Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มกราคม

Description: มกราคม

Search

Read the Text Version

ทำเนียบแหลง่ เรียนรู้ อำเภอสวุ รรณคหู ำ จงั หวัดหนองบัวลำภู ประจำเดือน มกรำคม ๒๕๖๓ ศูนยก์ ำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอสุวรรณคหู ำ สำนกั งำน กศน. จงั หวัดหนองบัวลำภู สำนักงำนปลดั กระทรวงศึกษำธิกำร กระทรวงศึกษำธกิ ำร

คำนำ สารสนเทศทาเนยี บแหลง่ เรียนรู้ อาเภอสวุ รรณคหู า จังหวัดหนองบัวลาภู ฉบบั นี้ จดั ทาข้ึน เพ่ือรวบรวมแหล่งเรียนรู้ เช่น แหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถ่ินใน เขตอาเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลาภู เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมขององค์ความรู้ที่หลากหลาย พร้อมที่จะให้ผู้สนใจเข้าไปศึกษาค้นคว้าด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่แตกต่างกันของแต่ละ บุคคล เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นแหล่งเชื่อโยงให้สถานศึกษาและชุมชนมี ความสัมพนั ธใ์ กลช้ ดิ กัน การจัดทาขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ อาเภอสุวรรณคูหา จงั หวดั หนองบัวลาภู ในคร้งั น้ี ได้รบั ความ ร่วมมืออย่างดียิ่งจากชุมชน จึงขอขอบคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สารสนเทศทาเนียบแหล่งเรียนรู้นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อบุคคล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือใช้เป็น แนวทางในการดาเนินงานใหม้ ีประสิทธิภาพและเกดิ ประสทิ ธิผลยงิ่ ขึน้ ไป กศน.อำเภอสุวรรณคูหำ มกรำคม 2563

สำรบญั หนำ้ 4 ภูมิปญั ญาท้องถ่ินตาบลนาดี 8 ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ตาบลกุดผึง้ 13 ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ตาบลนาดา่ น 17 ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ตาบลนาดี 20 ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นตาบลสวุ รรณคหู า 24 ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ตาบลดงมะไฟ 27 ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ตาบลบา้ นโคก 29 ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ตาบลบุญทนั

ประวตั ิและผลงานครภู ูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ตาบลนาดี อาเภอสวุ รรณคหู า จงั หวัดหนองบวั ลาภู ดา้ น หตั ถกรรม สาขา การแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากใยบวบ นางคาห่อ ศรีกวนชา



ประวัติและผลงานครูภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ตาบลนาดี อาเภอสุวรรณคูหา จงั หวัดหนองบวั ลาภู ด้าน หตั ถกรรม สาขา การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์จากใยบวบ 1. ประวตั แิ ละผลงาน นางคาหอ่ ศรกี วนชา อายุ ภ ปี อาชีพเกษตรกร อย่บู ้านเลขที่ 132 หม่ทู ่ี 7 บ้านราษฎร์เกษม ศรี ตาบลนาดี อาเภอสุวรรณคูหา จังหวดั หนองบัวลาภู หมายเลขโทรศพั ท์ 0899492032, 0819127215, เกดิ วนั ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2497 ท่ีตาบลบา้ นขาม อาเภอเมือง จ.หนองบวั ลาภู บิดาชือ่ นายพอด อุ่มพวง มาดาชอ่ื นางประมวล อมุ่ พวง จานวนพน่ี ้อง (พ่อ/แมเ่ ดียวกัน) จานวน 7 คน แม่คาห่อเป็นลูกคนท่ี 5 สถานภาพ (  ) สมรส มีบตุ รจานวน 4 คน 1. นางลดั ดา ศรกี วนชา อาชพี คา้ ขาย 2. นายวทิ ยา ศรกี วนชา อาชีพ ธุรกจิ สว่ นตวั 3. นางสาวรุง่ นภา ศรีกวนชา อาชพี นกั ศกึ ษา 4. นายธนาวฒุ ิ ศรีกวนชา อาชพี นักศกึ ษา การศึกษา จบช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนบา้ นเซินราษฎรเ์ กษมศรี ตาบลนาดี อาเภอ สุวรรณคูหา จงั หวดั หนองบัวลาภู เดิมทีเป็นเกษตรกรที่ประกอบอาชีพทานา ทาไร่ และทาอาชีพเสริมจากการทอผ้าทั่วไปและได้มีการ พัฒนาอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากใยบวบ กับสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอสุวรรณคูหาจึงได้มีการยึด อาชพี การแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากใยบวบเปน็ อาชีพหลกั และมกี ารสนับสนุนเร่ือยๆจากศูนย์การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุวรรณคูหา และการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากใยบวบ ได้รับมาตรฐาน OTOP 5 ดาว ปัจจุบนั ได้ประกอบอาชีพการแปรรปู ผลิตภัณฑจ์ ากใยบวบ 2. องคค์ วามรู้และความเชย่ี วชาญ 1. จัดฝึกอบรมการเรียนร้ทู าผลติ ภัณฑจ์ ากใยบวบ 2. จัดใหม้ โี ครงการไปดงู านสารวจผลิตภัณฑ์จากใยบวบ 3. มกี ารประชาสัมพันธใ์ ห้ท่ัวถงึ ในส่ือตา่ งๆ 4. จัดใหม้ ีเงนิ ทนุ สนบั สนนุ ในการผลิตให้เปน็ สินคา้ โอท็อปของจังหวัด 5. จัดเกบ็ เปน็ รูปเล่มในการศึกษาค้นควา้ ไดง้ า่ ย 3.การถ่ายทอดความรูแ้ ละความเช่ียวชาญ เปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรู้เรอื่ งการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากใยบวบ

4. ลกั ษณะของเครือข่ายและการสร้างเครือขา่ ย เป็นวทิ ยาให้ความรู้ 5. ผลงานทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อมชุมชนและสังคม เปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรู้ 6. รางวัลหรือเกยี รติคณุ ท่ีได้รบั ใบประกาศมาตรฐาน OTOP

ประวัตแิ ละผลงำนครภู ูมปิ ญั ญำทอ้ งถิ่น ตำบลกดุ ผึ้ง อำเภอสวุ รรณคหู ำ จังหวดั หนองบัวลำภู ด้ำนเกษตรกรรรม สำขำเกษตรกรม นำยอดลุ ศักด์ิ เสนำชยั โทร. 084-9549751



ประวัตแิ ละผลงำนครูภูมปิ ญั ญำทอ้ งถ่นิ ตำบลกุดผ้งึ อำเภอสุวรรณคูหำ จงั หวดั หนองบวั ลำภู ดำ้ น เกษตรกรรม สำขำ เกษตรกรรม 1. ประวตั แิ ละผลงำน นายอดุลศักดิ์ เสนาชัย เกิดเมื่อวันที่ 10 พ.ย. 2507 ปัจจุบันนายอดุลศักดิ์ เสนาชัย เป็นผู้ใหญ่บ้านโนนป่าหว้าน หมู่ที่ 4 ตาบลกุดผึ้ง อาเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลาภู มีผลงานการ เลี้ยงแมงป่องช้าง เป็นเวลา 7 ปี และเป็นบุคคลที่อุทิศตน เสียสละกาลังกาย กาลังทรัพย์ในการเป็น วิทยากรให้ความรู้กับผู้สนใจ และหน่วยงานที่ให้ความสนใจ ในปีงบประมาณ 2562 กศน.ตาบลกุดผ้ึงได้ดาเนินการจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร ระยะส้น กลุ่มสนใจ การเล้ียงแมงป่องช้าง และสมาชิกกลุ่มมีความต้องการที่อยากจะให้ กศน.สนับสนุนต่อ ยอดต่อไป ซ่ึงนายอดุลย์ศักดิ์ เสนาชัย ประธานกลุ่มเล้ียงแมงป่องช้าง และสมาชิกกลุ่มใหค้ วามสนใจ ชุมชน บ้านโนนป่าหวา้ น กลา่ วว่า แมงปอ่ งช้าง หรือทภี่ าคอสี านเรียกช่ือ แมงเงา ซ่ึงพนี่ ้องประชาชนหลายคนบอกว่า เปน็ แมลงมพี ิษ แตค่ วามจริงเปน็ แมลงที่สามารถสรา้ งรายได้ให้กับชุมชนที่น้ีเป็นอยา่ งดี โดยทางกลุม่ เกษตรกร ของเรา ได้รับการอบรม การเล้ียงมาจากทหาร สังกัด มทบ.24 ท่ีมาให้ความรู้ ที่สาคัญชาวบ้านสามารถมา รวมกลุ่ม และได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการเสรมิ สรา้ งรายได้ให้แก่เกษตรกรรายย่อย นี้จานวน 30,000 บาท ซ่งึ ในชว่ งนีเ้ ปน็ ชว่ งวางรากฐาน เรมิ่ ตง้ั แตเ่ สน้ ทางการผลติ จนถึงการตลาด ที่คาดว่าน่าจะสดใส มากสาหรับแมงป่องช้าง โดยความจริงแล้วแมงป่องช้าง เป็นสัตว์ที่ทุกคนกลัว แต่ว่าท่ีน่ี เขาเอนนดูแล้วกนรักมนั มาก เพราะวา่ เป็นแมลงทีจ่ ะสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชนนี้แน่นอนในอนาคต 2. องคค์ วำมรูแ้ ละควำมเชีย่ วชำญ นายอดุลศกั ด์ิ เสนาชัย มีความรู้ความเชีย่ วชาญ ทนี่ าไปถ่ายทอดใหแ้ ก่ผู้เรยี น และผู้คนทสี่ นใจ โดยใช้กระบวนการถ่ายทอดความรู้ที่หลากหลาย เช่นการอธบิ าย การสาธิต และให้ผ้เู รยี นได้ปฏบั ัติจริงตาม หวั ขอ้ ดงั ตอ่ ไปนี้ วัสดอุ ปุ กรณ์ ขัน้ ตอน การรกั ษา อดุลย์ศกั ด์ิ เสนาชยั ประธานกลมุ่ เลีย้ งแมงป่องช้าง บา้ น โนนปา่ หวา้ น นายปิยะ พรมกลุ เหรญั ญกิ ฯ น.ส.ศศิวิมล พลราษฏ์ เลขากลุม่ และเกษตรกรทีอ่ ยใู่ น ชุมชนโนน ป่าหวา้ น ได้นาชมกิจกรรมของกลุ่ม จนทาให้ทงึ่ กับภาพต้งั แตเ่ ดกน ตัวเลนกๆ จนถงึ พอ่ แม่ ตา ยาย ต่างพากันจบั เล่นกับ แมงป่องช้าง หรอื แมงป่องยักษ์ เปน็ เหมอื นของเล่น เหมือนกบั ว่า สัตวช์ นดิ น้ไี ม่มีพษิ ภยั อะไรเลย ข้ันตอนการการเลี้ยงท่ีสาคญั มีดังน้ี การเลี้ยงต้องเลยี้ งในท่ีร่ม (การปล่อยพ่อแมพ่ ันธุ์ในอตั รา 1 ตอ่ 1 บอ่ ละ40-50 ตัว เตรยี มกลอ่ งพลาสติกขนาด 80 เซนติเมตร เจาะรูเลกน ๆท่ฝี าให้ทัว่ เพือ่ ระบายอากาศ นาดนิ มาใสล่ งในกล่อง พลาสตกิ ความหนา 10 เซนติเมตร และใบไมแ้ หง้ เพ่ือใชห้ ลบซอ่ นตวั ในเวลากลางวัน หลงั จากให้อาหารปิด ฝาให้เรียบร้อย ช่วงเมษายนต้องแยกตัวเมียออกไปเลี้ยงลาพังเพ่ือเตรียมออกลูก ซึ่งจะออกคร้ังละ 7-29 ตวั ขึ้นอยูก่ บั ความสมบูรณ์ของแม่พนั ธ์ุ การให้อาหารจะใหว้ ันเวน้ วัน ให้อาหารจาพวกสัตวเ์ ลกน ๆ เชน่ หอย ทาก ปลวก จิ้งหรีด ตอ้ งมีน้าวางไวใ้ หก้ ินตลอด และตอ้ งใสก่ อ้ นหินไว้ใหด้ ้วยเพอ่ื ป้องกนั แมงปอ่ งจม่ นา้ **ด้านการจัดการที่สะดวก เพราะเล้ียงในภาชนะพลาสติก ซึ่งสามารถเคล่ือนย้ายได้สะดวก ยก ซ้อนกันเป็นแนวตั้งได้ ทาให้ประหยัดพ้ืนท่ี ไม่มีกลิ่นรบกวน ทาให้สมาชิกแต่ละคน สามารถนาไปเลี้ยงที่ บ้านได้ **แมงป่องมีควาทนต่อสภาวะอากาศเพราะเป็นสัตว์พ้ืนถิ่น ซึ่งมีความแขนงแรงและมีโรค มีศัตรู ธรรมชาตินอ้ ย

**ประหยดั ต้นทนุ ในการให้อาหาร เพราะแมงป่องกนิ อาหารที่ทาไดต้ ามธรรมชาตไิ ด้เกือบทุกชนดิ ไมว่ า่ จะเป็นแมลงตามธรรมชาติ หอยทากทจ่ี บั มาจากภายในชมุ ชน ทาให้ตน้ ทุนในด้านอาหารน้ันแทบไมม่ ี **มอี านาจตอ่ รองทางตลาด เนอ่ื งจากแมงปอ่ งน้ันมต้นทนุ ในการเลย้ี งตา่ ทาใหส้ ามารถเลอื กระยะเวลา ขายตามท่ีต้องการได้ รวบรวมผลผลิตจากสมาชิกในกลุ่ม และนาส่งขายในแหล่งที่ให้ราคาสูงได้เนื่องจาก ขนสง่ ง่ายไมเ่ ปลืองพ้ืนที่ในการขนส่ง **ด้านการจัดการที่สะดวก เพราะเล้ียงในภาชนะพลาสติก ซ่ึงสามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก ยก ซ้อนกันเป็นแนวต้ังได้ ทาให้ประหยัดพ้ืนท่ี ไม่มีกล่ินรบกวน ทาให้สมาชิกแต่ละคน สามารถนาไปเล้ียงท่ี บา้ นได้ **แมงป่องมีควาทนต่อสภาวะอากาศเพราะเป็นสัตว์พ้ืนถ่ิน ซ่ึงมีความแขนงแรงและมีโรค มีศัตรู ธรรมชาตนิ อ้ ย **ประหยดั ต้นทนุ ในการให้อาหาร เพราะแมงปอ่ งกนิ อาหารท่ที าไดต้ ามธรรมชาตไิ ด้เกือบทุกชนิด ไมว่ า่ จะเปน็ แมลงตามธรรมชาติ หอยทากที่จับมาจากภายในชุมชน ทาให้ต้นทุนในดา้ นอาหารน้ันแทบไม่มี **มอี านาจต่อรองทางตลาด เนอื่ งจากแมงปอ่ งนั้นมตน้ ทุนในการเลย้ี งต่า ทาให้สามารถเลือกระยะเวลา ขายตามที่ต้องการได้ รวบรวมผลผลิตจากสมาชิกในกลุ่ม และนาส่งขายในแหล่งที่ให้ราคาสูงได้เนื่องจาก ขนสง่ ง่ายไม่เปลอื งพน้ื ทใ่ี นการขนส่ง 3. กำรถำ่ ยทอดควำมรแู้ ละควำมเชี่ยวชำญ นายอดุลศักดิ์ เสนาชยั ถ่ายทอดความรู้การเลี้ยงแมงป่องชา้ งทัง้ รปู แบบการให้ความรู้ การสาธิต แบะการปฏบิ ัติจรงิ เปน็ วิทยากรสอนการเลย้ี งแมงปอ่ งช้างใหก้ ลมุ่ ตา่ งๆทส่ี นใจ 100 คน เป็นวิทยากรสอนการเลี้ยงแมงปอ่ งช้างใหก้ ารศกึ ษาตอ่ เนื่อง 40 คน เปน็ วทิ ยากรสอนการเลี้ยงแมงปอ่ งช้างใหก้ ลมุ่ ผู้สนใจ มาศกึ ษาดงู าน 100 คน 4. ลักษณะของเครือขำ่ ยและกำรสรำ้ งเครือขำ่ ย นายอดุลศกั ด์ิ เสนาชัย มเี ครอื ขา่ ยและมีการสร้างเครอื ข่าย มเี ครือขา่ ยทัง้ ภาครฐั และภาคเอกชน ดังน้ี 1. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา 2. กศน.ตาบลกุดผ้ึง 3. รพ.สต.กดุ ผ้ึง 4. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลกดุ ผ้ึง 5. สานักงานเกษตรอาเภอสุวรรณคูหา 6. สานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอสวุ รรณคหู า นาสรยิ นั ปลดั ศรี มกี ารสรา้ งเครือข่าย โดยการเป็นวทิ ยากรการเลี้ยงแมงป่องช้างท้งั ภาครัฐและ ภาคเอกชน ตลอดจนไดเ้ ชิญชวนผู้สนใจเพือ่ ให้มาศึกษาดูงาน และมีการประชาสมั พนั ธใ์ หก้ บั ภาคี เครอื ข่าย และประชาชนผู้สนใจไดเ้ รียนรอู้ ยา่ งต่อเนอื่ ง

5. ผลงำนท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อชมุ ชนและสังคม นายอดุลศักดิ์ เสนาชยั เปน็ บคุ คลท่เี ป็นประโยชนต์ ่อชมุ ชนสงั คม โดยได้อุทิศตนในการเปน็ วทิ ยากร ให้แกบ่ ุคคลและชุมชน ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2559 เป็นต้นมา 6. รำงวลั หรอื เกยี รติคณุ ทีไ่ ด้รบั พ.ศ. 2550 ไดร้ ับเกียรติบตั ร เกษตรกรดีเดน่ พ.ศ. 2561 ไดร้ บั เกยี รตบิ ัตร วทิ ยากรดเี ดน่ ของ กศน.อาเภอสวุ รรณคูหา

ประวัติและผลงำนครภู มู ิปญั ญำท้องถิ่น ตำบลนำด่ำน อำเภอสวุ รรณคูหำ จังหวัดหนองบัวลำภู ดา้ น เศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ สาขา ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม นายบวั ลยั โนนสกลุ สถานทต่ี ัง้ บ้านหนองเหนน หมู่ที่ ๖ ตาบลนาดา่ น อาเภอสุวรรณคูหา จงั หวัดหนองบวั ลาภู เบอรท์ ีส่ ามารถติดต่อ. ๐๘๖-๒๓๒๗๕๖๒



ประวตั แิ ละผลงำนครูภูมปิ ญั ญำทอ้ งถน่ิ ตำบลนำด่ำน อำเภอสวุ รรณคหู ำ จังหวดั หนองบัวลำภู ด้าน เศรษฐกิจพอเพยี ง และเกษตรทฤษฎีใหม่ สาขา ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 1. ประวตั ิและผลงำน นายบัวลัย โนนสกุล เกิดเม่ือวันที่ 10 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2503 อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 68 หมู่ 6บา้ นหนองเหนน ตาบลนาด่าน อาเภอสุวรรณคูหา จงั หวัดหนองบวั ลาภู 39270 เบอรโ์ ทรศัพท์ 086-2327562 ปัจจุบันดารงตาแหน่งผู้ใหญ่บ้าน บ้านหนองเหนน ต้ังแต่ พ.ศ.2551 จนถึงปัจจุบัน จบการศึกษาสูงสุดระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอสวุ รรณคูหา จงั หวดั หนองบวั ลาภู ผลงานของนายบัวลัย โนนสกลุ ไดร้ ับเชิญเปน็ วิทยากรดา้ นตา่ งๆ และเข้าประกวดดา้ นบคุ คลกบั หนว่ ยงานตา่ งๆ 2. องค์ควำมรแู้ ละควำมเชย่ี วชำญ นายบัวลัย โนนสกุล มีองคค์ วามรแู้ ละความเช่ยี วชาญ ที่นาไปถ่ายทอดให้แก่ผู้เรียน และผูค้ น ทีส่ นใจ โดยใช้กระบวนการถ่ายทอดความร้ทู ี่หลากหลายเชน่ การอธบิ าย การสาธิต และใหผ้ เู้ รยี นฝึกปฏิบตั ิ จริง อีกท้ังมคี วามร้คู วามสามารถด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ทงั้ การอนรุ กั ษ์พัฒนา และการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมอย่างสมดุลและยงั่ ยืน เชน่ การบวชป่า การสืบ ชะตาแมน่ ้า การทาแนวก้ันฝาย การบริโภคและอุปโภค 3. กำรถ่ำยทอดควำมรแู้ ละควำมเชีย่ วชำญ นายบวั ลยั โนนสกุล มีการถา่ ยทอดความรู้และความเชยี่ วชาญดังนี้ - หนว่ ยงานต่างๆ เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรเู้ กยี่ วกบั เศรษฐกจิ พอเพียง และเกษตร ทฤษฎีใหม่ - กับชุมชน ถา่ ยทอดความรูเ้ กย่ี วกับการดูแลอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตปิ า่ ไม้ ประโยชน์ จากป่า และโทษจากธรรมชาติของปา่ ให้กับชุมชนไดร้ ับความรู้และนาไปปฏิบัตใิ น ชีวิตประจาวันได้ - 4. ลกั ษณะของเครอื ขำ่ ยและกำรสร้ำงเครือขำ่ ย นายบวั ลยั โนนสกลุ มีเครอื ข่ายและมีวิธีการสร้างเครอื ขา่ ยดังน้ี - เครือขา่ ยภาครฐั และเอกชนประกอบดว้ ย สานักงานเกษตรจังหวดั - อาเภอ สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัด - อาเภอ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั – อาเภอ เทศบาลตาบล กลุ่มเกษตรอาเภอ วธิ ีการสร้างเครือขา่ ย นายบัวลัย โนนสกลุ มีวิธีการสร้างเครอื ขา่ ย โดยการเป็นวิทยากรหลักสูตรตา่ งๆ เช่น

หลกั สตู รการเพาะเหดน หลักสูตรการเลย้ี งปลาดุก หลักสูตรการทาบญั ชคี รวั เรอื น หลกั สูตรการทาปุ๋ยหมกั และ จรุ นิ ทรีย์สงั เคราะห์แสง หลกั สตู รการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม โดยการได้รับเชญิ จาก หน่วยงานตา่ งๆทไ่ี ด้รบั การประสานมา และไดจ้ ัดทาแผ่นพบั ประชาสมั พันธ์ แจกจ่ายใหก้ บั เครือข่าย และ ประชาชนผู้สนใจไดศ้ กึ ษา 5. ผลงำนท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อชุมชน นายบวั ลยั โนนสกุล มีผลงานทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ ชุมชน โดยไดอ้ ุทิศตนในการเปน็ วิทยากรให้ ความรใู้ หแ้ ก่บุคคล/ชมุ ชน/หน่วยงาน เป็นตน้ มา 6. รำงวัลหรอื เกยี รติคุณท่ไี ด้รบั นายบวั ลัย โนนสกลุ ได้รับเกียรติคุณมากมายอาทิเชน่ - ไดร้ บั รางวลั ผู้นาชุมชนดีเด่น - รางวลั ผ้ใู หญบ่ ้านดีเดน่ - รางวัลนกั ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมดเี ด่น - รางวัลปราชญแ์ ผ่นดนิ

ประวตั แิ ละผลงานครูภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ตาบลนาดี อาเภอสุวรรณคูหา จงั หวัดหนองบวั ลาภู ด้าน การทาผา้ มัดยอ้ ม สาขา หตั ถกรรม นางสะอาด ศรภี ธู ร



ประวัตแิ ละผลงานครูภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ตาบลนาดี อาเภอสวุ รรณคหู า จงั หวัดหนองบัวลาภู ดา้ น การทาผา้ มดั ยอ้ ม สาขา หัตถกรรม 1. ประวัตแิ ละผลงาน นางสอาด ศรีภูธร หมายเลขบัตรประชาชน 34115 00311 04 0 วันเดือนปีเกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2505 ที่อยู่ปัจจุบัน (ที่สามารถติดต่อได้) บ้านเลขที่ 203 หมู่ที่ 9 ตาบล/แขวง นาดี อาเภอ/เขต สุวรรณ คหู า จงั หวดั หนองบวั ลาภู รหัสไปรษณยี ์ 39270 โทรศพั ท์ 080-751-9539 โทรสาร - Line ID 080-751-9539 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอ สุวรรณคหู า จังหวดั หนองบัวลาภู เดิมทเี ป็นเกษตรกรท่ีประกอบอาชพี ทานา ทาไร่ และทาอาชีพเสรมิ จากการ ทอผ้าทว่ั ไปและได้มีการพัฒนาอบรมการทาผ้ามดั ย้อมจากสีธรรมชาตกิ ับสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอสุวรรณ คูหาจึงได้มีการยึดอาชีพการทาผ้ามัดย้อมเป็นอาชีพหลักและมีการสนับสนุนเรื่อยๆจากศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุวรรณคูหา และสินค้าได้ผ้ามัดย้อมได้รับมาตรฐาน OTOP 5 ดาว ปจั จบุ นั ไดป้ ระกอบอาชีพขายผ้ามัดยอ้ มทีศ่ ูนย์ OTOP จังหวดั หนองบวั ลาภู 2. องคค์ วามร้แู ละความเช่ยี วชาญ 1. การยอ้ มสีผา้ จากธรรมชาติ 2. การออกแบบลายผา้ มัดยอ้ ม 3. การทอผ้า 4. การเยบ็ ผ้า 3.การถา่ ยทอดความรูแ้ ละความเชยี่ วชาญ เป็นวทิ ยากรใหค้ วามรู้เรอ่ื งการย้อมสีผ้าจากธรรมชาติ 4. ลกั ษณะของเครอื ข่ายและการสร้างเครอื ขา่ ย เปน็ วทิ ยาให้ความรู้ 5. ผลงานทีเ่ ป็นประโยชนต์ อ่ มชมุ ชนและสังคม เปน็ วิทยากรใหค้ วามรู้ 6. รางวลั หรือเกยี รติคณุ ทไี่ ด้รับ ใบประกาศมาตรฐาน OTOP

ประวตั ิและผลงานครูภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ตาบลสุวรรณคหู า อาเภอสวุ รรณคหู า จังหวัดหนองบัวลาภู ดา้ น การเกษตร สาขา เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ นำยอุไร อปุ แกว้



ประวตั แิ ละผลงานครูภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ตาบลสวุ รรณคูหา อาเภอสวุ รรณคูหา จังหวดั หนองบัวลาภู ด้าน การเกษตร สาขา เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ 1.ประวตั ิและผลงาน เป็นความคิดท่ีอยากทาใช้เองกินเองในครัวเรือนจึงได้รับการส่งเสริมและได้รับคาแนะนาจากภาครฐั และได้รับการส่งเสรมิ และพฒั นาตนเองอยู่เสมอเลยพัฒนาเป็นแหลง่ เรยี นรูเ้ ศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎี ใหม่ ประเภทการเรยี นรดู้ ้านการเกษตรกรรม สถานท่ีต้ัง ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ บ้านพนมพัฒนา หมู่ ๕ ตาบล สุวรรณคหู า อาเภอ สุวรรณคหู า จังหวดั หนองบวั ลาภู มีนายอุไร อปุ แกว้ เบอรโ์ ทรศัพฺท์ ๐๙๘-๑๔๖๘๔๔๑ 2. องค์ความรแู้ ละความเช่ยี วชาญ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ บ้านพนมพัฒนา หมู่ ๕ ตาบลสุวรรณคูหา อาเภอ สุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลาภู มีนายอุไร อุปแก้ว ซึ่งเป็นวิทยากรหลักรวมท้ังผู้นาและชาวบ้าน บ้านพนมพัฒนาท่ีพร้อมในการให้ความรู้ในเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ ภายศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ จะประกอบไปด้วยหลายฐานการเรียนรู้ ได้แก่ ฐานการเรียนรู้ เศรษฐกจิ พอเพียงกับเกษตรทฤษฎใี หม่ตามแนวพระราชดาริ ฐานการแกส๊ จากมูลสตั ว์ ฐานการทาปุย๋ อินทรีย์ และน้าหมักชีวภาพ ฐานการเลี้ยงวัว ฐานการเลี้ยงปลาในกระชัง ฐานการปลูกบัวหลวง ฐานการเรียนรกู้ าร ปลูกตน้ ไม้ 3 อยา่ งประโยชน์ 4 อยา่ ง ฐานการเรียนรู้ บัญชคี รัวเรือน วถิ ีการเรยี นรเู้ พอื่ พัฒนาชวี ิต ซง่ึ จากสภาวะสังคมปัจจุบันที่เตนมไปด้วยกระแสวตั ถนุ ิยม และความฟมุ่ เฟอื ย ฟ้งุ เฟอ้ จนทาใหค้ นไทย หลงเดินทางผิดไปตามกระแสนิยมจนกลายเป็นปัญหา โดยเฉพาะปัญหาหนี้สินที่ไม่มวี ันจบสิ้น อย่างไรกนตาม คนไทยยังมีทางออก ซึ่งการจะดารงชีวิตให้อยู่รอดภายใต้สังคมในปัจจุบัน แนวทางหนึ่งที่ประชาชนไทยควร ยึดถือคือการพ่ึงตนเอง รู้จักความพอประมาณ และไม่ประมาท ตามแนวปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของ พระบาทสมเดนจพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงมองเหนนถึงความสาคัญของการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง รู้จักความ พอมีพอกิน พอมีพอใช้ คานึงถึงหลักเหตุผลและการประมาณตนเอง พร้อมกับทรงเตือนสติประชาชนคนไทย ไม่ให้ประมาท โดยเฉพาะการใชจ้ ่ายเงนิ อนั เป็นปัจจัยสาคญั ในการดาเนินชีวติ 3. การถา่ ยทอดความร้แู ละความเชี่ยวชาญ เป็นวิทยากรหลักรวมท้ังผู้นาและชาวบ้านบ้านพนมพัฒนาท่ีพร้อมในการให้ความรู้ในเร่ืองเศรษฐกจิ พอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ ภายศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง และเกษตรทฤษฎใี หม่ จะประกอบไปด้วย หลายฐานการเรยี นรู้ ได้แก่ ฐานการเรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียงกับเกษตรทฤษฎใี หมต่ ามแนวพระราชดาริ ฐาน การแกส๊ จากมลู สัตว์ ฐานการทาป๋ยุ อินทรยี ์และนา้ หมกั ชวี ภาพ ฐานการเลี้ยงวัว ฐานการเลย้ี งปลาในกระชัง ฐานการปลูกบวั หลวง ฐานการเรียนรู้การปลกู ต้นไม้ 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ฐานการเรยี นรู้ บญั ชีครัวเรอื น วิถกี ารเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาชวี ิต

4. ลกั ษณะของเครือข่ายและการสรา้ งเครอื ขา่ ย เป็นวิทยากรหลักรวมทั้งผู้นาและชาวบ้านบ้านพนมพัฒนาที่พร้อมในการให้ความรใู้ นเรื่องเศรษฐกจิ พอเพียง และเกษตรทฤษฎใี หม่ ภายศูนยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง และเกษตรทฤษฎีใหม่ จะประกอบไปด้วย หลายฐานการเรยี นรู้ ได้แก่ ฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงกบั เกษตรทฤษฎีใหมต่ ามแนวพระราชดาริ ฐาน การแกส๊ จากมลู สัตว์ ฐานการทาปุ๋ยอนิ ทรีย์และนา้ หมกั ชวี ภาพ ฐานการเลย้ี งววั ฐานการเล้ยี งปลาในกระชัง ฐานการปลูกบัวหลวง ฐานการเรียนรู้การปลูกตน้ ไม้ 3 อยา่ งประโยชน์ 4 อย่าง ฐานการเรยี นรู้ บัญชคี รัวเรือน วถิ กี ารเรยี นรูเ้ พื่อพัฒนาชีวติ ให้กับ เกษตรอาเภอ และ กศน.ตาบลสวุ รรณคูหา และผู้สนใจ 5. ผลงานท่เี ปน็ ประโยชน์ตอ่ ชุมชนและสังคม เป็นวิทยากรหลักรวมทั้งผู้นาและชาวบ้านบ้านพนมพัฒนาท่ีพร้อมในการให้ความรู้ในเรื่องเศรษฐกิจ พอเพยี ง และเกษตรทฤษฎีใหม่ ภายศูนย์เรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ จะประกอบไปด้วย หลายฐานการเรยี นรู้ ได้แก่ ฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงกบั เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ ฐาน การแก๊สจากมูลสัตว์ ฐานการทาปุย๋ อินทรีย์และน้าหมักชวี ภาพ ฐานการเลี้ยงวัว ฐานการเลย้ี งปลาในกระชัง ฐานการปลกู บัวหลวง ฐานการเรียนรู้การปลกู ต้นไม้ 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ฐานการเรยี นรู้ บัญชคี รัวเรอื น วิถีการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาชีวิต ใหก้ ับ เกษตรอาเภอ และ กศน.ตาบลสวุ รรณคูหา และผ้สู นใจ 6. รางวัลหรือเกียรตคิ ณุ ท่ไี ดร้ ับ เป็นวิทยากรหลักรวมท้ังผู้นาและพร้อมในการให้ความรู้ในเรอ่ื งเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎี ใหม่ ภายศนู ยเ์ รยี นรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง และเกษตรทฤษฎีใหม่ จะประกอบไปดว้ ยหลายฐานการเรยี นรู้ ได้แก่ ฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงกับเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ ฐานการแก๊สจากมูลสัตว์ ฐาน การทาปุ๋ยอินทรีย์และน้าหมักชีวภาพ ฐานการเลี้ยงวัว ฐานการเลี้ยงปลาในกระชัง ฐานการปลูกบัวหลวง ฐานการเรียนรู้การปลูกต้นไม้ 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ฐานการเรียนรู้ บัญชีครัวเรือน วิถีการเรียนรู้เพ่ือ พฒั นาชวี ติ ให้กับ เกษตรอาเภอ และ กศน.ตาบลสวุ รรณคูหา และผสู้ นใจ และไดเ้ ปน็ เกษตรดีเดน่ ระดับ อาเภอ และจงั หวดั

ประวตั แิ ละผลงานครูภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ตาบลดงมะไฟ อาเภอสุวรรณคูหา จังหวดั หนองบวั ลาภู ด้าน ศลิ ปหตั ถกรรม สาขา การจกั สาน นางภัทรานี พรมดี



ประวตั ิและผลงานครูภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ตาบลดงมะไฟ อาเภอสุวรรณคหู า จังหวดั หนองบัวลาภู ด้าน ศิลปหัตถกรรม สาขา การจักสาน 1. ประวตั แิ ละผลงาน การจักสานเป็นอาชีพที่ชาวบ้านพรานหารายไดช้ ่วยจุนเจอื ครอบครวั ในยามทเี่ สร็จส้ินจากการทานา คนในชมุ ชนรู้จกั และมภี มู ิปญั ญาดา้ นการจกั สานเป็นพนื้ ฐานอยแู่ ลว้ ซ่งึ สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ รู้จกั การนา หวาย ไมไ้ ผ่ กา้ นลานมาทาตะกร้า กระบงุ ชะลอม ผลิตใช้สอยในครัวเรือน สมยั กอ่ นชาวบา้ นจะทาไว้ใชเ้ อง การจักสานสบื ทอดมาจากบรรพบรุ ุษในถิ่นฐานเดิม มีผู้ทรงภมู ปิ ัญญาถา่ ยทอดองค์ความรแู้ บบดัง่ เดิม ซึง่ ยังไม่ มกี ารพัฒนารูปแบบแตอ่ ยา่ งใด จักสานเปน็ ผลิตภณั ฑ์ หตั ถกรรม ท่ีบ่งบอกถึงความรุ่งเรอื ง ประเพณี วฒั นธรรมของพนื้ บ้าน มกี ารสืบทอดเทคนิควิธีการมาหลายช่วงอายุคน ซึ่งมพี ืน้ ฐานการพฒั นาลวดลายในแบบ ต่างๆ อย่างตอ่ เนื่อง โดยมีพน้ื ฐานในการออกแบบจากสภาพการดารงชวี ติ วฒั นธรรม ประเพณี ความเชือ่ ศาสนา และธรรมชาติที่แตกต่างกันในแต่ละยุคสมัย 2. องค์ความรูแ้ ละความเชีย่ วชาญ เป็นศนู ยเ์ รยี นร้เู รอื่ งของการของการจกั สานตะกรา้ ในรูปทรงตา่ งๆจากเส้นพลาสตกิ ตลอดถงึ ช่อง ทางการจดั จาหน่ายสินคา้ ทางออนไลน์ 3. การถา่ ยทอดความรแู้ ละความเชยี่ วชาญ นางภัทรานี พรมดี เป็นวทิ ยากรในการสานตะกรา้ จากเสน้ พลาสติก และยังสานตระกรา้ จากเสน้ พลาสติกในรูปทรงตา่ งๆ ไม่วา่ จะเป็นกระเป๋า แกว้ ใสน่ ้า ตะกรา้ แลว้ ยงั จาหนา่ ยสนิ ค้าผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ และได้ใหค้ วามรูแ้ กค่ นในชุมชน ทาใหค้ นในชมุ ชนเกดิ รายได้ ลดปัญญหาการวา่ งงาน 4. ลักษณะของเครือขา่ ยและการสรา้ งเครอื ข่าย เปน็ ศูนย์การเรยี นท่รี ู้ ทีก่ ศน.ตาบลดงมะไฟ และ องค์การบริหารสว่ นตาบลดงมะไฟ เขา้ ไปให้การ สนับสนนุ 5. ผลงานท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนและสังคม เป็นผู้นาในเรื่องสานตะกรา้ จากเสน้ พลาสตกิ ทาใหค้ นในชมุ ชนมงี านทา เกิดรายได้ ชว่ ยลด ค่าใช้จา่ ยในชุมชน

ประวัตแิ ละผลงำนครภู ูมปิ ัญญำท้องถนิ่ ตำบลบ้ำนโคก อำเภอสุวรรณคูหำ จังหวัดหนองบัวลำภู ด้ำน อตุ สำหกรรมและหัตถกรรม สำขำ กำรจักสำน นำยบปุ ผำ สังเกตุ



ประวตั ิและผลงำนครภู มู ิปัญญำทอ้ งถ่ิน ตำบลบำ้ นโคก อำเภอสุวรรณคูหำ จังหวัดหนองบวั ลำภู ดำ้ น อุตสำหกรรมและหตั ถกรรม สำขำ กำรจักสำน 1. ประวตั ิและผลงำน นายบปุ ผา สงั เกต เกดิ เมอ่ื วันท่ี 10 กันยายน 2498 เกดิ ทีบ่ ้านดอนมะซอ่ ม ตาบลบุ่งคล้า อาเภอเลิงนกทา จงั หวัดอุบลราชธานี บิดาชือ่ นายมนั่ สังเกต มารดาชื่อ นางล้วนสงั เกต ปจั จุบัน นายบุปผา สังเกต ประกอบอาชพี ทานา ทีอ่ ยู่ปัจจบุ ัน บ้านเลขท่ี 553 หมู่ 14 ตาบลบา้ นโคก อาเภอสุวรรณคูหา จงั หวัด หนองบวั ลาภู นายบุปผาสงั เกต เกิดในตระกูลชาวนา เรยี นจบชั้นม.3 จาก กศนอาเภอสุวรรณคูหา มีผลงาน การทาพธิ ีบายศรสี ขู่ วัญ มาต้งั แต่ พ.ศ. 2540 ถงึ ปัจจุบนั และไดอ้ ุทศิ ตน เพอ่ื ชมุ ชน และสงั คม โดยตลอด 2. องค์ควำมรแู้ ละควำมเชี่ยวชำญ นายบบุ ผาสงั เกตมีความเช่ยี วชาญ ดา้ นอตุ สาหกรรมและหัตถกรรม ในด้านของการจดั สาน ผลติ ภัณฑ์จากไมไ้ ผ่ สามารถที่จะถา่ ยทอดองค์ความรู้ให้กบั ผู้สนใจ ดว้ ยวิธีท่ีหลากหลาย 3. กำรถ่ำยทอดควำมรู้และควำมเชีย่ วชำญ นายบุปผา สังเกต ถา่ ยทอดความรดู้ ังน้ี 1. เป็นวทิ ยากร ถ่ายทอดความรู้ในโรงเรียนผู้สูงอายุ 2. เปน็ วิทยากร ถา่ ยทอดความรู้ใหก้ บั นกั ศกึ ษา กศน. และผ้คู นท่ัวไป 4.ลกั ษณะของเครือขำ่ ยและกำรสร้ำงเครือขำ่ ย นายบปุ ผา สังเกต เครือขา่ ยดงั น้ี เครอื ขา่ ยภาครฐั และเอกชน ประกอบด้วย 1.กศน. อาเภอสวุ รรณคหู า 2.โรงเรยี นผสู้ งู อายุ อบต .บา้ นโคก 3. กลมุ่ เยาวชนตาบลบา้ นโคก 5. ผลงำนที่เป็นประโยชนต์ ่อชุมชนและสงั คม นายบุปผา สังเกต มีผลงานทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนและสังคม โดยไดอ้ ุทิศตน เป็นวทิ ยากรให้แก่ บุคคลบคุ คล ในเขตอาเภอสวุ รรณคูหาตัง้ แต่ พศ. 2540 เป็นต้นมา 6. รำงวลั หรือเกียรติคณุ ทไ่ี ด้รบั 1.คณะกรรมการสถานศึกษา โรงเรียนบ้านโคกทงุ่ นอ้ ย 2. เครอื ข่ายพนั ธมิตร ธกส. จงั หวัดหนองบวั ลาภู 3. คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นโคกทุ่งนอ้ ย

ประวัตแิ ละผลงำนครภู ูมปิ ญั ญำท้องถ่ิน ตำบลบุญทนั อำเภอสวุ รรณคูหำ จงั หวดั หนองบวั ลำภู ด้ำน กำรเกษตรกรรม สำขำเกษตรกรรม นำยบญุ เกดิ จนั ทะคณู

การเล้ียงไก่พ้นื บา้ น การปลกู มะนาว การทาปุ๋ยหมกั อนิ ทรยี ช์ วี ภาพ

ประวตั แิ ละผลงำนครภู มู ิปญั ญำท้องถน่ิ ตำบลบุญทัน อำเภอสุวรรณคหู ำ จังหวดั หนองบวั ลำภู ด้ำน กำรเกษตรกรรม สำขำเกษตรกรรม 1. ประวตั แิ ละผลงำน - นายบุญเกิด จันทะคูณ ไดเ้ ริ่มอาชพี ทาอาชีพการเกษตรเพือ่ เล้ียงครอบครวั ดว้ ยการปลกู ข้าว และ สวนยางพารา ในดา้ นการเกษตรแบบผสมผสานตามแนวพระราชดาริฯ เมอื่ ทาการเกษตรท่ตี ้องพง่ึ พาการใช้ ปุย๋ เคมี และประกอบกบั ราคาปุ๋ยท่เี พิ่มสงู ข้นึ ทกุ ๆปี ตงั้ แตน่ ั้นมา นายบญุ เกดิ จนั ทะคูณ กไน ดน้ าความรู้ท่ี ตนเองไดร้ ับการฝกึ อบรมมาใช้ในการประกอบอาชพี การเกษตร ในการทาปยุ๋ หมักไวใ้ ชใ้ นการบารงุ พืชผลทาง การเกษตร โดยยดึ หลกั ตงั้ มน่ั อยบู่ นพ้ืนฐานของความพอเพยี ง 2. องค์ควำมรู้และควำมเชยี่ วชำญ - ไดน้ าความรมู้ าประยุกต์ใช้ในการทาการเกษตรแบบผสมผสานและการทาเกษตรทฤษฎใี หม่ตามแนว พระราชดารฯิ ของในหลวง ร.9 และนาความร้ใู นการทาป๋ยุ หมักมาใช้ในการทาการเกษตร 3. กำรถ่ำยทอดควำมรู้และควำมเชยี่ วชำญ รปู แบบและลักษณะการถา่ ยทอด การประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ (ที่สะท้อนความ หนา้ เชือ่ ถอื การยอมรับผ่านบุคคล/ชุมชน/องคก์ ร/รางวลั /ใบประกาศ/การจดทะเบยี นลิขสิทธ์ิ สือ่ ดิจทิ ลั / เอกสารเผยแพร่ แผ่นพบั คลิปVDO ฯลฯ ( ) ยงั ไม่เคยมีการเผยแพร่/ใชเ้ ฉพาะบุคคล ( ) เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน ( ) มีการเผยแพรผ่ ่านส่อื มวลชนและสื่ออนื่ อย่างแพรห่ ลาย ( / ) มีการดูงานจากบุคคลภายนอก จานวน 10 ครงั้ จานวน 200 คน ( / ) มีการนาไปใช้ ในพ้ืนที่ 200 คน นอกพื้นท่ี - คน ( ) อ่นื ๆ (ระบ)ุ เปน็ ศนู ยเ์ รียนรูเ้ ร่อื งของการ - การเลี้ยงไกพ่ ้ืนบ้าน - การเล้ยี งกบ - การทาปุย๋ หมกั - การทาการเกษตรแบบผสมผสาน 4. ลักษณะของเครอื ขำ่ ยและกำรสรำ้ งเครอื ขำ่ ย เปน็ ศนู ย์การเรยี นทีร่ ู้ ท่ี กศน. ตาบลบุญทัน และ เทศบาลตาบลบญุ ทนั เกษตรอาเภอสุวรรณคูหา เขา้ ไปให้การสนบั สนนุ 5. ผลงำนทเี่ ป็นประโยชน์ต่อชุมชนและสงั คม เป็นผู้นาในเรอ่ื งการทาเกษตรผสมผสาน ซงึ่ ทาให้ครอบครวั มีหลายได้ตอ่ เดอื นหลายหม่ืนบาท สามารถเปน็ สถานที่หรือแหล่งเรยี นรู้ใหค้ นในชมุ ชนไดม้ าศึกษาวิธีการเล้ยี งและการทาปุย๋ หมกั ไวใ้ ช้เอง

ทีป่ รึกษำ ไชยพรมมา คณะผู้จัดทำ นายวรวฒุ ิ ตาแหนง่ ครู รักษาการในตาแหน่ง นายวชรพล เพียเทพ ผอ.กศน.อาเภอสุวรรณคูหา ตาแหน่ง ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน นายอภิชาต สทุ ธโิ สม ตาแหนง่ ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น นางสวุ รรณา สุทธิโสม ตาแหน่ง ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น คณะทำงำน สมทอง ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นางอัครอนงค์ ปญั ญาพทุ ธิกลุ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นายพสิ ษิ ฐ์พล ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ยาพนั ธ์ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นายรัชพล จงั พล ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นางสาวยศพร ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล สีทาสังข์ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นายไมตรี ไชยโพธิ์ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นางสภุ าวดี พันธ์ลี ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นางสาววงคเ์ ดอื น ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล คาสีทา ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นายอฒั ชา บารงุ ภักดี ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นายนิพนธ์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วงคอ์ นนั ท์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นายพิชยั รัตน์ พิมพจ์ อ่ ง ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นางสาวหทยั รตั น์ บญุ หนา ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นางสาวนรนิ ทรา ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ประครองญาติ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นายจตุพนธ์ พรชยั ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นางสาวศุภชั ญา ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล พรชัย ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นายทรงศักด์ิ อาเคน ตาแหนง่ ครู ศรช. นางสาวพรปวณี ์ โคตุราช ตาแหนง่ ครู ศรช. นายพิสษิ ฐ ตาแหนง่ ครผู สู้ อนคนพิการ ชาวดอน นายทวีวิทย์ ทุมวัน ตาแหน่ง บรรณารักษ์ นางยุพรตั น์ ใหม่วงษ์ นางฐิติพรรณ คาสีทา นายอฒั ชา ทนุ่ ใจ นางสาวปรียารัตน์ ศรีใชย นางสาววาสกุ รี หลาวเหลนก นางสาวรัตนาภรณ์ ผู้รวบรวม/เรียบเรยี ง/จัดทำรูปเล่ม นางสาวเบญจมาศ โคตรเพชร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook