พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหา วชิราลงกรณ พระวชริ เกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 เปน็ พระมหากษตั ริย์ไทยรชั กาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จข้นึ ครองราชยเ์ มือ่ วนั ท่ี 13 ตลุ าคม พ.ศ. 2559 จนถึงปัจจุบัน เ ป็ น พ ร ะ ร า ช โ อ ร ส พ ร ะ อ ง ค์ เ ดี ย ว ใ น พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง พระองคม์ พี ระเชษฐภคินีและพระขนิษฐภคินีร่วมพระราชชนนี ถงึ 3 พระองค์
พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราช โอรสพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรและสมเด็จพระ นางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชสมภพ ณ พระที่น่ังอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันจันทร์ท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 เวลา 17:45 น. ในเวลาดังกล่าว ปืนใหญ่บริเวณสนามเสือป่ากัมปนาทข้ึน 21 นดั ในเวลาเดยี วกับร.ล.สโุ ขทยั กไ็ ดย้ งิ สลตุ เฉลมิ พระเกยี รติ ด้วยจานวนนัดเท่ากัน ท้ังน้ีตามโบราณราชประเพณี หากประสูตเิ จา้ ฟ้าชายและเปน็ เวลากลางวัน ไม่เกิน 18.00 น. จะยงิ ปนื ใหญเ่ ฉลมิ พระเกยี รติ 21 นดั หากเลยเวลา 18.00 น. จะเล่ือนเวลาการยงิ สลตุ ไปในวนั รุง่ ขนึ้ หากเปน็ เจ้าหญิงจะไมย่ งิ โ ด ย มี บั น ทึ ก ว่ า เ มื่ อ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม ช น ก า ธิ เ บ ศ ร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระ นางเจา้ สริ ิกิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี ันปีหลวง เสด็จ นิวตั ิพระนคร ในเดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2494 นั้น พระเจา้ วรวงศ์ เธอ กรมหมืน่ นครสวรรคศ์ กั ดพิ ินิต ไดก้ ราบบงั คมทลู ในนามของ พระราชวงศ์ มใี จความตอนหนง่ึ ว่า
“เมือ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั และสมเด็จพระ นางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชธิดา เป็น พระองค์แรกแล้วเช่นน้ี ก็ทรงหวังว่าสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ คงจะมีพระราชโอรสเป็นพระองค์ถัดไป” พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ว ชิ ร เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว ท ร ง มี พ ร ะ เ ช ษ ฐ ภ คิ นี คื อ ทู ล ก ร ะ ห ม่ อ ม ห ญิ ง อุ บ ล รั ต น ร า ช กั ญ ญ า สิริวัฒนาพรรณวดี และพระขนิษฐภคินีสองพระองค์คือสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเดจ็ พระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจฬุ า ภรณวลัยลักษณ์ฯ กรมพระศรีสวงควัฒนวรขัตติยราชนารี พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นทูลกระหม่อม เพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกา ธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรและสมเด็จพระ นางเจา้ สิรกิ ิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ที่ไม่มีชื่อเล่น อาจเป็นเพราะทรงเป็น “ทูลกระหม่อมชาย” เพียงพระองค์เดียว คาว่า “ชาย” จึงเป็นเสมือนชื่อท่ีใช้แทน พระองค์
ขณะพระชนมายุได้หน่ึงพรรษา พระบาทสมเด็จพระ บรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้พระราชทานพระนาม สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ทรงเป็นผู้ตั้ง พระนามถวายตามดวงพระชะตาวา่ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจา้ ฟ้าวชิราลงกรณ บรมจกั รยาดิศรสันตตวิ งศ เทเวศรธารงสุบริบาล อภคิ ณุ ูปการมหติ ลาดุลเดช ภูมพิ ลนเรศวรางกูร กิตติสริ ิสมบรู ณสวางควฒั น์ บรมขัตติยราชกมุ าร พระนาม \"วชิราลงกรณ\" น้ัน สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ทรงตั้งถวาย มาจาก \"วชิระ\" พระนาม ฉายาทั้งในพระองค์เองและในขณะผนวชของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ผนวกกบั \"อลงกรณ์\" จากพระนามเดิม ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีความหมายว่า \"ทรงเคร่อื งเพชรหรืออสนีบาต\"
การศึกษา ในปี พ.ศ. 2499 พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงสาเร็จการศึกษาขั้นต้นในระดับอนุบาล รุ่นที่ 2 จากโรงเรียนจิตรลดา แล้วจึงเสด็จฯ ไปทรงศึกษาต่อในระดับ ประถมศกึ ษาทโี่ รงเรียนคงิ สม์ ีด แคว้นซัสเซกส์ และศึกษาระดับ มัธยมศึกษาท่ีโรงเรียนมิลฟิลด์ แคว้นซอมเมอร์เซทประเทศ อังกฤษ หลังจากนั้นทรงศึกษาต่อวิชาทหารที่โรงเรียนคิงส์ สกูล ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย เสร็จแล้วทรงศึกษาต่อใน ระดับปริญญาตรีสาขาอักษรศาสตร์ (ด้านการทหาร) จาก มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย เมื่อ พ.ศ. 2519 นอกจากน้ียังทรงศึกษาต่อที่โรงเรียนเสนาธิการ ทหารบก รุ่นที่ 46 เมื่อปี พ.ศ. 2520 ทรงเข้าศึกษาใน สาขาวิชานิติศาสตร์ รุ่นที่ 2 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เมื่อ พ.ศ.2525 ทรงสาเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต (เกยี รตนิ ยิ มอันดบั 2) และปี พ.ศ. 2533 ทรงได้รับการศึกษา ณ วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักรแหง่ สหราชอาณาจักร
ผนวช พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระทัย ศรัทธาจะอุปสมบทในพระพุทธศาสนา โดยได้ทรงพยายามหา โอกาสในวันหยุดเสด็จไปเฝ้าสมเด็จพระสังฆราชและทรงเยี่ยม พระเถระช้ันผู้ใหญ่ ทรงสนทนาศึกษาธรรมะคาส่ังสอนของ สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้าพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลย เดชจึงโปรดเกล้าฯ ให้ผนวชในวันจันทร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 เวลา 15.37 น. ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดา ราม โดยมีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสน์ วาสโน) เป็นพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และสมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ปุณฺณ โก) ถวายอนุสาสน์ ผนวชแล้วเสดจ็ ฯ ไปทาทัฬหีกรรม ณ พระอุโบสถ พระพุทธรัตนสถาน เม่ือเวลา 16.59 น. โดยมีสมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) เป็นพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ เสร็จแล้วเสดจ็ ฯ ไปประทบั ณ พระตาหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร พระมหา รชั มงคลดลิ ก (บุญเรือน ปณุ ณฺ โก) เปน็ พระอภิบาล
“ตลอดระยะเวลาแห่งการผนวชน้ันทรงประกอบพระราชกรณีย กิจนานาประการ เช่น ทรงร่วมทาวัตรเช้าเย็น ทาสังฆกรรม สดับพระธรรม เทศนา และทรงศึกษาพระธรรมวินัย ร่วมกับ พระภิกษุอื่น ๆ เสด็จพระราช ดาเนินไปทรงรับภัตตาหาร บิณฑบาต จากพระบรมวงศานุวงศ์ข้าราชการ และประชาชน ณ สถานท่ีต่าง ๆ เสด็จพระราชดาเนินไปทรงสักการะสมเด็จ พระสังฆราช และพระเถระชัน้ ผู้ใหญ่ ณ พระอาราม ต่าง ๆ เสด็จ พระราชดาเนินไปทรง สักการะพระพุทธรูปสาคัญ เจดียสถาน และสถานท่ีศักดิ์สิทธิ์ในส่วนภูมิภาค และเสด็จออกให้คณะสงฆ์ และคณะบคุ คลต่าง ๆ เข้าเฝา้ ถวายสกั การะ เป็นต้น” 16 พฤศจิกายน 2521 ทรงมีพระราชดารัสตอบต่อที่ประชุมสงฆ์ วัดพระมหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช อันมีใจความตอนหน่ึงว่า “การบวชของ กระผมในครั้งนเี้ ป็นการบวชดว้ ยศรทั ธาอันแรงกลา้ ที่จะศึกษาพระ ธรรมอันมีค่าสูงสุด โดยมุ่งหวังที่จะนาไปใช้ให้เป็นประโยชน์แก่ ประเทศชาติต่อไป” ผนวชอยู่ 15 วนั จึงลาผนวช ณ พระตาหนัก ปั้นหย่า ในวันท่ี 20 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2521 เวลา 10.15 น.
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลาสิกขา เม่ือวันท่ี 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 เวลา 10.30 น. จากน้ันได้เสด็จ พระราชดาเนินไปถวายสักการะทูลลาสมเด็จพระอริยวงศา คต ญาณ (วาสน์ วาสโน) ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม และเสด็จ พระราชดาเนินกลับพระที่น่ังอัมพรสถานพระราชวังดุสิต ในตอน บ่ายวันเดียวกันเสด็จพระราชดาเนินโดยเคร่ืองบินพระท่ีนั่งไปยัง พร ะ ต า ห นั กภู พ า น ร า ช นิเ วศ น์ จั งห วั ด ส กล น ค ร เ พ่ื อ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ พลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ถวายพระราชกุศลแล้วเสดจ็ พระราชดาเนนิ กลบั
บรมราชาภเิ ษก พระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในวนั ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ณ พระบรมมหาราชวัง เขต พระนครกรุงเทพมหานคร โดยทรงเฉลิมพระปรมาภิไธยตามที่ จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า \"พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร กิติสริ ิสมบรู ณอดุลยเดช สยามนิ ทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถ บพิตร พระวชริ เกล้าเจา้ อยหู่ วั \" และมีพระปฐมบรมราชโองการ ความวา่ \"เราจะสืบสาน รักษา และตอ่ ยอด และครองแผ่นดิน โดยธรรม เพอื่ ประโยชน์สขุ แห่งอาณาราษฎรตลอดไป\" วันที่ 5 พฤษภาคม ปีเดียวกัน มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศ และเฉลิมพระนาม พระบรมวงศานุวงศใ์ นรัชกาลท่ี 10
พระราชกรณยี กจิ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดี ศรสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยูห่ วั รชั กาลที่ ๑๐
พระราชกรณยี กิจ ดา้ นการบนิ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2522 พระองค์ทรงเร่ิมฝึกบิน เฮลิคอปเตอร์แบบ UH-1H และเฮลิคอปเตอร์แบบ UH-1N และ หลกั สูตรเฮลคิ อปเตอรโ์ จมตตี ิดอาวุธ (Gunship) ของกองทพั บก 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 ทรงปฏิบัติหน้าที่ครูการ บินเคร่ืองบินขบั ไล่แบบเอฟ-5 อี/เอฟ พ.ศ. 2552 ทรงปฏิบัติหน้าที่นักบินที่ 1 เครื่องบิน โบองิ้ 737–400 ในเทยี่ วบินสายใยรักแห่งครอบครัว ช่วยเหลือ ผู้ประสบอุทกภัย และจัดหาอุปกรณ์ด้านการแพทย์ สาหรับ โรงพยาบาลใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (เที่ยวบินท่ี ทีจี 8870 (กรุงเทพมหานครถึงจังหวัดเชียงใหม่) และเที่ยวบินท่ี ทจี ี 8871 (จังหวัดเชยี งใหมถ่ งึ กรงุ เทพมหานคร)
ดา้ นการทหาร พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราช ดาเนินไปเย่ียมที่ตั้งกองทหารหน่วยต่าง ๆ อยู่เสมอ จากการที่ ได้ทรงศกึ ษาด้านวิชาทหารมานาน ทรงมีความรคู้ วามเช่ียวชาญ อย่างมาก และได้พระราชทานความรู้เหล่านั้นให้แก่ทหาร 3 เหลา่ ทพั ทรงปฏบิ ตั ิพระองคเ์ ป็นแบบอยา่ งแก่นายทหาร เอา พระทยั ใสใ่ นความเป็นอยู่ทุกข์สุขของทหารผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา อย่างท่ัวถึง รวมทั้งพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เป็นทุนการศึกษาแก่บุตรของทหาร ส่ิงเหล่าน้ีล้วนก่อให้เกิด ความเทิดทนู และความจงรกั ภกั ดีแกเ่ หล่าทหารเปน็ อย่างย่ิง ซึ่งในปัจจุบันทรงดารงพระยศทางทหารของ 3 เหล่าทัพ ได้แก่ พลเอก พลเรือเอก และพลอากาศเอก ทรงปฏิบัติพระ ราชกรณียกิจด้านการทหาร และทรงเข้าร่วมปฏิบัติการรบใน การตอ่ ต้านการกอ่ การร้ายในภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ของประเทศไทย รวมท้ังการคุ้มกันพ้ืนที่ในบริเวณรอบค่ายผู้อพยพ ชาวกมั พูชาทเ่ี ขาล้าน จังหวัดตราดอกี ดว้ ย
ดา้ นการกีฬา พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฎิบัติ พระราชกรณียกิจท้ังในฐานะผู้แทนพระองค์และในส่วนของ พระองค์เอง อาทิ การพระราชทานไฟพระฤกษ์กีฬาเยาวชน แห่งชาติพระราชทานวโรกาสให้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานรางวัลนกั กฬี ายอดเยยี่ ม ในปี พ.ศ. 2558 พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว มีพระราชปณิธานท่ีจัดกิจกรรมจักรยานถวายพระ เกียรติและถวายความจงรักภักดีเน่ืองในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง และเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิ พลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร โดยไดท้ รงจักรยานพระที่ นงั่ นาประชาชนทั่วประเทศป่ันจักรยานในกิจกรรม Bike for Mom - ป่ันเพื่อแม่ จัดกิจกรรมวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2558 และ กิจกรรม Bike for Dad - ป่ันเพื่อพ่อ จัดกิจกรรมวันท่ี 11 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ในกิจกรรมประชาชนได้ร่วมใจกันแสดงความ จงรกั ภกั ดตี ่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ตลอดเส้นทางมีพสกนิกร เฝ้ารบั เสดจ็ อย่างเนืองแน่น
ด้านการศกึ ษา พระองค์พระราชทานพระราชานุญาตให้ใช้อาคาร ของกรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ เป็นท่ีตั้งของ โรงเรียนอนุบาลชื่อว่า โรงเรียนอนุบาลทหารมหาดเล็กราช วัลลภ โดยในระยะแรกได้จัดการเรียนการสอนเฉพาะช้ัน อนุบาล ต่อมาโรงเรียนได้ย้ายไปที่จังหวัดนนทบุรี และได้รับ พระราชทานช่ือใหมว่ า่ “โรงเรยี นอนรุ าชประสทิ ธ”ิ์ น อ ก จ า ก น้ี ยั ง พ ร ะ ร า ช ท า น พ ร ะ ร า ช ท รั พ ย์ ส่ ว น พระองค์สมทบเป็นค่าก่อสร้างโรงเรียนมัธยมศึกษาท่ีต้ังอยู่ใน ชนบทห่างไกลคมนาคมไมส่ ะดวก กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดส้ นอง พระราชประสงค์ด้วยการน้อมเกล้าฯ ถวายโรงเรียนในระดับ มธั ยมศึกษาจานวน 6 โรงเรียน เป็นโรงเรียนในพระราชูปถัมภ์ ไดแ้ ก่
๑. โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา อ.ปลาปาก จ.นครพนม (ปัจจบุ นั เปลีย่ นช่อื เป็น โรงเรยี นมัธยมพัชรกติ ยิ าภา 1) ๒. โรงเรียนมัธยมจุฑาวัชร อ.ลานกระลือ จ.กาแพงเพชร (ปจั จบุ ันเปลย่ี นชื่อเปน็ โรงเรยี นมธั ยมพัชรกิติยาภา 2) ๓. โรงเรียนมัธยมวัชเรศร อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี (ปจั จุบันเปลย่ี นชื่อเปน็ โรงเรียนมัธยมพชั รกิตยิ าภา 3) ๔. โ ร ง เ รี ย น มั ธ ย ม จั ก รี วั ช ร อ . รั ต น ภู มิ จ . ส ง ข ล า (ปัจจบุ ันเปลี่ยนชอื่ เป็น โรงเรยี นมัธยมสิรวิ ณั วรี 2) ๕. โรงเรียนมัธยมวัชรวีร์ อ.ท่าตะเกียบ จ.ฉะเชิงเทรา (ปัจจบุ ันเปลี่ยนชอื่ เปน็ โรงเรียนมธั ยมสริ ิวัณวรี 3) ๖. โรงเรียนมัธยมบุษย์น้าเพชร อ.เมือง จ.อุดรธานี (ปัจจุบัน เปลีย่ นชื่อเปน็ โรงเรียนมธั ยมสริ ิวณั วรี 1)
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราช ดาเนินไปทรงเย่ียมเยาวชนในตาบลต่าง ๆ ทรงสนับสนุน การจัดตง้ั ศนู ย์เยาวชนตาบล รวมท้ังได้ทรงเป็นประธานงานวัน เยาวชนแห่งชาติ วันที่ 20 กันยายน ของทุกปี และทรงเป็น ประธานในพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามของลูกเสือและเนตร นารี และสมาชิกผู้ทาประโยชน์ ท้ั ง น้ี พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ว ชิ ร เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว ได้อุปการะเด็กกาพร้า คือ จักรกฤษณ์ และอนุเดช ชูศรี ท่ีครอบครัวเสียชีวิตจากภูเขาถล่มเมื่อปี พ.ศ. 2554 รวมท้ัง ครอบครัวของบูรฮาน และบุศรินทร์ หร่ายมณี ซึ่งบิดาถูกลอบ สังหารจากเหตุความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย จะทรงอุปการะจนกว่าจะสาเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือ จนกว่าจะมีอาชพี สามารถเล้ยี งครอบครวั ได้ เป็นต้น
ดา้ นศาสนา พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ทรงประเคนผ้าไตร ประกาศนียบตั ร และพดั ยศในการต้งั ภิกษุ และสามเณรเปรียญ เนื่องในการพระราชพิธีทรงบาเพ็ญพระราชกุศลวิสาขบูชา ณ พระอโุ บสถ วดั พระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแสดง พระองค์เป็นพุทธมามกะที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เม่ือวันท่ี 3 มกราคม พ.ศ. 2509 กอ่ นเสดจ็ พระราชดาเนนิ ไปทรงศกึ ษา ตอ่ ทปี่ ระเทศองั กฤษ นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวมี พร ะ ร า ชศ รั ท ธ า ท ร งผ นว ช ใน พร ะ พุท ธ ศ า ส น า โ ด ย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดฯ ให้ จดั การพระราชพิธีผนวช ณ พัทธสมี าวดั พระศรีรัตนศาสดาราม ในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521
โดยมสี มเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) เป็นพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ สมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ปุณฺณโก) ถวายอนุศาสน์ ได้รับถวายพระสมณนามว่า “วชิราลงฺกรโณ” และได้ประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ตลอดจนทรงลาสิกขาในวันท่ี 20 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2521 พระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา้ เจ้าอยู่หัวเสดจ็ พระราช ดาเนนิ ไปปฏิบัตพิ ระราชกจิ ทางพระพุทธศาสนาอย่างสม่าเสมอ เช่น เสดจ็ พระราชดาเนินแทนพระองคไ์ ปทรงเปลี่ยนเครื่องทรง พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ตามฤดูกาล เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ไปทรงบาเพ็ญ พระราชกุศลในวันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา เช่น วันวสิ าขบูชา วนั อาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา และการถวายผ้าพระกฐินหลวง ตามวัดตา่ ง ๆ เปน็ ต้น
ดา้ นการเกษตร พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราช ดาเนินสร้างขัวญกาลังใจแก่เกษตรกรผู้ประกอบอาชีพทานา และเพ่ือให้เกษตรกรได้มีพันธ์ุข้าวคุณภาพดีไว้เพาะปลูกอย่าง ท่ัวถึงในพื้นท่ีชนบทตามจังหวัดต่าง ๆ โดยในปี ๒๕๒๗ เสด็จ อาเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ปี ๒๕๒๙ และปี ๒๕๓๗ เสด็จแปลงนาสาธิต อาเภอเมือง จังหวัด สพุ รรณบุรี พระองคไ์ ดพ้ ระราชทานปุ๋ยหมักและเมล็ดพันธ์ุข้าว เพื่อเพ่ิมผลผลิตในการทานา เพื่อเป็นขวัญกาลังใจให้กับ พสกนิกร ดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณา โปรดเกล้า ให้สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชข้ึน เพื่อให้ การรักษาพยาบาลผเู้ จ็บป่วยในถ่ินทุรกันดาร พระองค์ทรงเป็น องคน์ ายกกิตติมศักดิ์ของมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช พระองค์มีพระราชปณิธานให้เอาใจใส่รักษาพยาบาลพสกนิกร ของพระองคใ์ หป้ ลอดภัยจากความเจบ็ ไขโ้ ดยท่ัวหน้าเสมอกนั
ดา้ นการตา่ งประเทศ เม่ือวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2563 พระบาทสมเด็จ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ส่ง ข้อความพระราชสาส์นแสดงความห่วงใยไปยังประธานาธิบดี แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน กรณีเกิดเหตุการณ์การแพร่ ระบาดของโรคปอดอักเสบจากเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ 2019 (COVID-19) ในนครอฮู่ น่ั มณฑลหูเปย่ และพืน้ ทอี่ น่ื ๆ ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ความว่า ฯ พณฯ ประธานาธิบดี แหง่ สาธารณรัฐประชาชนจีน กรงุ ปกั ก่ิง ข้าพเจ้ารู้สึกกังวลและ ห่วงใยอย่างย่ิงจากการระบาดอย่างกว้างขวางและรุนแรงของ ไวรัสโคโรนาในนครอู่ฮ่ัน ซ่ึงขณะนี้ได้แพร่กระจายไปสู่จังหวัด และมณฑลต่าง ๆ ทั่วประเทศ ประชาคมโลกย่อมเกิดความ ประทับใจในความพยายามและความมุ่งม่ันต้ังใจอย่างเต็มที่ ของทางการจนี รวมทง้ั มาตรการรอบด้านทน่ี ามาใช้ต่อสกู้ บั โรค ระบาด ซ่ึงเป็นภัยคุกคามอย่างยิ่งต่อเราทุกคน ข้าพเจ้าและ ประชาชนชาวไทยขอยืนยันถึงความเป็นน้าหน่ึงใจเดียวกันกับ ประชาชนชาวจีนทั้งมวล ทั้งขออานวยพรให้ท่านประสบ ความสาเร็จทกุ ประการในการต่อสฟู้ ันฝา่ วกิ ฤตการณค์ ร้งั นี้
ด้วยความหวังว่าจะสามารถฟ้ืนฟูสถานการณ์ได้อย่างสมบูรณ์ โดยเร็วที่สดุ พรอ้ มกนั นี้ ข้าพเจ้าในนามของประชาชนชาวไทย ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซ้ึงมายังท่านประธานาธิบดีและ ประชาชนชาวจีน ทั้งขอแสดงความห่วงใยต่อครอบครัวของ ผู้เสียชีวิต ท่ีต้องประสบความทุกข์และความโศกเศร้าแสน สาหัสจากเหตุการณ์รา้ ยแรงครง้ั น้ี
บรรณานกุ รม สารานุกรมเสร.ี (2563). พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยู่หัว. สืบคน้ 10 กรกฎาคม 2563, จาก https:// th.wikipedia.org/wiki/พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว Kapook. (2563). พระราชกรณยี กิจ. สบื ค้น 10 กรกฎาคม 2563, จาก https://king.kapook.com/kingrama10 /sec3_detail_all.html Admin. (2562). พระราชประวตั ิ ในหลวงรัชกาลที่ 10 สมเด็จ พระเจ้าอยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณฯ. สบื คน้ 16 กรกฎาคม 2563, จาก https://lifestyle.campus-star.com/ knowledge/43066.html
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: