ประจำเดือน มีนำคม 2563
คำนำ รายงานทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ อาเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลาภู ฉบับน้ี จัดทา ข้ึนเพ่ือรวบรวมข้อมูลแหล่งเรียนรู้ เช่น แหล่งเรียนรู้ทางโบราณคดี แหล่งเรียนรู้ทาง โบราณวัตถุ แหล่งศึกษาทางธรรมชาติ แหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร แหล่งเรียนรู้ภูมิ ปัญญาท้องถิ่นภายในเขตอาเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลาภู เพ่ือเป็นแหล่งรวมของ องค์ความรู้อันหลากหลายพร้อมที่จะให้ผู้สนใจเข้าไปศึกษาค้นคว้า ด้วยกระบวนการ จดั การเรียนรู้ที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล และเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นแหล่งเชอ่ื มโยงให้สถานศึกษาและชมุ ชนมคี วามสมั พนั ธใ์ กล้ชดิ กนั การจัดทาข้อมูลแหล่งเรียนรู้ อาเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลาภู ครั้งน้ี ได้รับ ความร่วมมืออย่างดียิ่งจากชุมชน จึงขอขอบคุณอย่างสูงไว้ ณ โอกาสน้ี และหวังเป็น อย่างย่ิงว่าสารสนเทศท่ีได้จากการจัดทาข้อมูลแหล่งเรียนรู้ อาเภอโนนสัง จังหวัด หนองบัวลาภู จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ขยายผลและพัฒนาการดาเนนิ งานทีถ่ ูกต้องเพื่อใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลใน การดาเนินงานยิง่ ขนึ้ ต่อไป คณะผู้จดั ทา
สำรบัญ หน้ำ 1 1 2 3 แหลง่ เรียนรู้ตำบลโนนสงั 4-5 เกษตรกรรม ศนู ยก์ ารเรยี นร้โู ป่งสุทธิ 6 7 แหลง่ เรยี นรูต้ ำบลนิคมพัฒนำ 8 แหล่งโบราณคดี แหล่งเรียนร้ทู างโบราณคดี 9 10 แหล่งเรยี นรูต้ ำบลโคกใหญ่ 11-12 แหลง่ เรยี นรโู้ บราณคดี 13 ศูนย์การเรียนรูบ้ ้านโคกนอ้ ย 14 15 แหลง่ เรียนรตู้ ำบลบ้ำนถ่ิน 16 แหล่งเรยี นร้โู บราณคดี 17 กลุ่มทอผ้าบ้านโสกกา้ นเหลอื ง 18 19 แหล่งเรยี นรู้ตำบลหนองเรือ 20 แหล่งเรียนรูท้ างธรรมชาติ 21 22 แหลง่ เรยี นรู้ตำบลปำงกู่ 23 วัดพระธาตุปางกู่ 24 25 แหล่งเรยี นรู้ตำบลกดุ ดู่ 26 พิพธิ ภณั ฑโ์ นนพร้าว 27-28 วัดศรีสว่าง 29 วดั ปา่ ศรีสมบรู ณ์ 30-31 แหลง่ เรยี นรตู้ ำบลบ้ำนค้อ อทุ ยานแหง่ ชาติภูเกา้ -ภพู านคา จดุ ชมววิ ช่องเขาขาด แหล่งเรยี นรตู้ ำบลโคกม่วง เขอ่ื นลาห้วยบอง พพิ ิธภัณฑ์ซากดึกดาบรรพภ์ ูเก้า เสาหนิ หามต่าง แหล่งเรยี นรู้ตำบลโนนเมือง แหล่งเรียนรูโ้ บราณคดี
ประวัตแิ ละผลงำนครภู ูมปิ ญั ญำท้องถ่นิ ตำบลโนนสงั อำเภอโนนสงั จังหวัดหนองบวั ลำภู ด้ำน เกษตรกรรม สำขำ ศูนยก์ ารเรียนรโู้ ป่งสุทธิ นายสารวย สร้างแก้ว
ศูนย์การเรียนรู้โป่ งสุทธิ ศนู ย์การเรียนรู้โป่ งสทุ ธิ เป็นศนู ย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอพียง ของกองสวัสดิการเทศบาล ตาบลโนนสงั โดยภายในศนู ย์การเรียนรู้โป่งสทุ ธิ มีการจดั อบรมให้ความรู้และการศึกษาการแปลง สาธิต เก่ียวกบั เศรษฐกิจพอเพียง เช่น การปลกู ผกั การเพาะพนั ธ์และขยายพนั ธ์ุพืช การเลีย้ งปลา และการให้ความรู้เก่ียวกบั เกษตร เป็นต้น ลกั ษณะเดน่ แหลง่ เรียนรู้ทางการเกษตร สถานท่ีตงั้ ณ บ้านโคกกลาง ตาบลโนนสงั อาเภอโนนสงั จงั หวดั หนองบวั ลาภู
ประวตั ิและผลงำนครูภมู ิปญั ญำทอ้ งถน่ิ ตำบลนคิ มพฒั นำ อำเภอโนนสังจงั หวดั หนองบัวลำภู ดำ้ น แหล่งโบรำณคดี สำขำ แหลง่ เรยี นรู้ทำงโบรำณคดี วดั พระบาทภูเก้า
วัดพระบาทภูเก้า วดั พระบาทภเู ก้า เป็นแหล่งโบราณคดี โดยมีลกั ษณะเป็นวดั เก่าแก่ซึ่งมีรอยพระ พุทธบาทประดิษฐ์สถานอยู่ 1 รอบ วัดพระพุทธบาทภูเก้า เป็นวัดเก่าแก่ ตัง้ อยู่ในเขตภูเก้า ภายในวดั ยงั มีรอยเท้ามนษุ ย์และสุนขั ขนาดใหญ่สลกั อย่บู นหิน อนั เกี่ยวโยงกับนิทานพืน้ บ้าน เร่ือง “พระสพุ รหมวิโมขา หมาเก้าหาง” ภายในวดั พระพทุ ธบาทภเู ก้ายงั มีถา้ มมึ ้ และถา้ อาจารย์ สิมหรือถา้ หลวงป่ สู ิม มีภาพเขียนสีและภาพสลกั ตามผนงั เป็นถา้ สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ ท่ีเป็น แหล่งโบราณคดีท่ีสาคญั ของจงั หวดั ตลอดจนมีจดุ ชมวิวที่สวยงามด้วย ลกั ษณะเด่น แหล่งโบราณคดี สถานที่ตัง้ หมู่ 10บ้านดงบาก ตาบลนิคมพัฒนา อาเภอโนนสัง จังหวัด หนองบวั ลาภู
บ้านดงบาก ตาบลนิคมพัฒนา อาเภอโนนสงั วัดพระบาทภูเกา้ แผนท่ีแหล่งเรียนรู้ตำบลนิคมพฒั นำ (วดั พระบำทภเู กำ้ )
ประวัตแิ ละผลงำนครูภูมิปญั ญำทอ้ งถน่ิ ตำบลโคกใหญ่ อำเภอโนนสังจังหวัดหนองบัวลำภู ด้ำน แหล่งโบรำณคดี สำขำ แหลง่ เรียนรูโ้ บรำณคดี วัดปา่ บา้ นโคกใหญ่
วัดปำ่ บ้ำนโคกใหญ่ วัดปา่ บา้ นโคกใหญ่ เป็นสถานทป่ี ระกอบพธิ ีกรรมทางศาสนาในตาบล โคกใหญ่ สถานทตี่ งั้ หมู่ 1 ตาบลโคกใหญ่ อาเภอโนนสัง จงั หวดั หนองบวั ลาภู
ประวตั แิ ละผลงำนครูภมู ิปัญญำทอ้ งถน่ิ ตำบลโคกน้อย อำเภอโนนสังจังหวัดหนองบวั ลำภู ด้ำน ภมู ิปญํ ญำทอ้ งถิ่น สำขำ ภมู ิปัญญำทอ้ งถ่นิ ปลำแปรรูป นางสภุ าพร พมิ พฒุ
ตำบลโคกน้อย กลมุ่ ปลาแปรรูปบา้ นโนนปอแดง เป็นกลุม่ วิสาหกิจชุมชนส้มปลาหน้ากระเทียมบ้าน โนนปอแดง เป็นหนึ่งหมู่บ้านท่ีมีกลุ่มแปรรูปปลา บ้านโนนปอแดง เป็นชุมชนท่ีต้ังอยู่ตาม แนวเขอ่ื นอบุ ลรัตน์ ในฤดนู ้าหลากชาวบา้ นจะทาการประมงจับปลาได้เป็นจานวนมาก และ ไดน้ าปลามาปรุงเป็นอาหาร แตก่ ็ยังบรโิ ภคไมห่ มด จงึ หาวธิ ีการ ที่จะถนอมอาหารให้เก็บได้ นาน โดยการแปรรูปปลาเป็นปลา เช่น ปลารา้ ปลาส้มตัว ปลาส้มก่อน ส้มไขป่ ลา หม่าปลา ปลาแดดเดยี ว เปน็ ต้น ลักษณะเดน่ แหล่งเรยี นรู้ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ สถานท่ีต้ัง หมู่ที่ 4 บ้านโนนปอแดง ตาบลโคกใหญ่ อาเภอโนนสัง จังหวดั หนองบัวลาภู
ประวตั แิ ละผลงำนครูภูมิปัญญำท้องถน่ิ ตำบลบำ้ นถ่ิน อำเภอโนนสงั จงั หวัดหนองบัวลำภู ดำ้ น แหลง่ โบรำณคดี สำขำ แหลง่ เรยี นร้โู บรำณคดี วดั ศรปี ทุม
วัดศรีประทมุ วดั ศรีประทมุ เป็นสถานท่ีประกอบพธิ ีกรรมทางศาสนาในตาบลบ้านถ่ิน สถานท่ีตงั้ หมู่ 6 บ้านโนนสงู ตาบลบ้านถ่ิน อาเภอโนนสงั จงั หวดั หนองบวั ลาภู
ประวัตแิ ละผลงำนครูภมู ิปัญญำทอ้ งถน่ิ ตำบลบ้ำนถิน่ อำเภอโนนสงั จังหวดั หนองบัวลำภู ดำ้ น ภูมิปญํ ญำท้องถ่ิน สำขำ ภูมปิ ัญญำทอ้ งถ่นิ ทอผ้ำพื้นเมือง นางสุภิญญา ดอนช่างลนุ
กลมุ่ ทอผำ้ บำ้ นโสกกำ้ นเหลือง กลุ่มทอผ้าบ้านโสกก้านเหลือง เป็นกลุ่มทอผ้าพ้ืนเมือง ซ่ึงความงดงาม และความเป็นเอกลกั ษณ์เชน่ ผ้ามัดหมี่ คือ รอยสที คี่ อ่ ย ๆ ซึมในเนื้อผ้าทตี่ ิดกับลวดลาย ทาให้ ได้ลวดลายที่แปลกตา เพ่ิมความงดงามและความมีเสน่ห์ให้แก่ผ้ามัดหม่ี ในสมัยก่อนจะทอกัน ในช่วงเวลาท่ีว่างเว้นจากฤดูทานา ผ้าท่ีนามาทอจะเป็นผ้าซิ่นลายมัดหมี่ ผ้าขาวม้า และเครื่องนุ่งห่ม เพ่ือใช้ในครัวเรือน จากภูมิปัญญาชาวบ้านที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ กลุ่มสตรี บ้านโสกกา้ นเหลอื ง หมู่ 5 ตาบลบ้านถ่นิ จงึ ไดร้ วมตัวกนั ตง้ั เป็นกลุม่ อาชีพ ชอื่ กลุ่มอาชีพทอผ้า พื้นบ้าน ได้ดาเนินการกิจกรรมด้านการทอผ้าฝ้ายมัดหมี่เป็นหลัก ปัจจุบัน โดยกลุ่มอาชีพได้ คิดค้นลวดลายใหม่ และดัดแปลงลวดลายเดิมให้มีความแปลกใหม่ เพ่ิมสีสันให้สวยงาม หลากหลายรูปแบบ เช่น ลายแมงปอ ลายผีเสื้อประยุกต์ ลายคอกม้า ลายก้นหอย ลายเต่า นอ้ ย ลายต้นสน ฯลฯ ลักษณะเด่น แหลง่ เรยี นรู้ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ สถานท่ีตง้ั 223 หมู่ 5 บ้านโสกก้านเหลอื ง ตาบลบา้ นถนิ่ อาเภอโนนสัง จงั หวัดหนองบวั ลาภู
ประวัตแิ ละผลงำนครูภูมปิ ญั ญำทอ้ งถ่ิน ตำบลหนองเรอื อำเภอโนนสงั จงั หวดั หนองบวั ลำภู ดำ้ น แหล่งเรยี นรทู้ ำงธรรมชำติ สำขำ แหล่งเรียนรูท้ ำงธรรมชำติ ผาด่าง
ผาด่าง ผาด่าง เปน็ แหล่งเรยี นรทู้ างธรรมชาติ ตงั้ อยบู่ ริเวณเทอื กเขาภูเก้า มองเห็นทิวทัศน์ของ ที่ราบอาเภอโนนสงั บริเวณนมี้ กี อ้ นหินขนาดใหญ่ตัง้ อยูร่ ิมหนา้ ผา ลักษณะเด่น แหล่งเรียนรทู้ างธรรมชาติ สถานท่ีต้ัง หมู่ 6 บ้านหนองกุงจารย์ผาง ตาบลโนนสัง อาเภอโนนสัง จังหวัด หนองบวั ลาภู
ประวตั ิและผลงำนครภู ูมิปัญญำทอ้ งถิน่ ตำบลปำงกู่ อำเภอโนนสังจังหวดั หนองบวั ลำภู ด้ำน แหล่งโบรำณสถำน สำขำ แหลง่ เรยี นร้วู ัดพระธำตปุ ำงกู่ วดั พระธาตุปางกู่
วดั พระธำตปุ ำงกู่ วัดพระธาตุปางกู่ เป็นแหล่งโบราณสถาน ท่ีเป็นองค์พระธาตุท่ี สร้างด้วยหินศิลาแลง พระธาตุปรางค์กู่ เป็นลักษณะโบราณสถานศิลาแลงมี ลักษณะผุพังในส่วนบน เป็นซากโบราณสถาน มีเนื้อที่ 4 ไร่ 1งาน 59 ตารางวา จดทะเบียนเป็นโบราณสถาน โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันท่ี 26 ธันวาคม 2545 โดยใช้ช่ือในการข้ึนทะเบียนว่า “วัดป่าพระธาตุกู่” มีความศักดิ์สิทธ์ิ และเป็นท่ียึดเหนี่ยวจิตใจของชาวบ้านในตาบลปางกู่ และใกล้เคียง กลางเดือนเมษายนของทุกปีจะมีการบวงสรวงไหว้พระธาตุ และมีกิจกรรมรดนา้ ผูส้ งู อายุ ลกั ษณะเดน่ แหลง่ โบราณสถาน สถานท่ีต้ัง หมู่ 1บ้านดอนกู่ ตาบลปางกู่ อาเภอโนนสัง จงั หวัดหนองบวั ลาภู
ประวตั แิ ละผลงำนครูภูมิปญั ญำท้องถิ่น ตำบลกุดดู่ อำเภอโนนสังจังหวัดหนองบวั ลำภู ดำ้ น พิพธิ ภัณฑ์ สำขำ แหลง่ เรียนรู้โบรำณคดี พิพธิ ภัณฑ์โนนพรา้ ว
พิพิธภัณฑ์โนนพร้ำว พพิ ิธภณั ฑโ์ นนพรา้ ว เป็นแหลง่ โบราณคดี ตง้ั อยู่ท่บี ้านกุดคอเมย ตาบล กุดคู่ อาเภอโนนสัง มีการสารวจเม่ือปี พ.ศ.๒๕๒๔ และทาการขุดค้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ลกั ษณะโบราณสถาน มีลักษณะเป็นเนินดิน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑๕๐ เมตร สูงประมาณ ๒ เมตร จากพื้นที่โดยรอบ พบหลักฐานต่อเน่ืองตั้งแต่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยทวารวดี และสมัยล้านช้าง และจากการศึกษา เปรียบเทียบโบราณวัตถุกับโบราณคดีใกล้เคียง สามารถกาหนดอายุได้ประมาณ ๒,๕๐๐ ปี มาแล้ว และโบราณวัตถุวัฒนธรรมล้านช้าง มีอายุอยู่ประมาณพุทธ ศตวรรษท่ี ๒๓ – ๒๔ สถานท่ีตั้ง หมู่ 4บ้านกุดคอเมย ตาบลกุดดู่ อาเภอโนนสัง จังหวัดหนองบวั ลาภู
วดั ศรสี ว่ำง วดั ศรสี ว่าง เป็นสถานท่ีประกอบพธิ ีกรรมทางศาสนาในตาบลกุดดู่ และ มีพิพิธภัณฑ์แหล่งเรียนวัตถุโบราณ โดยภายในพิพิธภัณฑ์มีการจัดแสดงวัตถุโบราณ เคร่ืองใช้ของคนในยุคก่อน เช่น ตะเกียง ไห หม้อ กระด้ง อุปกรณ์ที่ใช้ในการทอผ้า เครอ่ื งมือทามาหากิน เปน็ ตน้ ลักษณะเดน่ แหลง่ เรียนรู้โบราณวัตถุ สถานทต่ี ั้ง หมู่ 1บา้ นศรสี วา่ ง ตาบลกุดดู่ อาเภอโนนสัง จังหวดั หนองบัวลาภู
วัดปำ่ ศรสี มบรู ณ์ วัดป่าศรีสมบูรณ์ เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนาในตาบลกุดดู่ และมพี พิ ิธภณั ฑแ์ หล่งเรยี นร้วู ัตถุโบราณ โดย ภายในพิพธิ ภัณฑ์มกี ารจดั แสดงพระพทุ ธรปู โบราณ เป็นตน้ ลักษณะเดน่ แหล่งเรยี นรูโ้ บราณวตั ถุ สถานท่ีต้ัง หมู่ 11บ้านศรีสมบูรณ์ ตาบลกุดดู่ อาเภอโนนสงั จังหวดั หนองบัวลาภู
ประวตั แิ ละผลงำนครภู มู ปิ ัญญำทอ้ งถ่ิน ตำบลบ้ำนคอ้ อำเภอโนนสงั จังหวัดหนองบัวลำภู ดำ้ น อทุ ยำนแหง่ ชำติ สำขำ อทุ ยำนแหง่ ชำตภิ ูเก้ำ-ภูพำน อุทยานแหง่ ชาติภเู ก้า-ภูพาน
อทุ ยำนแหง่ ชำติภูเก้ำ-ภูพำนคำ อุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคา เป็นแหล่งธรณีสัณฐานประเภทภูเขา ซ่ึง ครอบคลุมพ้ืนท่ีอาเภออุบลรัตน์อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น และอาเภอโนนสัง จังหวัด หนองบวั ลาภู ที่ทาการอุทยานอย่บู ริเวณริมทะเลสาบเหนือเขื่อนอุบลรัตน์ อุทยานแห่งชาติ ภูเก้า-ภูพานคามีเนื้อที่ประมาณ 322 ตารางกิโลเมตร ภูพานคา เป็นเทือกเขาหินทราย เป็นส่วนหน่งึ ของเทอื กเขาภพู าน อยู่บริเวณด้านทิศตะวันออกของลาํน้าพอง ริมอ่างเก็บํน้า เขื่อนอุบลรัตน์ ส่วนภูเก้าอยู่บริเวณด้านทิศเหนือประกอบด้วยภูเขา หินทรายหลายลูก มี แหล่งธรรมชาติท่ีสาคัญ เช่น รอยเท้านายพราน รอยตีนหมา เสาหินหามต่าง และํน้าตก ตาดฟ้า ธรณีวิทยาบริเวณภูเก้า-ภูพานคาเป็นหินทรายสีขาว สีอ่อน หินทรายแปงสีแดง และหินอัคนีมรี อยชนั้ ขวาง มีหนิ ดนิ ดานและหนิ กรวดมนแทรกสลับ อยู่ใน หน่วยหิน ภูพาน ชดุ โคราช อายุชว่ งล่างและชว่ งกลางครีเทเซียส หรือประมาณ 144-97 ลา้ นปี
บริเวณภูเก้าและภูพานคาอยู่ในบริเวณที่เป็นหินทรายชุดโคราช ซึ่งสามารถเพ่ิมเติมความรู้ ด้านธรณีวิทยาของหินทราย เช่น การแสดงช้ัน การวางช้ันเฉียงระดับ กระบวนการทาง ธรณีวิทยาจากํนา้ และลมท่ีทาให้ได้ลักษณะธรณีสัณฐานที่แปลกตาให้แก่นักท่องเที่ยวท่ัวไป ได้ทราบในรูปแบบของเอกสารเผยแพร่และปา้ ยแหลง่ เรยี นรูท้ างธรณวี ิทยา ลักษณะเดน่ แหลง่ เรียนรู้ทางธรรมชาติ สถานทตี่ งั้ หมู่ 6 บา้ นทา่ ศิลา ตาบลบ้านค้อ อาเภอโนนสงั จังหวดั หนองบวั ลาภู
จุดชมววิ ชอ่ งเขำขำด จุดชมวิวช่องเขาขาด บริเวณน้ีเป็นจุดท่ีสามารถมองเห็น ทิวทัศน์ที่สวยงามของเขื่อนอุบลรัตน์ เน่ืองจากเป็นมุมสูงอยู่ช่วงสันเขาภู พานคา ทาให้เห็นทัศนีภาพมุมกว้าง ซ่ึงเป็นจุดแบ่งเขตระหว่างอาเภอ อุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น และอาเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลาภู บริเวณน้ีจะเหมาะในการชมพระอาทิตย์ตก และยังสามารถมองเห็นสันภู เก้าได้อย่างชัดเจน อยู่ทางทิศใต้ของอุทยานแห่งชาติภูเก้า - ภูพานคา ระยะทางประมาณ 700 เมตร สถานท่ีตั้ง หมู่ 6 บ้านท่าศิลา ตาบลบ้านค้อ อาเภอโนนสัง จงั หวัดหนองบวั ลาภู
ประวัตแิ ละผลงำนครภู มู ิปญั ญำท้องถนิ่ ตำบลโคกม่วง อำเภอโนนสังจงั หวัดหนองบัวลำภู ดำ้ น เข่อื นเก็บนำ้ บอง สำขำ แหล่งเก็บนำ้ ในโครงกำรอ่ำงเกบ็ นำ้ หว้ ยน้ำบอง เข่ือนเก็บนา้ ห้วยน้าบอง
เข่ือนลำห้วยบอง เขื่อนลาห้วยบอง เป็นแหล่งเรียนรู้โครงการด้านการพัฒนาแหล่งน้า ใน โครงการอา่ งเกบ็ นา้ นา้ บองอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ อาเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลาภู เป็นอ่างเก็บน้าประเภทเข่ือนดิน ขนาดความจุอ่างเก็บน้าสูงสุด 29 ล้านลูกบาศก์เมตร นอกจากน้ี ยังเป็นแหล่งเพาะเลี้ยงและขยายพันธ์ุสัตว์น้า ทาให้ราษฎรมีอาชีพเสริม และมี รายได้เพ่ิมข้ึน ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ดีขึ้น มีน้าที่สร้างความชุ่มช้ืนและมี ระดบั นา้ ใตด้ ินเพ่ิมข้นึ ซึง่ จะทาใหร้ ะบบนเิ วศนม์ ีความอดุ มสมบูรณ์มากย่ิงขึ้น สถานท่ีตั้ง หมู่ 5บา้ นตาดไฮ ตาบลโคกมว่ ง อาเภอโนนสงั จังหวดั หนองบัวลาภู
พพิ ธิ ภัณฑ์ซำกดึกดำบรรพ์ภเู กำ้ ลกั ษณะพิเศษทีเ่ ป็นองค์ความรทู้ ม่ี ีคณุ ค่าต่อชมุ ชน พิพิธภัณฑ์ซากดึกดาบรรพ์ และซากฟอสซิลไดโนเสาร์ เป็นพิพิธภัณฑ์ ท่จี ดั แสดงเรอ่ื งราวความรู้ทางด้านธรรมชาติ และธรณีวิทยาของจังหวัดหนองบัวลาภูท่ีเป็น แหล่งค้นพบท่ีสาคัญควรค่าแก่การศึกษาของเยาวชนจังหวัดหนองบัวลาภู ตั้งอยู่ท่ีหน่วย พิทักษ์อุทยานแห่งชาติภูเก้า – ภูพานคา ท่ี ภก.๑ ( วังมน ) อยู่ห่างจากที่ทาการอุทยานฯ ประมาณ 64 กิโลเมตร มีเจ้าหน้าที่คอยให้ข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับซากดึกดาบรรพ์ ให้แก่ นักทอ่ งเท่ยี ว อาคาร สถานที่ ลักษณ ะของตัว อา คา รพิ พิธ ภั ณฑ์ มีลั กษ ณะ เป็นอ าค าร รู ป ส่ีเหล่ียมผืนผ้ามีพ้ืนที่ เป็นลักษณะอาคารปูนช้ันเดียวหลังคาสูงเป็นห้องโถงใหญ่ และมีการ จัดแสดงภายใน
การจัดแสดงภายในอาคารจัดแสดงซากฟอสซิลไดโนเสาร์ ดงั รายละเอียดดงั นี้ 1. จดั นทิ รรศการเร่ืองราวของไดโนเสาร์ เร่ืองราวของไดโนเสาร์ที่มีการค้นพบ ซากฟอสซลิ ในเขตภาคอสี าน 2. จัดแสดงนทิ รรศการเร่ืองราวของไดโนเสาร์พันธ์ุต่างๆ การจัดแสดงเป็นป้าย นทิ รรศการท่ีสวยงาม 3. จดั แสดงกระดกู และรอยเทา้ ของไดโนเสาร์ท่ีค้นพบในเขตอาเภอโนนสัง สถานที่ต้ัง หมู่ 8บ้านวังมน ตาบลโคกม่วง อาเภอโนนสัง จังหวัด หนองบวั ลาภู 4. แสดงหุ่นจาลองสภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดหนองบัวลาภูที่แวดล้อมไปด้วย ภเู ขา แสดงเสน้ ทางการคมนาคมของจงั หวดั
เสำหนิ หำมตำ่ ง เสาหินหามต่างหรือหามต้ัง ลักษณะเป็นก้อนหินทรายขนาด ใหญ่ ทบั ซอ้ นกันคล้ายดอกเหด็ ขนาดใหญ่ 2 ต้นคู่กัน เป็นประติมากรรมทาง ธรรมชาติที่แปลกและสวยงาม ซ่ึงลักษณะของการทับซ้อนกันนี้ มีความหมายคล้ายคลึงกันกับเสาเฉลียง ที่อุทยานแหงชาติผาแต้ม จังหวัดอุบลราชธานี คือเกิดจากการกัดเซาะของน้า สายลม และแสงแดด มีความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 300 เมตร และห่างจากท่ีทาการ อุทยานแห่งชาติ ภเู ก้า - ภูพานคา 45 กิโลเมตร สถานที่ตั้ง หมู่ 8บ้านวังมน ตาบลโคกม่วง อาเภอโนนสัง จังหวดั หนองบวั ลาภู
ประวตั ิและผลงำนครูภูมิปัญญำทอ้ งถน่ิ ตำบลโนนเมือง อำเภอโนนสังจังหวดั หนองบัวลำภู ดำ้ น แหลง่ โบรำณคดี สำขำ แหล่งเรียนรู้โบรำณคดี วดั ปา่ พรหมวหิ าร
วัดป่ าพรหมวหิ าร วัดป่าพรหมวิหาร เป็นวัดป่าสังกัดธรรมยุตินิกาย สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2524 โดยหลวงปสู่ าย เขมธมฺโม พระเกจิชื่อดงั สายพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตตเถระ ภายใน วัดเป็นท่ีต้ังของ พรหมวิหารย์เจดีย์ (เขมธัมมาเถรานุสรณ์) สร้างข้ึนเพ่ือบรรจุพระบรม สารีริกธาตุ รวมท้ังรูปเหมือนของหลวงปู่สาย เขมธมฺโม และพระบูรพาจารย์ โดยมีพิธี บรรจุพระบรมสารีริกธาตุและยกยอดเจดีย์ เม่ือวันท่ี 11สิงหาคม พ.ศ. 2550 การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๒๑๔๖ (หนองบัวลาภู–โนนสัง) ระยะทางประมาณ ๔๕ กโิ ลเมตร แยกขวาเขา้ ถนนโนนสงั -ศรีบุญเรือง ไป ๒๕ กโิ ลเมตร สถานท่ีต้ัง หมู่ 7บ้านห้วยบง ตาบลโนนเมือง อาเภอโนนสัง จังหวัด หนองบัวลาภู
คณะผู้จัดทา ท่ปี รึกษา ครูรักษาการในตาแหนง่ ผอ.กศน.อาเภอโนนสงั ๑. นางนวพรรษ จนั ทราทลู ครู กศน.ตาบล ผู้รับผิดชอบ ครู กศน.ตาบล ๑. นางมะลิ ไชยพาฤทธ์ิ ครู กศน.ตาบล ๒. นางสาวมณทิภา ดหู ฤคา ครู กศน.ตาบล ๓. นางธนพร สมสนั ต์ ครู กศน.ตาบล ๔. นางสาวสภุ าพร วงษ์อ่อน ครู กศน.ตาบล ๕. นางสาวสนุ ีนาถ แวววงศ์ ครู กศน.ตาบล ๖. นางสาวอรดี ไชยบรุ มณ์ ครู กศน.ตาบล ๗. นางถนอมทรัพย์ ทองเดช ครู กศน.ตาบล ๘. นายชยั กิตติ โสภาศรี ครู กศน.ตาบล ๙. นายอรุณ รัตนงาม ครู กศน.ตาบล ๑๐. นายธนภทั ร สมสนั ต์ ครู กศน.ตาบล ๑๑. นายสทุ ธินนั สีอดุ ทา ครู กศน.ตาบล ๑๒. นายปฏิวตั ิ ววิ าจารย์ ครู กศน.ตาบล ๑๓. นายรัตนะ มว่ งกลาง ๑๔. นายอนวุ ฒั น์ ทองเดช ผู้รวบรวมและจดั พมิ พ์ บรรณารักษ์ ๑. นางสาวจฑุ ามาศ พลนางาม เจ้าของเอกสาร ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอโนนสงั
Search
Read the Text Version
- 1 - 37
Pages: