Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore planedu-nfe-Full

planedu-nfe-Full

Published by ครูจูน ปู้นปู้น, 2022-01-13 12:59:25

Description: planedu-nfe-Full

Search

Read the Text Version

ตวั ชี้วดั ขอมลู ปท ี่ 1- 5 คา เปาหมาย ปจจบุ นั ปที่ 6 - 10 ปที่ 11 - 15 ปที่ 16 - 20 9) จํานวนผลงานของภาคีเครือขายท่ีมี 20 การสรางและเผยแพรอ งคค วามรู/ N/A 40 60 80 นวัตกรรม 10) รอ ยละของสถานศึกษาในสงั กัด 14.65 40 65 85 100 สํานกั งาน กศน. ท่ีไดรบั แตง ต้ังเปน ศนู ยทดสอบดวยระบบอิเล็กทรอนกิ ส แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2560-2579 ของ สํานักงาน กศน. 46

4.7 ระยะเวลาของการดาํ เนนิ งานตามแผนพัฒนาการศกึ ษา ยุทธศาสตร แนวทางการพัฒนา 1.เพ่มิ และกระจาย การศกึ ษานอกระบบ โอกาสในการเขา ถงึ 1) ประกันโอกาสการเขารับบรกิ ารทางการศึกษาระด บริการการศึกษา และการเรยี นรู การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานใหแกผ เู รียนในทุกพืน้ ท่ี ครอบคลุม ทมี่ ีคุณภาพ ผทู ีม่ คี วามตองการจําเปนพิเศษ 2) สง เสรมิ ใหมีการบรู ณาการการศกึ ษานอกระบบ เพอ่ื ใหผ เู รยี นสามารถเขา ถงึ โอกาสทางการศกึ ษาท่ีมี คณุ ภาพ สอดคลอ งกับวัย สภาพรา งกายและสุขภาพ ความจาํ เปน ความตอ งการและความสนใจ และสามาร นาํ ผลทไ่ี ดจ ากการศกึ ษาและการเรียนรไู ปเทยี บระดับ เทียบโอน เชือ่ มโยงสงตอระหวา งการศกึ ษาทุกรูปแบบ ทกุ ระดับได 3) สงเสรมิ การจัดการศึกษานอกระบบทสี่ อดคลองกบั ความสนใจและวิถชี วี ิตของผเู รียนทกุ กลุม เปาหมาย 4) สง เสรมิ โอกาสในการเขาถงึ การศกึ ษานอกระบบข คนทกุ ชวงวยั ในพื้นท่พี ิเศษ และเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะ กิจจังหวดั ชายแดนใตใ หเ หมาะสมกบั ภูมสิ ังคม อัตลักษณ และความตองการของชมุ ชนและพื้นท่ี

านอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2560 - 2579 ชว งระยะเวลาของแผน ระยะเรงดว น การดาํ เนนิ งานปกติตามแผน (กําหนดเปน 4 ระยะ) 2560-2561 2560-2564 2565-2569 2570-2574 2575-2579 ดบั √ √ √ √ √ ม √√√√√ รถ บ√ √ √ √ √ ของ √ √ √ √ √ ะ ณ

ยทุ ธศาสตร แนวทางการพฒั นา 5) จัดทาํ SMART CARD ทางการศกึ ษาสาํ หรบั ทุก กลุมเปาหมายโดยเฉพาะกลมุ เปา หมายพิเศษเพ่อื ขอรบั บรกิ ารทางการศึกษา 6) พฒั นาระบบ E-exam และระบบการสอบ อเิ ล็กทรอนกิ สใ หมีมาตรฐานและยกระดับสถานศึกษาท แหงใหเปน ศูนยท ดสอบดวยระบบอเิ ล็กทรอนิกสเพ่ือเพ โอกาสทางการศึกษาขั้นพนื้ ฐานท่ีมีคณุ ภาพใหแ ก ประชาชน 7) สงเสริมใหแ รงงานไดรับโอกาสยกระดบั คุณวุฒิ ทางการศึกษาและทักษะความรูท ส่ี งู ข้ึน 8) พฒั นาระบบการเทียบโอนและการเทยี บระดบั การศกึ ษาใหมีมาตรฐานและสามารถเช่ือมโยงการศึกษา และการเรียนรูทุกระดบั ทกุ รูปแบบ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 1) พัฒนาแหลงเรยี นรูในชุมชนใหมีมาตรฐานตาม ประเภทแหลง การเรยี นรู และสอดคลอ งกบั ความสนใจ และวิถชี ีวติ ของผูรบั บรกิ ารแตละกลมุ เปา หมาย รวมทง้ั สามารถใหบ ริการไดอยางท่ัวถึง

ชว งระยะเวลาของแผน ระยะเรงดวน การดาํ เนนิ งานปกตติ ามแผน (กําหนดเปน 4 ระยะ) 2560-2561 2560-2564 2565-2569 2570-2574 2575-2579 บ √√ √√√ ทุก พ่มิ √ √ √ า √√√ ง

ยุทธศาสตร แนวทางการพัฒนา 2. พฒั นาและ 2) พฒั นาหองสมุด พิพธิ ภัณฑ และจดั แหลง เรยี นรูท่ี เสรมิ สรา งศกั ยภาพ หลากหลาย กระจายอยทู ุกพ้ืนที่ใหเปนกลไกในการ แสวงหาความรขู องประชาชน 3) เพิ่มโอกาสในการเขา ถงึ การศึกษาตามอธั ยาศัยขอ คนทุกชวงวัยในพนื้ ทพ่ี เิ ศษ และเขตพัฒนาพเิ ศษ เฉพาะกิจ จังหวดั ชายแดนใตใหเหมาะสมกบั ภมู ิสังคม อัตลักษณ และความตองการของชุมชนและพนื้ ท่ี 4)พฒั นาประสทิ ธิภาพเทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษาทางไก และการศึกษาในระบบเปด อาทิ ETV E-learning MOOC เพ่อื เปน เครอื่ งมือในการขยายการใหบริการใน รปู แบบตา งๆ 5) พฒั นานวัตกรรมการจดั การเรียนรู สื่อเพื่อ การเรยี นรู และการใหบรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศทกุ รูปแบบ ตลอดจนขยายเครอื ขายอนิ เทอรเ นต็ ความเร็วส ในสถานศึกษาทุกแหง ครอบคลุมทกุ พืน้ ที่และเพยี งพอก ผูเรียน เพือ่ เออ้ื ตอการเรียนรูดวยตนเอง และการเรียนร แบบมีสว นรวม การศกึ ษานอกระบบ 1) ปฏิรปู หลักสูตร ยกระดับคณุ ภาพและมาตรฐาน

ระยะเรงดว น ชว งระยะเวลาของแผน 2560-2561 การดาํ เนนิ งานปกติตามแผน (กําหนดเปน 4 ระยะ) √ 2560-2564 2565-2569 2570-2574 2575-2579 √ อง √ √ √ √ √ กล √ √ √ √ √ √ √ สูง กบั รู

ยทุ ธศาสตร แนวทางการพฒั นา คนทกุ ชวงวยั ใหมี การจัดการเรียนรใู หทนั ตอความเปล่ียนแปลง เหมาะสม สมรรถนะ และทักษะ และสอดคลอ งกบั สภาพของกลุมเปา หมาย ทเี่ หมาะสม มีคณุ ภาพ ชวี ติ ทีด่ ี 2) พฒั นากระบวนการเรียนการสอนเพอ่ื ยกระดับ คะแนนเฉลย่ี ของการทดสอบคณุ ภาพการศึกษานอก ระบบระดบั ชาติ (N-NET) 3) พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษานอกระบบให เช่ือมโยงกบั ระบบคุณวุฒิวิชาชีพที่นําไปสเู สนทางอาชีพ โดยมีกลไกการวัดและประเมินผลเพ่อื เทยี บโอนความรู และประสบการณ และพัฒนาใหมรี ะบบการสะสมและ เทียบโอนหนวยการเรียน (Credit Bank System) 4) พฒั นาหลกั สูตร และกระบวนการเรียนรใู ห สอดคลอ งกับสภาวการณการพฒั นาประเทศ และเปนไ ตามสภาพและความตองการของกลมุ เปา หมาย โดย คาํ นึงถงึ การพฒั นาคณุ ภาพ มาตรฐาน เสรมิ สรางความ ตระหนกั ในคุณคาของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แล ความรูเร่ืองทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 5) พัฒนารปู แบบและวิธกี ารวัดและประเมนิ ผล การเรยี นรูท่มี ีคณุ ภาพและมาตรฐาน สามารถวดั และ ประเมนิ ตรงตามวตั ถุประสงค และนําผลการประเมนิ ไป

ชว งระยะเวลาของแผน ระยะเรงดวน การดําเนินงานปกตติ ามแผน (กาํ หนดเปน 4 ระยะ) 2560-2561 2560-2564 2565-2569 2570-2574 2575-2579 ม√ √ √√√√√ พ √ √ ไป √ ม ละ √ ป

ยทุ ธศาสตร แนวทางการพฒั นา ใชไ ดจ ริง 6) สง เสรมิ ใหม กี ารวิจัยและพัฒนานวัตกรรม การจดั การเรยี นรู สื่อเพื่อการเรียนรู และการใหบริการ เทคโนโลยสี ารสนเทศทกุ รปู แบบท่ีไดมาตรฐาน 7) พัฒนาหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบและหลักสูตร การอบรมแกกลุมผสู งู วัยใหม ีคณุ ภาพและมาตรฐานเพ่ือ สรางพลเมืองที่มคี ุณภาพชีวิต 8) พัฒนาหลักสูตรภาษาองั กฤษสําหรับประชาชนเพื่อ ยกระดบั ทกั ษะการใชภาษาอังกฤษของคนไทย รวมท้งั ภาษาตา งประเทศอื่น ๆ ทเ่ี ปนไปตามความตองการของ พ้นื ท่ีและประชาชน 9) สงเสรมิ ใหม กี ารจัดทําแผนการเรยี นรูตลอดชีวิตขอ ชุมชน/รายบุคคล เพ่ือเปน เครอ่ื งมือในการกําหนดทศิ ท และสรา งแรงจงู ใจในการเรียนรูต ลอดชวี ิตของประชาชน 10) สง เสริมใหส ถานประกอบการจัดการศึกษานอก ระบบ ซ่ึงอาจจัดเองหรือรวมจดั โดยสามารถนําคา ใชจ า ในการจดั การศึกษาไปลดหยอนภาษีได 11) พัฒนาหลกั สตู รอาชพี เพ่ือเสรมิ สรางการพัฒนา อาชพี ใหกับประชาชนในชมุ ชนแบบครบวงจร ซงึ่ เปน

ระยะเรงดวน ชวงระยะเวลาของแผน 2560-2561 การดาํ เนนิ งานปกตติ ามแผน (กําหนดเปน 4 ระยะ) 2560-2564 2565-2569 2570-2574 2575-2579 √√√√√ ร√ √ √ √ √ อ อ√ √ √ √ √ ง อง √ √ ทาง น √√√√√ าย √√

ยทุ ธศาสตร แนวทางการพัฒนา กระบวนการตนทางถึงปลายทางตงั้ แตกระบวนการผลติ การแปรรูป การจัดจําหนาย การตลาด และการดาํ เนิน การในเชิงธุรกจิ 12) สง เสริมการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูที่สรา งเสริม และปรับเปลยี่ นคานยิ มของคนไทยใหมีวนิ ยั จิตสาธารณ และพฤติกรรมท่พี ึงประสงค 13) พฒั นาสมรรถนะครใู หมศี กั ยภาพในการจัดการ เรียนรู สามารถใชเ ทคโนโลยี และประสานภมู ิปญญา ทอ งถ่นิ เพื่อประโยชนใ นการจดั การเรียนรู เปน ครมู ือ อาชีพ และมมี าตรฐานคณุ ภาพตามทส่ี าํ นกั งานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพ (องคก รมหาชน) กาํ หน 14) พฒั นาศักยภาพและขีดความสามารถของบุคลาก ใหตรงกับสายงานหรือความชํานาญเพ่ือใหส ามารถจัด การศกึ ษาและสงเสรมิ การเรียนรตู ลอดชีวิตอยางมี คุณภาพ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 1) พัฒนาหลักสตู ร กระบวนการเรียนรทู ปี่ ลูกจติ วทิ ย ศาสตรใ หก ับประชาชนผาน STEM Education สาํ หรับ ประชาชนอนั จะนําไปสกู ารใชความคิดวเิ คราะห ความค

ชว งระยะเวลาของแผน ระยะเรงดว น การดาํ เนินงานปกตติ ามแผน (กําหนดเปน 4 ระยะ) 2560-2561 2560-2564 2565-2569 2570-2574 2575-2579 ต √√√ ณะ √√ นด √ กร √ ย√ √ บ คดิ

ยุทธศาสตร แนวทางการพฒั นา สรางสรรค และการใชเหตุผลในการดําเนินชีวติ 2) สงเสรมิ การสรางสรรคค วามรใู หม ๆ ท้ังจากภมู ิ ปญ ญาทองถิ่นทม่ี อี ยเู ดมิ และความรดู า นนวัตกรรมตา ง 3) จัดกจิ กรรม สอื่ และนทิ รรศการที่มีชีวิตและกระต ความคิดสรางสรรค ในแหลง เรยี นรู 3. สงเสริมและพัฒนา 1) พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการศกึ ษา ระบบเทคโนโลยดี ิจิทัล การจัดการเรียนการสอน การจดั กระบวนการเรียนรูทม่ี เพอ่ื การศกึ ษาสําหรับ ความยืดหยุนหลากหลาย สามารถเขา ถึงไดโดยไมจ ํากดั คนทกุ ชว งวัย เวลาและสถานที่ 2) พฒั นาสถานวี ิทยโุ ทรทศั นเพอ่ื การศึกษา (ETV) ให เปน สถานวี ทิ ยุโทรทศั นเ พอื่ การศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3) สง เสรมิ ใหม ีการจดั ตั้งสถานีโทรทัศนสาธารณะแบ ดิจิทัลและการผลิตรายการเพื่อการศึกษา 4) พฒั นากระบวนการเผยแพร ICT เพื่อการศกึ ษาให รูปแบบท่ีหลากหลาย ทนั สมยั เปนปจจุบัน และสอดรับ กับความตองการของสงั คม 5) สง เสรมิ และสนับสนนุ ใหมีการวิจยั เพื่อพฒั นา รปู แบบ แนวทางในการใชเ ทคโนโลยีเพ่อื การศึกษาในก

ระยะเรงดว น ชว งระยะเวลาของแผน 2560-2561 การดาํ เนินงานปกติตามแผน (กาํ หนดเปน 4 ระยะ) 2560-2564 2565-2569 2570-2574 2575-2579 √√√√√ งๆ ตุน √ √ √ √ √ √√√√√ มี ด ห √ √ บบ √ √ หม ี √ √ √ √ √ บ √√√√√ การ

ยทุ ธศาสตร แนวทางการพฒั นา จดั และสง เสรมิ การจดั การศึกษา 6) ใหมีและบงั คบั ใชม าตรการทางกฎหมายเพื่อ สนบั สนุนใหเ กิดการใชเทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษาอยา งมี ประสิทธิภาพ 7) สง เสรมิ ใหมสี ือ่ ดจิ ิทัลเพื่อพฒั นาเศรษฐกิจชุมชนแ การสงเสริมการมีอาชีพเพ่ิมข้ึน 8) จัดและสนับสนุนสถานศึกษา แหลงการเรยี นรู กศ ตาํ บล ใหมีความพรอ มเกยี่ วกับโครงสรา งพ้ืนฐานดาน IC และเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษาอน่ื ทเ่ี หมาะสมกบั พ้ืนท่ี 9) พฒั นาระบบฐานขอมูลรายบคุ คลและสารสนเทศ ทางการศกึ ษาใหครอบคลมุ ถูกตอง เปน ปจ จุบนั และ เช่อื มโยงทกุ หนว ยงานท่เี กยี่ วขอ ง เพื่อการวางแผน การบรหิ ารจดั การ การตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผล 10) พฒั นาเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา ทัง้ โครงสรา ง พ้นื ฐาน อุปกรณ เนอื้ หา และวิชาการ เพอื่ ชวยในการ เรยี นรดู วยตนเองสาํ หรบั ประชาชน 4. พฒั นาระบบบรหิ าร 1) พฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การทเี่ นนการกระจา จัดการศกึ ษา และ อํานาจลงสพู น้ื ทภี่ าค การมีสวนรวมของทุกภาคสวน แล สง เสริมใหทุกภาคสวน มรี ะบบบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล

ระยะเรงดว น ชวงระยะเวลาของแผน 2560-2561 การดําเนินงานปกติตามแผน (กําหนดเปน 4 ระยะ) 2560-2564 2565-2569 2570-2574 2575-2579 √√ และ √ √ √ √ √ ศน. √ √ √ √ √ CT √√√√√ ล √ √ าย √ √ √ √ √ ละ

ยุทธศาสตร แนวทางการพัฒนา มีบทบาทและมี 2) กําหนดใหม ีมาตรการจูงใจทง้ั ดานภาษี และสิทธิ สวนรวมในการจัด ประโยชนตางๆ ใหกบั ภาคีเครือขายทีเ่ ขามารวมจัด การศึกษา การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 3) ผลกั ดนั ใหเกิดกองทุนเพ่ือการพฒั นาสาํ หรบั การศกึ ษานอกระบบ เพื่อเปนกลไกในการสรา งโอกาสท การศกึ ษา 4) สงเสรมิ สนบั สนุนใหท ุกภาคสว นเขา มามีสว นรว ม การเปนภาคีเครือขา ย และสรา งแรงจูงใจในรูปแบบตาง ใหภ าคีเครือขายรว มจัดและสง เสริมการจดั การเรยี นรใู น ชมุ ชนอยา งตอเน่ืองและยงั่ ยนื 5) สรางเครอื ขา ยความรว มมอื ดา นการศึกษากบั องค หรือหนว ยงานทง้ั ในและตางประเทศ โดยเนนการทํางา ในลักษณะบรู ณาการการวิจัยและพฒั นา 6) วเิ คราะห วิจยั ปรบั ปรงุ กฎ ระเบยี บตา งๆ ท่ี สอดคลองกับการพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยใหเอ้ือตอ การบริหารจดั การ 7) พัฒนาระบบสารสนเทศทางการศึกษา และ ฐานขอ มูลดานการศึกษาและดานอ่ืนท่ีเกย่ี วของใหมี มาตรฐานที่ครอบคลุม ถกู ตอง เปน ปจจุบนั และตรงกับ

ระยะเรงดว น ชว งระยะเวลาของแผน 2560-2561 การดาํ เนินงานปกติตามแผน (กําหนดเปน 4 ระยะ) √ 2560-2564 2565-2569 2570-2574 2575-2579 √ ทาง มใน √ √ √ √ √ งๆ น คกร √ √ √ √ √ าน √√ √√√√√ บ

ยทุ ธศาสตร แนวทางการพัฒนา ความตอ งการในการใชงานท่ีเชื่อมโยงกับหนวยงานท้ัง ภายในและภายนอกองคกรอยางเปน ระบบ 8) สง เสริมการสรางสภาพแวดลอ มของชุมชน ทองถิ่น สงั คมเพ่ือเออ้ื ตอการศกึ ษาและการเรยี นรู และสนับสน การสรางกลไกการขับเคลื่อนชมุ ชนไปสูส ังคมแหง การ เรยี นรู 9) วิเคราะหแ ละจัดทาํ แผนอัตรากําลังตามบทบาท หนาท่ี และภารกิจ ของหนว ยงานและสถานศึกษาใน สงั กดั โดยใชร ูปแบบการวิจยั เพื่อใหการเกลีย่ อัตรากําล บรรจุแตงตงั้ บุคลากรตามอตั รากาํ ลงั มคี วามเหมาะสม 10) พฒั นาบคุ ลากร กศน. ทุกระดับ ใหมคี วามรูและ ทกั ษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหต รงกับสายงานหรอื ความชาํ นาญ

ระยะเรงดว น ชว งระยะเวลาของแผน 2560-2561 การดาํ เนินงานปกติตามแผน (กําหนดเปน 4 ระยะ) 2560-2564 2565-2569 2570-2574 2575-2579 น√ √ นนุ √√ ลัง/ ะ√ √ √ √ √

บทที่ 5 แนวทางการขบั เคลอ่ื นแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2560 - 2579 สูการปฏบิ ตั ิ การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560 – 2579 ไปสูการปฏิบัติ จะตองมีความเช่ืองโยงระหวางแผนในแตละระดับ มีระบบและกลไกการขับเคล่ือนท่ีชัดเจนและการติดตาม ประเมนิ ผลแผนพฒั นาอยา งตอ เนอ่ื งเพือ่ ใหบ รรลุเปาหมายและเปน ไปตามวิสยั ทัศนข องแผน ดงั น้ี 5.1 ความเชอ่ื มโยงระหวา งแผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2560 - 2579 กับแผนระดับตางๆ ทีเ่ กีย่ วของสูก ารปฏบิ ตั ิ - ดผู งั ความเชื่อมโยงทหี่ นา 60- 5.2 ระบบและกลไกเพอ่ื การขบั เคล่ือนแผนสูการปฏิบตั ิ 1) สรางเครือขายความรวมมือกับหนวยงาน สถานศึกษาทุกระดับในสังกัดสํานักงาน กศน. ในการดําเนินการแปลงเปาหมาย ยุทธศาสตร กลยุทธ ตามแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560– 2579 ไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม โดยกําหนดโครงการ กิจกรรม ที่จะนําไปสู ผลสาํ เรจ็ ตามเปาหมายอยางชัดเจน 2) คณะกรรมการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และผูบริหาร กศน. ตองใหความสาํ คัญและใชแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560 - 2579 เปนกรอบ ในการดาํ เนนิ งานและบรหิ ารงานของหนว ยงาน 3) ใชระบบการทํางานในรูปแบบกลุมสํานักงาน กศน.จังหวัด กลุมศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือ การศึกษา และกลุมศูนยฝ กอาชีพชมุ ชนเปน กลไกการขับเคล่ือนแผนไปสกู ารปฏิบัตใิ นพืน้ ท่อี ยางเปนรปู ธรรม 4) ดําเนินการช้ีแจง ประชาสัมพันธ สรางความรู และความเขาใจสาระสําคัญแผนพัฒนา การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2560 - 2579 ใหบ ุคลากรทกุ ระดับไดทราบอยางชดั เจนเพื่อ การมสี ว นรว มและสนบั สนุนใหการดาํ เนินงานเปนไปอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 5) สงเสริมการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษา ระดับหนวยงาน สถานศึกษา รวมทั้งแผนปฏิบัติการ ในพื้นที่ที่มีความสอดคลองกับบรบิ ทและความตองการของชุมชนในพ้ืนท่ี และสงเสริมสนับสนุนใหมีการบริหาร แผนและนําแผนสูการปฏิบัติในลักษณะท่ีเปนองครวมท่ีเนนคนเปนศูนยกลางภายใตการมีสวนรวมขององคกรท่ี เกย่ี วขอ ง รวมทง้ั สงเสรมิ ใหเกิดการประสานและการทาํ งานในแนวราบของหนวยงาน 6) พัฒนาศักยภาพของบุคลากรใหมีความรู ความสามารถในการปฏิบัติงานดวยเทคนิควิธีการ ใหมๆ อยางตอเนอ่ื ง รวมทัง้ สรางขวญั และกาํ ลังใจดวยการยกยองชมเชยใหร างวลั แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พ.ศ.2560-2579 ของ สํานกั งาน กศน. 57

7) ใหหนวยงานสวนกลางสนับสนุนทรัพยากรอยางเพียงพอตอการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนา การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560 - 2579 ในระดับพนื้ ที่ เพอ่ื สะทอนการดําเนินงานตามแผน 8) ประชาสัมพันธและสรางความเขาใจใหทุกภาคสวนของสังคมที่เกี่ยวของเห็นความสําคัญ และมสี วนรวมในการนําแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560 - 2579 ไปสูการปฏบิ ัติ 5.3 การติดตามประเมินผลการขับเคล่อื นแผนพฒั นาการศึกษาฯ ไปสูก ารปฏบิ ตั ิ ก าร ติ ด ต าม แ ล ะ ป ระ เมิ น ผ ล แ ผ น พั ฒ น า ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ ก าร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย พ.ศ. 2560 - 2579 ไปสูการปฏบิ ัติ มแี นวทางและกระบวนการสาํ คัญ ดังนี้ 1) ใหความสําคัญกับการติดตามความกาวหนา การประเมินผลความสําเร็จและผลกระทบ การดําเนินงานอยางตอเนื่อง โดยพัฒนาระบบและกลไกการกํากบั ติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ แผน ตั้งแตการ สง เสรมิ การจัดทําฐานขอมูลทกุ ระดับท่จี ําเปน ตอ งใช โดยใหเ กดิ ความเช่ือมโยงเครือขา ยขอ มูลรว มกัน รวมท้งั ตอ ง พฒั นาตวั ชี้วัดผลสําเร็จของการดาํ เนินงานตามแผน ทั้งผลลัพธในเชงิ ปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนจัดระบบกํากับ ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานใหเปนมาตรฐานเดียวกัน และสามารถนําผลจากการกํากับ ติดตาม มาใชเปนแนวทางในการปรับปรุง หรือปรับเปลี่ยนวิธีการดําเนินงานท่ีสอดคลองกับปญหาท่ีเกิดขึ้นใน กระบวนการนาํ แผนไปปฏิบัติจริง 2) ตองมีการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย พ.ศ. 2560 - 2579 วาผลการดําเนินงานในชวงระยะ 5 ปแรก พ.ศ. 2560 -2564 วาบรรลุเปาหมาย และตัวชี้วัดท่ีกําหนดไวมากนอยเพียงใด เพ่ือนําไปทบทวนยุทธศาสตร และปรับปรุงกลยุทธท่ีจะใชในชวง พ.ศ. 2565 – 2579 ตอไป 3) เสริมสรางกลไกการตรวจสอบของภาคประชาชนใหเขมแข็ง โดยสนับสนนุ ใหภาคประชาชน รวมกลมุ ติดตามความกาวหนา ตรวจสอบความโปรงใสและความสําเร็จของของโครงการพัฒนาตางๆ ท่ีเกี่ยวของ กบั ชมุ ชนของตน รวมทั้งพัฒนาศกั ยภาพใหมีทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการตรวจสอบโครงการตา งๆ ไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ และจดั ทําขอ มูลที่เพือ่ ใชใ นการตรวจสอบไดอ ยางถูกตองชดั เจน 5.4 ปจจยั และเง่ือนไขความสาํ เร็จ การดําเนินการตามวัตถุประสงค เปาหมายของแตละยุทธศาสตรตามที่กําหนดไวในแผนพัฒนา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจะประสบผลสําเรจ็ ไดตามทรี่ ะบไุ วใ นแตล ะยุทธศาสตรและกลยุทธ ไดหนวยงานท้ังระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ ท้ังในสวนกลาง สวนภูมิภาค หนวยงานและสถานศึกษาตอง ยึดถือเปนแนวทางในการดําเนินงาน และมีการทบทวน ปรับปรุงมาตรการ เปาหมายความสําเร็จใหทันตอ การเปลย่ี นแปลงท่เี กิดขึน้ ในแตล ะพืน้ ที่ เพอ่ื การพฒั นาศักยภาพประชาชนในทุกชวงวัย ซงึ่ ตองดําเนินการ ดงั น้ี แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2560-2579 ของ สํานักงาน กศน. 58

1) การสรางการรับรู ความเขาใจ และการยอมรบั จากผมู ีสวนไดสว นเสียและประชาสงั คมในการ สงเสริม สนับสนุนการพัฒนาการศึกษาในลักษณะตางๆ อยางกวางขวาง มุงเนนที่การจัดระบบการศึกษาที่มี ประสิทธิภาพ โปรง ใส ตรวจสอบได และมุง เนน การพฒั นาคณุ ภาพของผูเรียนในทุกระดบั 2) การสรางความเขาใจในเปาหมายและยทุ ธศาสตรก ารดาํ เนินงานของแผนพัฒนาการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของผูปฏิบัติทุกหนวยงาน ทุกระดับ เพ่ือใหการขับเคลื่อนแผนไปสูการปฏิบัติ มีการบริหารจัดการและการเชื่อมโยงยุทธศาสตรและกลยุทธใหบรรลุเปาหมายและวิสัยทัศนของแผน มีคณะกรรมการหรือหนวยงานที่รับผิดชอบในการกํากับดูแลใหเกิดการนําไปปฏิบัติ โดยมีระบบงบประมาณเปน กลไกสนบั สนนุ ใหบรรลผุ ลอยางเปน รูปธรรม 3) มุงการจัดการศึกษาโดยทุกภาคสวนของสังคม เพ่ือความเทาเทียมและท่ัวถึง (Inclusive Education) ตลอดจนการสง เสริมการเรยี นรูต ลอดชีวิตสาํ หรับทกุ คน 4) การจัดใหแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเปนกรอบแนวทางใน การกําหนดแผนปฏิบัติการ และการจัดสรรงบประมาณดานการจัดการศึกษาของหนวยงาน โดยใหยึดเปาหมาย ตัวชวี้ ัด ยุทธศาสตร และกลยุทธทก่ี าํ หนดไวในแผนเปนหลกั ในการพิจารณา เพื่อใหการดาํ เนินงานเปน ไปในทิศทาง เดยี วกนั และบรรลุผลตามเปาหมายและตวั ชีว้ ดั ในชว งเวลาทีก่ ําหนด 5) การปรับระบบการบริหารจัดการใหเกิดประสิทธิภาพ โดยปรับระบบการบริหารจัดการใหมี ความชัดเจนในดา นบทบาทหนาที่ของหนวยงาน การกระจายอํานาจและการตดั สินใจจากสว นกลางสูระดับภูมิภาค และสถานศึกษา รวมทั้งการบริหารงานบุคคลในแตล ะระดับใหสงเสริม สนับสนนุ การจัดการศกึ ษาในสถานศึกษา ใหเ ปน ไปอยางมีคณุ ภาพ ผเู รียนไดรบั บรกิ ารการศกึ ษาและการเรียนรูท ีม่ มี าตรฐานอยา งเสมอภาคและเทาเทยี ม 6) การสรางระบบขอมูลและสารสนเทศท่ีบูรณาการและเชื่อมโยงกับระบบแผนปฏิบัติการ ระบบ การจัดสรรและการเบิกจายงบประมาณ และการกํากับ ติดตาม และรายงานผลการดําเนินงานเพื่อการปรับปรุง ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การ แผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั พ.ศ.2560-2579 ของ สํานกั งาน กศน. 59





บรรณานุกรม . (2561). รางยทุ ธศาสตรช าติ (ฉบบั เสนอสภานิตบิ ัญญตั ิแหง ชาติ) (อัดสาํ เนา) . (2560).แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564). สาํ นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา.(2560).แผนพฒั นาการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ.2560-2579 (ออนไลน). แหลงท่มี า: http://www.lampang.go.th/public60/EducationPlan2.pdf (พฤศจิกายน 2560) . (2559). สถติ ิการศึกษาของประเทศไทย ปการศึกษา 2558. กรงุ เทพมหานคร: สํานักงานเลขาธิการ สภาการศกึ ษา. (อัดสาํ เนา) สํานกั งาน กศน.(2557).รายงานการติดตามและประเมนิ ผลประจําป 2557 ของ สาํ นักงาน กศน. (คัดสาํ เนา) สํานักงาน กศน.(2558).รายงานการตดิ ตามและประเมนิ ผลประจาํ ป 2557 ของ สาํ นกั งาน กศน. (คัดสําเนา) สาํ นักงาน กศน.(2559).รายงานการติดตามและประเมนิ ผลประจําป 2557 ของ สาํ นกั งาน กศน. (คัดสาํ เนา) สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ.(2560).แผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) (ออนไลน) แหลงท่มี า :http://www.moe.go.th/moe/th/news/ detail.php?NewsID=47194&Key= . (2560).รายงานวิเคราะหการจัดสรรงบประมาณจังหวัดและกลุม จงั หวัดประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 . สาํ นกั การพิมพ : สํานักงานเลขาธิการสภาผแู ทนราษฎร. . (2560) MOOC Education (ออนไลน) แหลง ที่มา : https://pitchayasudablog.wordpress.com /2016/03/02 . (2015) Definition Massive Open Online Courses (MOOCs) (Online). Available from : https://www.openuped.eu/images/docs/Definition_Massive_Open_Online_Courses.pdf . (2017) Thai MOOC: การศึกษาแบบเปดเพ่ือการเรียนรูตลอดชวี ติ (ออนไลน) แหลง ท่ีมา : http://web.sut.ac.th/hednet-nel/wp/wp-content/uploads/2016/02Thai-MOOC-2.pdf

คณะผูจ ดั ทาํ ทปี่ รกึ ษา เลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. นายกฤตชยั อรุณรตั น รองเลขาธิการ กศน. นางสาวโสมอษุ า เลี้ยงถนอม รองเลขาธิการ กศน. นางสาววิเลขา ลีสุวรรณ นางสาวประดินนั ท สดวี งศ ผูอาํ นวยการกลมุ แผนงาน นักวเิ คราะหนโยบายและแผนชาํ นาญการ ผูเรียบเรียงและจดั ทําตน ฉบับ นางสาวอภิรดี กันเดช นางสาวดนนู ุชยา ภมู ิรตั นไพศาล บรรณาธิการ ผอู ํานวยการกลุมแผนงาน นางสาวอภิรดี กันเดช นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการพเิ ศษ นกั วิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ นางสุนีย เพชรสมั ฤทธิ์ นายยอดชาย ทองธรี ะ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ นางสาวดนนู ุชยา ภมู ริ ตั นไพศาล ผูตรวจตน ฉบบั และจัดจางพมิ พ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชาํ นาญการ นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบตั ิการ นางสาวสุกญั ญา พรมตนุ นางสาวพนิตา จาํ จด นกั วิเคราะหนโยบายและแผน นางสาววณิชชา โพธิ์โสต หนวยงานรับผดิ ชอบ กลมุ งานพัฒนานโยบายและแผนงาน กลมุ แผนงาน สํานกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook