๆ และระดับสอง คือการมีสภาวะที่ เรียกว่า อริยะชน กล่าวคือเป็นบุคคลผู้มีสภาวะทางพฤติกรรมที่ใช้ชีวิตด้วยความมีเมตตากรุณา ต่อผู้ที่เท่าเทียมกันหรือลำบากยากไร้และในขณะที่มีจิตใจ ที่ชื่นชมยินดีผู้ที่ดีกว่า และวางเฉยต่อ สิ่งที่มารบกวนจิตใจที่เรียกว่า พรหมวิหารสี่ควบคู่การฝึกฝนจิตตามหลักไตรสิกขา เพื่อเพิ่ม คุณภาพของจิตใต้สำนึกให้มีสภาวะจิตที่รู้สึก/ ระลึกการเคลื่อนไหวของร่างกายและอาการต่าง ๆ อย่างรู้สึกตัวทั่วพร้อม ควบคู่การรู้ทันความคิด และเท่าทันต่อการไม่หลงเข้าไปในความคิดที่ปรุง แต่งต่าง ๆ สุดท้ายคือการภาวนาจิต ให้มีสมาธิจิตที่ตั้งมัน ผุดบังเกิดญาณหยั่งรู้ในจิตเพื่อเข้าถึง และตื่นรู้สภาวะธรรมของธรรมชาติและของจิตมนุษย์ที่เรียกว่า ไตรลักษณ์ และอยู่เหนือสภาวะ ดังกล่าวได้ในที่สุด ดร. เอนก. นาคะบุตร 25 มกราคม 2564
ตอนที่ 5 : แนวทางดำเนินชีวิตที่ดี (ทางสายกลาง) อย่างไร ? พุทธศาสตร์เสนอแนวทางการดำเนินชีวิตของ 3 แนวทางดังกล่าว ล้วนเป็นแนวทางการดำเนิน มนุษย์ไว้ 2 ระดับ ชีวิตให้เกิดชีวา หรือพลังจิตที่ดีและคนมีชีวิตดีนั่นเอง 1) ระดับการใช้ชีวิตของบุคคลและการครองเรือน ที่ ในทางพฤติกรรมและการใช้ชีวิตในแต่ละช่วงวัย ตาม เป็นคนดี เชิญแนวทางสายกลางไม่สุดโต่งไปทั้งความ อายุขัยของมนุษย์แต่ละคน สุขและความทุกข์ หรือความดีกับความชั่ว 2) ระดับอริยบุคคลที่รวมถึงนักบวชและนักปฏิบัติ พุทธศาสตร์เสนอแนวทางการใช้ชีวิตแบบเดินทาง ธรรมที่ต้องการมุ่งเส้นทางชีวิตไปสู่การผลทุกข์และการ สายกลาง คือการพยายามใช้ชีวิตอย่างสมดุลระหว่าง ดับทุกข์ในที่สุด ความสุขและความทุกข์ตลอดจนความดีและความชั่ว ด้วยการใช้พลังสติที่ฝึกฝน ในการรู้สึกตัวเท่าทันและ 8 แนวทางการใช้ชีวิตของมนุษย์ (มรรค 8) สำรวมการคิดการพูดการทำตลอดจนการประกอบ 1. การกำหนดความหมายและคุณค่าของชีวิต อาชีพของแต่ละคน ให้เกิดกรรมดีและเป็นคนดี ผลเพื่อ สร้างและสะสมมวลกรรมดี ไว้ในจิตใต้สำนึกหรือ ตนเองชอบ (สัมมาทิฐิ) พุทธศาสตร์เสนอแนะให้ วิญญาณ (คิดชอบ พูดชอบ ทำชอบ อาชีพชอบ) มนุษย์ทุกคน ค้นหาความหมายและคุณค่าของ การใช้ชีวิตและชีวาเดินบนทางสายกลางไปสู่ความพอ การใช้ชีวิตที่ชอบ ด้วยการค้นหาพลังจิตในตัว เพียงของชีวิตหรือความสมดุลของชีวิต ด้วย 7 มนุษย์แต่ละคน ที่สามารถฝึกฝนจนจิตตื่นรู้ และ แนวทางที่ชอบดังกล่าวแล้ว จะต้องอาศัยความมุ่งมั่น รู้ความจริงของชีวิตที่ยึดเอาตัวตนเป็นแกนกลาง และความพากเพียร ปฏิบัติ เรียนรู้ และไตร่ตรอง เพื่อเห็นถึงสภาวะชีวิตที่แท้จริงคือ การ ภาวนาในจิต (ปฏิบัติ ปริญัติ ปฏิเวธ) ฝึกฝนจิตให้มี เปลี่ยนแปลงที่ไม่สิ้นสุด ความไม่เที่ยง และความ เจตนา มีความจริงใจ มีความมุ่งมั่นจริงจัง และสุดท้าย ไม่ใช่เรา ของมนุษย์ทั่วไป ที่หลงผิดยึดเอาตัวตน ฝึกให้จิตจดจ่อและจับจ้อง อันรวมเรียกว่าอิทธิบาท 4 ว่าเป็นฉันหรือของฉันนั่นเอง ที่จะทำให้จิตตั้งมั่นจากการออกไปนอกร่างกาย ตาม 2. การฝึกฝนจิตควบคู่การชำระจิตตามหลัก ความคิดทั่วจักรวาลเข้าสู่ภายในใจกลางของ ไตรสิกขา (สมาธิชอบ) ให้จิตผุดบังเกิดพลังสมาธิ จิตใต้สำนึกของตนเอง ( ระลึกเท่าทันจิต จากนอก ที่ตั้งมั่นและอยู่เหนือกิเลสมนุษย์และเท่าทัน ร่างกาย เข้าสู่ในร่างกาย เข้าสู่วิญญาณในใจกลาง เดินสายกลาง และปล่อยวางทั้งความสุขและ จิตใต้สำนึก : inward approach) ผล จิตอยู่กับ ความทุกข์ ที่เกิดและดับในจิตทุกเสี้ยววินาที ปัจจุบัน ลด/ จำกัด กำจัดปัจจัย space & time ที่ 3. การมุ่งมั่นฝึกฝนจิตอย่างพากเพียรและต่อเนื่อง ทำให้จิตหลงและเป็นทุกข์ จิตมนุษย์คนนั้นจึงสงบ จนพลังสมาธิอัดแน่น เกิดภาวะสว่างในจิตหรือรู้ สะอาด สว่าง แจ้งในจิต เกิดเป็นพลังญาณหยั่งรู้ หรือพลัง ปัญญาญาณ เข้าถึงการรู้แจ้งในเรื่องของสภาวะ ไร้ตัวตน และความจริงของกฎไตรลักษณ์ ตาม ธรรมชาติ (ปัญญาชอบ)
ตอนที่ 5 : แนวทางดำเนินชีวิตที่ดี (ทางสายกลาง) อย่างไร ? มนุษย์ทั้งผอง... ล้วนพี่น้องกัน พุทธศาสตร์ ค้นพบพลังที่ 4 ในจิตมนุษย์ที่เป็นพลังของการมี คุณธรรมและเมตตาธรรม ซึ่งมนุษย์ที่ มีจิตผุดบังเกิดพลังสติ สมาธิ และปัญญาเท่านั้น จึงจะเกิดพลังของการให้อันเกิดจากแรงระเบิดใน จิตใต้สำนึก (จิตสว่าง) ที่จะมีเมตตา มีกรุณา มีมุทิตา ตลอดจนปล่อยวาง (อุเบกขา) กับสรรพสิ่งรอบตัว ทั้งคนในครอบครัวเครือญาติ และเพื่อนร่วมชะตากรรมในสังคม อันทำให้มนุษย์จะต้องใช้ชีวิตอยู่ร่วม และเพิ่งพากันในสังคมโลกนั่นเอง (relativity & relation) ตั้งแต่ครอบครัวครัวเรือน ชุมชน เมือง ประเทศ และโลกมนุษย์ ผล ทุนทางสังคมและทุนทางวิญญาณดังกล่าว จึงสรรสร้างความสุขสงบและ เป็นประโยชน์สุขร่วมกันของชีวิตและสังคมมนุษย์ ดร. เอนก นาคะบุตร 20 กันยายน 2564
ตอนที่ 5 : แนวทางดำเนินชีวิตที่ดี (ทางสายกลาง) อย่างไร ? พุทธศาสตร์เมื่อราว 2,500 ปีกว่ามาแล้ว พระพุทธเจ้าได้เปิดเผยความจริงของจักรวาลและของธรรมชาติโลกและ มนุษย์ ตลอดจนสภาวะธรรมชาติในใจกลางของจิตมนุษย์ที่เรียกว่า จักรวาลจิต เกิดและดับตามเหตุ และตามปัจจัยที่ เป็นกระแสธารหนุนเนื่องต่อเนื่องกัน (อิทัปปัจจยตา) จากดวงวิญญาณ (พลังงาน) แล้วแปรสภาพเป็นร่างกายมนุษย์ ในแต่ละอายุขัย (สสาร) ของชีวิตแต่ละคน แล้วเปลี่ยนสภาวะเป็นดวงวิญญาณ บรรจุพลังมวลกรรม + พลังธรรม (จากการฝึกฝนจิตในช่วงชีวิตที่ร่างกายสมบูรณ์) หมุนวนและโคจรอยู่ในไตรภูมิ เป็นความรู้แจ้งของชีวิตมนุษย์ที่รวม เรียกว่า อริยสัจ 4 1.มนุษย์ทุกคนล้วนมีวิถีชีวิตหมุนรอบอยู่กับการกิน การเสพสุขจากกามคุณ และการสะสมให้ได้มาซึ่งการมี เกียรติ (กิน กาม เกียรติ) ที่เกิดจากคลื่นจิตของรูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส ที่เกิดดับหมุนรอบใจกลางของ จิตใต้สำนึกของมนุษย์ที่รวมเรียกว่าอารมณ์ความรู้สึกที่ทำให้จิตมนุษย์ไหวและอ่อนไหว เกิดสภาวะความมืด ของจิต และความสว่างของจิต เป็นกระแสหลุมดำและหลุมขาวในจักรวาลจิตในใจกลางจิตมนุษย์ จนเป็นเหตุ ให้มนุษย์คนนั้นหลงผิดหรือความไม่รู้ (อวิชชา) ยึดเอาอารมณ์ความสุขและความทุกข์ที่หมุนวนดังกล่าวมาเป็น ของตนจนเกิดภาพลวงตา ว่ามีฉันและต้องเป็นของฉัน อัดแน่นเป็นตัวตนในกลางจิตของมนุษย์คนนั้น เมือง ความสุขและความทุกข์ที่มักมีสภาวะเปลี่ยนแปลงเกิดดับ ไม่เที่ยง และไม่มีตัวตน (ไตรลักษณ์) ผลจึงทำให้ มนุษย์คนนั้น เกิดความทุกข์ต่อเนื่องอัดแน่นเป็นความทุกข์ระทมจนถึงความทุกข์แสนสาหัส ในวิถีชีวิตของ มนุษย์ทั่วไป และในใจกลางจิตใต้สำนึกของมนุษย์วันแล้ววันเล่าปีแล้วปีเล่า (สาเหตุที่ทำให้ชีวิตมนุษย์สุข ทุกข์ และทุกข์ระทมในที่สุด) (สมุทัย ทุกข์) 2.มวลกรรมชีวิต ทั้งความปิติสุข ความทุกข์แสนสาหัสดังกล่าว จิตใต้สำนึกจะบันทึกเป็นพลังกรรมดีหรือพลัง กรรมชั่ว (พลังกรรมบวกและพลังกรรมลบ : กุศลหรืออกุศล) ตามกฏแห่งกรรมเป็นทุนวิญญาณ ของดวง วิญญาณมนุษย์แต่ละคนหมุนวนโคจร และถูกเหนี่ยวนำเข้าสู่ ไตรภูมิ (พรหมโลก มนุษยโลกและเทวโลก นรก ภูมิ) หมุนวนแต่ละภูมิตามคุณภาพความเข้มข้นของพลังวิญญาณแต่ละดวง (+/ -) ชาติแล้วชาติเล่า (วัฏสงสาร) 3.เฉพาะมนุษย์ที่เดินตามองค์ความรู้ของพุทธศาสตร์ ด้วยการฝึกฝนจิตและชำระจิตอย่างต่อเนื่องและพากเพียร ตามหลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) จนธาตุรู้ในใจกลางจิตใต้สำนึกของมนุษย์คนนั้น ผุดบังเกิดคุณภาพใหม่ ของจิตเป็นจิตใหม่ที่มีพลังสติ ต่อเนื่องเป็นพลังสมาธิ และสุดท้ายเกิดพลังปัญญาญาณ ที่ทำให้มนุษย์คนนั้น หยั่งรู้/ รู้แจ้ง ในใจกลางจิต เกิดสภาวะจิตสงบ สะอาด สว่าง จนเข้าถึงสภาวะความจริงแท้ของธรรมชาติว่า สรรพสิ่งและชีวิตมนุษย์ ล้วนดำรงอยู่ (เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป) ภายใต้กฏแห่งไตรลักษณ์ที่ล้วนเปลี่ยนแปลง ล้วน ไม่เที่ยง และล้วนไม่มีตัวตน (อัตตามาเป็นอนัตตา) ความรู้แจ้ง (พุทธ) ดังกล่าวจึงควรที่มนุษย์จะเดินทางสาย กลางมุ่งหาความว่าง (พอดี/พอเพียง)ในความทุกข์และความสุข ที่เรียกว่าทางสายกลางของชีวิต และฝึกฝนจิต ให้อัดแน่นในหลุมขาวของจักรวาลจิตคนนั้น เข้าสู่ภาวะการมีญานขั้นสูงสุด เพื่อเผุดบังเกิดการระเบิดใน ใจกลางจิต เป็นพลังการรู้แจ้งตรัสรู้ (enlighten) เข้าสู่ดินแดนของการดับทุกข์โดยสิ้นเชิงนิพพาน (Nirvana) ที่เป็นนิรันดร์ (สิ้นสุดของกาลเวลา : space & time เหนือสิ้นสุดของมวลกรรมและมวลธรรม) ดร. เอนก นาคะบุตร 22 กันยายน 2564
ตอนที่ 6 : บทสุดท้ายและบทสูงสุดของพุ ทธศาสตร์/ ประเด็นที่ท้าทายชีวิตในอนาคต พุทธศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่เข้าถึงและเรียนรู้สัจจ ผ่านจิตสำนึกที่อ่อนไหว 3 การเขื่อมโยงของ ธรรมของจักรวาล ดาราจักรช้างเผือก โลก มนุษย์ และ กระบวนการรับรู้ของจิต จากเหตุหนึ่ง รูป (รูปธรรม โลกจักรวาลในจิตมนุษย์ พระพุทธเจ้าเพียง Label สัจ และนามรูป) ไปสู่ความรู้สึกและความคิดปรุงแต่ง แล้ว จธรรมเหล่านั้นว่า พุทธศาสนาในอนาคตถ้าถอดรหัสให้ ส่งต่อคลื่นจิตเข้าสู่ความจำและศูนย์กลางการรับรู้ (ธาตุ เป็นศาสตร์ของมนุษยชาติทุกเผ่าพันธุ์ ทุกวัฒนธรรม รู้ในจิตใต้สำนึกที่มีสภาวะนิ่งกว่า) แปรสภาวะเป็น และความเชื่อ พุทธศาสตร์ จะขยายและเติมเต็ม พลังจิตหลุมขาวและหลุมดำ ของจักรวาลจิตหมุนเวียน วิทยาศาสตร์ ที่ยังติดกับดักของสสาร และ external และบันทึก ทั้งพลังกรรมและพลังธรรมดังที่กล่าวมา observation และมาถึง Quantum theory, Relativity theory และ Big Bang theory เป็นต้น สุดท้ายพลังจิตที่อัดแน่นจนมีมวลปัญญาญาณ จะ ซึ่งเริ่มเข้าใกล้นิพพานของพุทธศาสตร์ ในปี 2564 นี้ ทำให้ผุดบังเกิดการระเบิดของจิตในใจกลางจิตใต้สำนึก นักวิทยาศาสตร์ใน 3-4 ประเทศ เช่น จีน รัสเซีย ดังกล่าว จิตและวิญญาณมนุษย์ผู้นั้นจะเข้าถึงแดน อเมริกา และอาหรับ เพิ่งส่งยานอวกาศออกไปสำรวจ นิพพาน อันเป็นสภาวะภูมิวิญญาณนอกไตรภูมิที่ไม่มี ดาวอังคาร อันเป็นเป้าหมายร่วมกันของมนุษย์ทั่วโลก ตัวตน ทั้งสสารและพลังงาน ไม่มีทั้งกาลอวกาศ ว่าวันหนึ่งในอนาคต มนุษย์จะไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดาว (space & time) ไม่มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของการ อังคาร และอาจเป็นอาณานิคมแห่งแรกนอกโลกของ หมุนเวียนเกิดและดับ (วัฏฏสงสาร) เป็นสภาวะนิรันดร์ มนุษย์ และเป็นก้าวแรกเพื่อที่จะไปบุกเบิกดวงดาวอื่น ของสรรพสิ่ง ในขณะที่วิทยาศาสตร์ยังติดกับดักอยูใน ในจักรวาลอันกว้างใหญ่ ต่อ ๆ ไปในอนาคตข้างหน้า จักรวาลของสสารและแรงโน้มถ่วงของจักรวาลและ ในขณะที่องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ กำลังค้นพบจุด พัฒนาไม่เขื่อมโยง แต่ไปในทิศทางตรงกันข้าม กำเนิดของจักวาลที่มีอนุภาคเล็กที่สุด แต่มีมวล (outward) กับพุทธศาสตร์ (inward) ทั้ง ๆ ที่ชีวิต พลังงานมหาศาล ที่เรียกว่า singularity ที่เป็นจุดเริ่ม มนุษย์ และจักรวาลมีทั้ง 2 สิ่ง (super position) สลับ ต้นของการระเบิดใหญ่ (Big Bang) ก่อกำเนิดกลุ่มแก๊ส สภาวะอย่างไม่แน่นอน (uncertainty) หนุนเนื่อง ดาราจักรที่เป็นที่รวมของดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ เป็นกระแสธารเฉกเช่นเดียวกับร่างกายและจิต มหาศาล ขยายและพองตัวหมุนวนเชื่อมโยงกันทั้ง วิญญาณมนุษย์ (body & mind /consciousness) จักรวาล ภายใต้แรงโน้มถ่วงของจักรวาล และกาล อวกาศอยู่ในปัจจุบัน พุทธศาสตร์ เมื่อประมาณ 2,500 ดร. เอนก นาคะบุตร ปีที่แล้ว ค้นพบการฝึกฝนจิตมนุษย์จากธรรมชาติรอบ 22 กันยายน 2564 ตัวไปสู่ร่างกายมนุษย์ โดยเฉพาะกับอวัยวะสัมผัส 5 ช่องทาง ที่เป็นรูปธรรมที่สร้างโลกและกรรม แล้วลึกลง ไปในใจกลางจิตใต้สำนึกของมนุษย์
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: