Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาท้องถิ่น มี.ค.63

ภูมิปัญญาท้องถิ่น มี.ค.63

Description: ภูมิปัญญาท้องถิ่น มี.ค.63

Search

Read the Text Version

ทำเนียบแหลง่ เรยี นรู้ อำเภอสวุ รรณคหู ำ จงั หวดั หนองบวั ลำภ ู ประจำเดือน มีนำคม ๒๕๖๓ ศนู ยก์ ำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั อำเภอสวุ รรณคหู ำ สำนกั งำน กศน. จงั หวดั หนองบวั ลำภ ู สำนกั งำนปลดั กระทรวงศึกษำธิกำร กระทรวงศึกษำธิกำร

คำนำ สารสนเทศทาเนียบแหลง่ เรียนรู้ อาเภอสวุ รรณคูหา จังหวัดหนองบัวลาภู ฉบับนี้ จัดทาข้ึน เพื่อรวบรวมแหล่งเรียนรู้ เช่น แหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถ่ินใน เขตอาเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลาภู เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมขององค์ความรู้ที่หลากหลาย พร้อมท่ีจะให้ผู้สนใจเข้าไปศึกษาค้นคว้าด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกันของแต่ละ บุคคล เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นแหล่งเช่ือโยงให้สถานศึกษาและชุมชนมี ความสมั พนั ธ์ใกล้ชดิ กนั การจัดทาขอ้ มลู แหลง่ เรยี นรู้ อาเภอสุวรรณคูหา จังหวดั หนองบวั ลาภู ในครั้งน้ี ไดร้ ับความ ร่วมมืออย่างดีย่ิงจากชุมชน จึงขอขอบคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สารสนเทศทาเนียบแหล่งเรียนรู้นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อบุคคล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือใช้เป็น แนวทางในการดาเนนิ งานใหม้ ีประสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธผิ ลยง่ิ ขึน้ ไป หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสุวรรณคหู า กศน.อาเภอสุวรรณคูหา มีนาคม 2563

สำรบญั หนา้ 4 ภูมิปญั ญาท้องถ่ินตาบลนาดี 6 ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นตาบลนาสี 10 ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินตาบลกดุ ผึ้ง 15 ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ินตาบลนาดา่ น 19 ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นตาบลดงมะไฟ 22 ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นตาบลสวุ รรณคหู า 25 ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ตาบลบา้ นโคก 29 ภมู ิปัญญาท้องถ่ินตาบลบญุ ทนั

ประวตั แิ ละผลงานครภู ูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ตาบลนาดี อาเภอสวุ รรณคูหา จังหวดั หนองบวั ลาภู ด้านการเกษตร สาขาเกษตรอนิ ทรยี ์ นายบญุ สง่ มลู เพญ็



ประวตั แิ ละผลงานครูภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ตาบลนาดี อาเภอสวุ รรณคหู า จงั หวัดหนองบัวลาภู ดา้ น เกษตร สาขา เกษตรอนิ ทรีย์ 1. ประวตั ิและผลงาน นายบญุ ส่ง มลู เพ็ง หมายเลขบตั รประชาชน วันเดือนปดเกิด 6 01 00930 34112 28 กรกฎาคม พ 2511 .ศ.ที่อยปู่ จั จบุ นั แขวง/ตาบล 1 หมู่ท่ี 180 บ้านเลขท่ี )ทส่ี ามารถติดต่อได้( นาดอี าเภอเขต / สุวรรณคูหา จังหวัด หนองบัวลาภู รหัสไปรษณีย์ 39200 โทรศัพท์ โทรสาร 0016-363-083 -Line ID 0016-363-083เดิมทีเป็นเกษตรกรท่ีประกอบอาชีพทานา ในการทานา นายบุญ ส่งได้ใช้สารเคมีในการกาจัดวัชพืชและใช้ปุ๋ยเคมีในการเพิ่มผลผลิต พอใช้สารเคมีมานานก็เกิดอาการแพ้ สารเคมี และพืชผลทางการเกษตรกไ็ ด้ผลผลิตลดนอ้ ยลงทาใหน้ ายบุญสง่ ไดศ้ ึกษาเรยี นรทู้ ีจ่ ะทาเกษตรแบบไม่ ใช้สารเคมี จึงได้ศึกษาและเขา้ อบรมการทาเกษตรแบบไม่ใช้สารเคมี การทาปุ๋ยหมักชีวภาพ พร้อมกับทดลอง ปลกู พชื แบบไม่ใชส้ ารเคมพี ร้อมทง้ั ศกึ ษาการคัดเมล็ดพนั ธ์ข้าวจนสามารถคดั เมลด็ พนั ธ์ข้าวไวป้ ลูกได้เอง โดยท่ี ข้าวสายพันธ์นัน้ ไมม่ ีการกลายพันธ์ 2. องค์ความรู้และความเชี่ยวชาญ 1. การคัดพันธข์ ้าวไวใ้ ชเ้ องในครวั เรือน 2. การทาเกษตรอินทรยี ์ 3.การถา่ ยทอดความรู้และความเชี่ยวชาญ เป็นวิทยากรให้ความรู้เร่อื งการเกษตรอนิ ทรยี ์ 4. ลกั ษณะของเครือขา่ ยและการสร้างเครือขา่ ย เป็นวิทยาให้ความรู้ 5. ผลงานท่เี ป็นประโยชนต์ ่อมชุมชนและสังคม เป็นวทิ ยากรใหค้ วามรู้

ประวัตแิ ละผลงานครภู มู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ตาบลนาสี อาเภอสวุ รรณคหู า จงั หวดั หนองบวั ลาภู ด้าน การเกษตร สาขา เกษตรทฤษฎใี หม่ นายเคน ชาลีกลุ

ประวัตแิ ละผลงานครภู ูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ตาบลนาสี อาเภอสวุ รรณคูหา จังหวดั หนองบวั ลาภู ด้าน เกษตร สาขาเกษตรทฤษฎใี หม่ 1. ประวัติและผลงาน นายเคน ชาลกี ุล เปน็ บคุ คลที่ได้นาเอาความรู้ในเรื่องปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตามแนวทาง ของในหลวงรชั กาลที่ โดยไดศ้ กึ ษาและทดลองเรือ่ งของเกษตรทึษฎีใหม่ 9เก่ยี วกบั การจดั พน้ื ท่ีดินเพื่อการ อยู่อาศัยและมีชีวิตอย่างย่ังยืน โดยมีแบ่งพ้ืนที่เป็นส่วน ๆ ได้แก่ พ้ืนที่น้า พื้นท่ีดินเพื่อเป็นที่นาปลูกข้าว พื้น ที่ดินสาหรับปลูกพืชไร่นานาพันธ์ุ และท่ีสาหรับอยู่อาศัยและเลี้ยงสัตว์ ในอัตราส่วน 30:30:30:10 เป็น หลกั การในการบริหารการจดั การที่ดนิ และนา้ เพ่อื การเกษตรในท่ีดนิ ขนาดเล็กให้เกิดประสทิ ธิภาพสงู สุด เมอื่ ได้ลงมือทาจงึ ไดเ้ ห็นว่าเร่ืองของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเกษตรทึษฎีใหม่ เปน็ สง่ิ ท่เี ราสามารถนามาใช้ เพอ่ื ดารงชวี ิตได้จริง จึงไดข้ ยายพ้ืนที่ และไดเ้ ปิดให้บุคคลท่ีสนใจสามารถาเขา้ ศกึ ษาดงู านและให้ความรู้ตาม ประสบการณ์ที่ได้ทดลองทามาเป็นระยะเวลา 10 ปด และได้เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทึษฎีใหม่ ประจาตาบลนาสี .2 องค์ความรแู้ ละความเช่ียวชาญ เป็นศูนยเ์ รยี นรเู้ ร่อื งของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทึษฎใี หม่ ท่ีสามารถเขา้ ไปศกึ ษาดงู านได้ โดย เป็นการศึกษาตามสภาพจริง โดยจะมีฐานการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ทส่ี ามารถนาไปปรบั ใชไ้ ด้ เชน่ ฐานการเรียนรกู้ าร ทาปยุ๋ จากพชื ตา่ ง ๆ ฐานการทากา๊ ชหุงต้มจากมูลสัตว์ ฐานการเล้ียงปลาในกระชังและบอ่ ฐานการเลย้ี งไก่ ไข่ ฐานหญ้าแฝก .3การถา่ ยทอดความร้แู ละความเช่ยี วชาญ เป็นศูนย์เรียนรเู้ รอ่ื งของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทึษฎใี หม่ ท่ีสามารถเขา้ ไปศกึ ษาดงู านได้ โดย เปน็ การศกึ ษาตามสภาพจริง โดยจะมีฐานการเรียนรตู้ ่าง ๆ ท่ีสามารถนาไปปรับใชไ้ ด้ เชน่ ฐานการเรยี นร้กู าร ทาปยุ๋ จากพชื ตา่ ง ๆ ฐานการทากา๊ ชหงุ ตม้ จากมูลสัตว์ ฐานการเล้ียงปลาในกระชงั และบอ่ ฐานการเล้ยี งไก่ ไข่ ฐานหญ้าแฝก 4ลักษณะของเครือขา่ ยและการสรา้ งเครือขา่ ย . เป็นศูนยก์ ารเรียนทร่ี ู้ ท่หี น่วยงานของรัฐเขา้ ไปมีส่วนร่วม เชน่ เกษตร ประมง พัฒนาชมุ ขน โดย ไดร้ ว่ มมือกัน 5. ผลงานทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อชมุ ชนและสงั คม เป็นผู้นาในเรื่องการใช้หลักเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ และเห็นผลประจักษ์ และเป็นผู้ให้คาแนะนาให้ ความรกู้ บั ประชาชนทส่ี นใจ

การเลย้ี งววั การทาป๋ยุ การทาก๊าชหงุ ต้มจากมลู สตั ว์

ประวตั แิ ละผลงานครูภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ตาบลกุดผง้ึ อาเภอสวุ รรณคหู า จังหวดั หนองบวั ลาภู ดา้ น เกษตรกรรรม สาขา เกษตรแบบผสมผสาน นายสรุ ิยนั ปลดั ศรี



ประวตั ิและผลงานครูภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ตาบลกดุ ผึง้ อาเภอสุวรรณคูหา จังหวดั หนองบัวลาภู ด้าน เกษตรกรรม สาขา เกษตรแบบผสมผสาน 1. ประวัติและผลงาน นายสุริยัน ปลัดศรี เกิดเมื่อวันที่ ปัจจะบนั นายสรุ ยิ ัน ปลัดศรี เป็นผูใ้ หญ่บ้านนาคาน้อย หมู่ท่ี เรียนจบการศึกษา ระดับัธยมศึกษาตอนปลาย ตาบลกุดผึ้ง อาเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลาภู 8 จากศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาอัธยาศยั อาเภอสุวรรณคูหา มีผลงานการทาปุ๋ยหมักไมพ่ ลิก กลับกอง เป็นเวลา ปด และเป็นบุคคลที่อุทิศตน เสียสละกาลังกาย กาลังทรัพย์ในการเป็นวิทยากรให้ 5 ามสนใจความรู้กับผู้สนใจ และหน่วยงานที่ให้คว นายสริยัน ปลัดศรี มีแนวคิดว่า ปกติในไร่นาของเกษตรกรหลังจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตจะมีเศษ พชื เหลอื อยู่เปน็ จานวนมาก โดยปกตแิ ล้วเกษตรกรจะทาการเผาทงิ้ เพอ่ื เตรียมปลูกพชื ชนดิ อ่ืนตอ่ ทาใหเ้ กิดผล กระทบมากมาย เช่น หมอกควันพิษ ไฟป่า และยังสูญเสียธาตุอาหารในดินอกี ด้วย ดังนั้นการทาปุ๋ยหมักแบบ ไม่พลิกกลับกองจึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ช่วยแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการเผาได้ และยังได้ปุ๋ยหมักที่สามารถ นามาใช้ในการปรบั ปรงุ บารุงดินอกี ทางหนง่ึ ด้วย การทาปุ๋ยหมักแบบไมพ่ ลิก กลับกอง ต่างจากวิธีการทา ปุ๋ยหมักท่ีเคยเรยี นร้มู าแต่เดิมซึ่งหากผลิต ในปริมาณมากจะต้องใช้แรงงานคน หรือ แรงงานเคร่ืองจักรกล มา ช่วยเสริม จึงไม่เหมาะกับการผลิตปุ๋ยไว้ใช้เองเพ่ือลดต้นทุนการผลิต แต่ตามหลักการและขั้นตอนการผลิตป๋ยุ อินทรยี แ์ บบไมพ่ ลิกกลบั กอง สามารถท าเองได้ ไมต่ อ้ งจา้ งแรงงานอพลกิ กลัเคร่อื งจกั รกลเพ่ื/บกอง ซึ่งตา่ งจาก วธิ กี ารผลิตแบบเดมิ หากเกษตรกรนาไปปรบั ใชจ้ ะชว่ ยให้ ลดต้นทุนปจั จัยการผลิตลงได้ 2. องค์ความรูแ้ ละความเช่ียวชาญ นายสรุ ิยัน ปลัดศรี มคี วามรคู้ วามเช่ยี วชาญ ทน่ี าไปถา่ ยทอดให้แก่ผเู้ รียน และผู้คนท่สี นใจ โดยใช้ กระบวนการถ่ายทอดความรู้ที่หลากหลาย เช่นการอธิบาย การสาธิต และให้ผู้เรียนได้ปฏบิ ัติจริงตามหัวข้อ ดังตอ่ ไปน้ี วสั ดอุ ปุ กรณ์ ขนั้ ตอน การรักษา ข้ันตอนการผลิตปยุ๋ อินทรียว์ ิธี วศิ วกรรมแม่โจ้“1” มดี ังนี้ 1. นาฟางข้าวหรือเศษข้าวโพดเล้ียงสัตว์ 4 ส่วน วางเป็นชั้นบางๆ สูงไม่เกิน 10 เซนติเมตร ฐาน กว้าง 2.5 เมตร โดยไม่ต้องเหยียบ โปรยทับด้วย มูลสัตว์ 1 ส่วน แล้วรดน้า ตัวอย่างเช่น วางฟาง(16 เข่ง หนา 10 ซม โรยทับ ด้วยมูลสัตว์ .4 เข่ง เป็นต้น ทาเช่นนี้ )15-10 ช้ัน รดน้าแต่ละชั้นให้มีความชื้น ขึ้นกอง เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความสูง 1.50 เมตร กองปุ๋ยจะมีความยาวเท่าไร ก็ได้ขึ้นอยู่กับปริมาณเศษพืชและมลู สัตว์ความสาคัญของการท่ีต้องทาเป็น ช้ันบางๆ 15-10 ช้ัน ก็เพื่อให้จุลินทรีย์ที่มีอยู่ในมูลสัตว์ได้ใช้ทั้งธาตุ คาร์บอน ท่ีมีอยู่ในเศษพืชและธาตุไนโตรเจนท่ีมีในมลู สัตว์ในการเจริญเติบโตและ สร้างเซลล์ ซึ่งจะทาให้การ ย่อยสลายวัตถุดิบเป็นไปได้อย่างรวดเร็วรักษาความช้ืนภายในกองปุ๋ยให้มีความเหมาะสมอยู่เสมอ ตลอดเวลา มคี ่าประม(าณร้อยละ 60-00( โดยมี 2 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนท่ี 1 รดน้าภายนอกกองปยุ๋ วันละครงั้ โดยไม่ใหม้ ีนา้ ไหลนองออกมาจากกองปุ๋ยมากเกนิ ไป ขัน้ ตอนที่ 2 เม่อื ครบวนั ที่ 10 ใชไ้ ม้แทงกองปุย๋ ใหเ้ ป็นรลู ึกถงึ ข้างล่างแลว้ กรอกน้าลงไประยะห่างของ รูประมาณ 40 เซนติเมตร ทาขั้นตอนที่สองนี้ 5 ครั้ง ระยะเวลาห่างกัน 10 วัน เม่ือเติมน้าเสร็จแล้วให้ปิดรู เพ่ือไมใ่ ห้สูญเสยี ความร้อนภายในกองปุ๋ย ขั้นตอนน้ีแม้ว่าอยู่ในช่วงของึดูฝนก็ยังต้องทา เพราะน้าฝนไม่สามารถไหลซึมเข้าไปในกองปุ๋ยได้ จากข้อดีที่ นา้ ฝนไม่สามารถชะลา้ งเขา้ ไปในกองป๋ยุ ได้ เกษตรกรจึงสามารถผลิตป๋ยุ อนิ ทรยี ์ดว้ ยวธิ นี ี้ใน ึดฝู นไดด้ ้วย

ภายในเวลา 5 วันแรก กองปุ๋ยจะมีค่าอุณหภูมิสูงขึ้นมาก บางคร้ังสูงถึง 00 องศาเซลเซียส ซ่ึงเป็นเร่ืองปกติ สาหรับกองปุ๋ยท่ีทาได้ถูกวิธี ความร้อนสูงนี้ เกิดจากกิจกรรมการย่อยสลายของจุลินทรยี ์ จุลินทรีย์มีมากมาย( างานของและความร้อนสูงนีย้ ังเป็นสภาวะแวดล้อม ท่ีเหมาะสมกับการท )และ หลากหลายในมูลสัตว์อยู่แล้ว จลุ ินทรยี ์ กลมุ่ ( จุลินทรยี ใ์ นกองปุ๋ยอกี ดว้ ยThermophiles และ Mesophiles( หลงั จากนัน้ อณุ หภูมจิ ะค่อยๆ ลดลง จนมคี า่ อณุ หภูมปิ กตทิ ่อี ายุ 60 วัน ห้ามในการผลิตปยุ๋ สูตร “วิศวกรรมแมโ่ จ้” 1. หา้ มขึ้นเหยยี บกองปยุ๋ ให้แน่น หรือเอาผา้ คลุมกองปุย๋ หรอื เอาดินปกคลมุ ด้านบนกองป๋ยุ เพราะจะ ทาใหอ้ ากาศไมส่ ามารถไหลถ่ายเทได้ 2. ห้ามละเลยการดูแลความช้ืนท้ัง 2 ข้ันตอน เพราะถ้ากองปุ๋ยแห้ง เกินไปจะทาให้ระยะเวลาแล้ว เสรจ็ นานและปุย๋ อนิ ทรียม์ ีคุณภาพตา่ 3. ห้ามวางเศษพืชเป็นชั้นหนาเกินไป การวางเศษพืชเป็นชั้นหนา เกินไปจะทาให้จุลินทรีย์ที่มีในมูล สัตว์ไมส่ ามารถเข้าไปย่อยสลายเศษพืชได้ 4. ห้ามทากองปุ๋ยใต้ต้นไม้ เพราะความรอ้ นของกองปยุ๋ อาจทาให้ตน้ ไม้ตายได้ 5. หา้ มระบายความรอ้ นออกจากกองป๋ยุ เพราะความรอ้ นสูงในกองปุย๋ จะชว่ ยให้จุลินทรีย์ทางานได้ดี มากขน้ึ และยังชว่ ยให้เกดิ การไหลเวียนของอากาศผา่ นกองป๋ยุ อีกดว้ ย ข้อควรรขู้ องการทาปยุ๋ สตู ร “วิศวกรรมแม่โจ้ 1” 1. หัวใจสาคัญของการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ด้วยวิธีน้ี คือ ต้องรักษาความช้ืนภายในกองปุ๋ยให้มีความ เหมาะสมอยู่เสมอตลอดเวลาทั้งภายในและภายนอกกองปุ๋ยด้วยวิธีการ 2 ข้ันตอนข้างต้น บริเวณใดท่ีแห้ง เกนิ ไปหรอื แฉะเกินไปจุลนิ ทรียจ์ ะไมส่ ามารถย่อยสลายได้ ทาใหว้ สั ดไุ ม่ยอ่ ยสลาย กระบวนการอาจใช้เวลานาน ถึง 6 เดือนถึง 1 ปกด ไ็ ด้ 2. วตั ถดุ ิบในการทาปุ๋ยสูตรน้ี จาเปน็ ตอ้ งเปน็ เทา่ น้นั หรือไม่ ”มูลหม“ู กบั ”ฟางข้าว“? เศษพืชชนิดอน่ื นอกจากฟางขา้ วที่เกษตรกรสามารถนามาใช้ผลิตปุ๋ยอินทรียว์ ิธนี ี้ ไดแ้ ก่ เศษพืชทีเ่ หลอื จากการ เกษตรกรรมทกุ ชนดิ เช่น ซังและเปลือกข้าวโพด ต้นถ่ัวเหลือง เปลอื กถั่ว เปลือกผลไม้ ผกั ตบชวา เศษผักจาก ตลาด และเศษใบไมท้ ้ังแหง้ และสด เป็นต้น ส่วนมลู สัตวส์ ามารถนามาใชไ้ ด้ทั้งมลู โค มลู ไก่ มูลช้าง และมลู สกุ ร โดยไมม่ ีผลตอ่ คุณภาพของปุย๋ อินทรีย์ที่ผลิต ได้ 4. ทาไมกองปุ๋ยต้องสงู 1.5 เมตร ? เหตผุ ลท่ตี ้องทากองปุ๋ยให้สงู 1.5 เมตร นน้ั กเ็ พื่อใหส้ ามารถเก็บกักความร้อนท่ีเกิดจากปฏิกิรยิ าการ ยอ่ ยสลายของจุลนิ ทรยี ์เอาไวใ้ นกองป๋ยุ ซึ่งความร้อนนี้นอกจากจะเป็นสภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะกบั จุลนิ ทรีย์ชนิด ชอบความร้อนสูง (Thermophilic Microorganisms( ท่มี ใี นมลู สตั ว์แลว้ เมอ่ื ความรอ้ นนี้ลอยตัวสงู ขน้ึ จะทา ให้ภายในกองปุ๋ยเกิดเป็นสุญญากาศ ซึ่งจะชักนาเอาอากาศภายนอกท่ีเย็นกว่าไหลเข้าไปภายในกองปุ๋ย เรียกว่า การพาความร้อนแบบ(Chimney Convection( อากาศภายนอกท่ไี หลหมนุ เวียนเขา้ กองปุ๋ยน้ีจะช่วย ทาให้เกิดสภาวะการย่อยสลายของจุลินทรีย์แบบใช้อากาศ โดยไม่ต้องพลิกกลับกองปุ๋ย จึงทาให้ไม่เกิดกลิ่น หรือน้าเสียใดๆ

5. ทากองปยุ๋ เปน็ รูปส่เี หลีย่ มได้หรือไม่? ไม่ได้ เพราะการทาเป็นรูปส่ีเหล่ียมนั้น เม่ืออากาศร้อนในกองปุ๋ยลอยออกจากกองปุ๋ย อากาศเย็นจะ ไหลเข้าไปแทนท่ีในกองปุ๋ยทางด้านข้างตามหลักการของการพาความร้อน แต่จะไม่ไหลเข้าไปข้างในกองปุ๋ย แบบส่เี หลี่ยม เพราะมีโอกาสทจ่ี ะเกดิ การลดั วงจรได้ โดยอากาศเย็นจะไหลไปแทนที่อากาศร้อนเฉพาะบริเวณด้านข้างของกองปุ๋ยเท่านั้น ส่งผลให้ไม่มีออกซิเจน สาหรับจุลินทรีย์บริเวณกลางกองปุ๋ย เพ่ือใช้ในการย่อยสลาย เม่ือไม่มีอากาศการย่อยสลาย จะเปล่ียนไปเป็นแบบไม่ใช้อากาศท่ีส่งกลิ่นเหม็น วัสดุจะกลายเป็นกรด มีน้าเสียออกมา และกระบวนการใช้ เวลานานกว่า การทากองเป็นรูปสามเหล่ียมจะบังคับให้ทุกส่วนของกองปุ๋ยได้รับอากาศที่ไหลเวียนเข้าไป กระบวนการย่อยสลายจึงเป็นแบบใช้อากาศที่ไม่มีกลิ่น วัสดุมีความเป็นกรดด่างท่ีเป็นกลาง และใช้เวลาย่อย สลายสั้นกวา่ 3. การถ่ายทอดความรแู้ ละความเชย่ี วชาญ นายสุริยนั ปลัดศรี ถ่ายทอดความร้กู ารทาปยุ๋ หมักไม่พลกิ กลับกอง ทั้ง รปู แบบการใหค้ วามรู้ การ สาธติ แบะการปฏบิ ัติจรงิ เป็นวิทยากรสอนการทาปุ๋ยหมักไม่พลกิ กลบั กอง ให้กลุ่ม อสม 50 .คน เปน็ วิทยากรสอนการทาปุย๋ หมกั ไมพ่ ลกิ กลับกอง ใหก้ ารศกึ ษาตอ่ เน่อื ง คน 40 เป็นวทิ ยากรสอนการทาปยุ๋ หมักไมพ่ ลิกกลับกอง ใหก้ ลุม่ ผู้สนใจ คน 100 4. ลกั ษณะของเครอื ข่ายและการสรา้ งเครอื ขา่ ย นายสรยุ นั ปลัดศรี มีเครือข่ายและมีการสรา้ งเครอื ข่าย มีเครือข่ายท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ดงั น้ี 1. ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอสุวรรณคูหา 2. กศนตาบลกุดผ้ึง. 3. รพกดุ ผึง้ .สต. 4. องค์การบริหารส่วนตาบลกดุ ผ้งึ 5. สานกั งานเกษตรอาเภอสวุ รรณคหู า 6. สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอสุวรรณคูหา นาสรยิ นั ปลดั ศรี มกี ารสร้างเครือข่าย โดยการเป็นวทิ ยากรการทาปยุ๋ หมกั ไม่พลิกกลบั กอง ท้ัง ภาครฐั และภาคเอกชน ตลอดจนได้เชิญชวนผสู้ นใจเพอื่ ใหม้ าศึกษาดงู าน และมีการประชาสมั พันธ์ ให้กบั ภาคีเครอื ข่าย และประชาชนผู้สนใจได้เรียนรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 5. ผลงานทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนและสงั คม นายสรุ ิยัน ปลัดศรี เปน็ บุคคลท่ีเปน็ ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนสงั คม โดยไดอ้ ุทศิ ตนในการเปน็ วิทยากร ใหแ้ ก่บุคคลและชุมชน ต้ังแต่ปด พ 2559 .ศ.เป็นตน้ มา 6. รางวลั หรือเกียรติคณุ ท่ไี ด้รับ พ 2550 .ศ.ไดร้ ับเกยี รตบิ ตั ร เกษตรกรดเี ดน่ พ 2559 .ศ.ไดร้ ับเกยี รตบิ ัตร วทิ ยากรดเี ดน่ ของ กศนวรรณคหู าอาเภอสุ.

ประวตั ิและผลงานครภู มู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ตาบลนาดา่ น อาเภอสุวรรณคูหา จงั หวดั หนองบวั ลาภู ดา้ น อุตสาหกรรมและหตั ถกรรม สาขา การทอผา้ พ้นื เมอื ง นางกรรณกิ าร์ จนั ทรพทิ กั ษ์



ประวัติและผลงานครภู ูมปิ ัญญาท้องถิน่ ตาบลนาด่าน อาเภอสุวรรณคูหา จงั หวดั หนองบวั ลาภู ดา้ น เกษตรกรรม สาขา การเล้ียงหนูนา 1. ประวตั ิและผลงาน ก่อนทจ่ี ะมาเปน็ กลุม่ วสิ าหกิจชุมชน ได้เปน็ กลมุ่ แม่บ้านเกษตรกรมากอ่ น ตอ่ มาไดจ้ ดั ต้งั กลุ่มวสิ าหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญตั ิส่งเสริมวสิ าหกิจชมุ ชน พ.ศ. 2548 ข้นึ เพอื่ ร่วมกันผลิตสินคา้ ออกจาหน่ายให้ทันตาม ความตอ้ งการ คอื “กลุม่ ทอผ้าพืน้ เมอื ง” สนิ คา้ ส่วนใหญ่ดว้ ยการทอมอื ได้ผ่านมาตรฐานชุมชน )มผช.( ผลติ ภัณฑบ์ างอย่างมลี กู ค้าส่งั ซ้ือเปน็ จานวนมากและเพม่ิ ขน้ึ เรอื่ ย ๆ จงึ ตอ้ งใชเ้ คร่ืองทอเสน้ ดา้ ยเข้ามาช่วยบา้ ง เพ่ือสรา้ งความหลากหลายแก่ลกู คา้ ใหเ้ ลือกซ้ือได้ตามความตอ้ งการ 2. องค์ความรู้และความเชี่ยวชาญ ถ่ายทอดความรเู้ รื่องการแปรรูปผลิตภัณฑ์เรื่อง ผ้า การทอผ้านัน้ จะตอ้ งมีเคลด็ ลับในการทอ ตอ้ งมีความคดิ สรา้ งสรรค์ เพ่อื ให้ แปลกจากคนอ่นื เพือ่ ให้เปน็ จุดสนใจของลกู ค้าและตอ้ งควบคมุ กระบวนการผลติ ทกุ ข้ันตอน ใหไ้ ดม้ าตรฐาน วัสดุตกแตง่ ตอ้ งตดิ แนน่ ไม่หลุดได้ง่าย 3. การถ่ายทอดความรแู้ ละความเช่ียวชาญ ถ่ายทอดความร้เู รอื่ งการแปรรปู ผลิตภัณฑ์เรอื่ ง ผ้า การทอผ้าน้ัน จะตอ้ งมเี คล็ดลับในการทอ ตอ้ งมีความคิดสรา้ งสรรค์ เพอ่ื ให้ แปลกจากคนอื่น เพื่อให้เป็นจุดสนใจของลกู ค้า และต้องควบคุมกระบวนการผลิตทุกขั้นตอนให้ได้มาตรฐาน วัสดุตกแตง่ ตอ้ งตดิ แนน่ ไม่หลดุ ไดง้ า่ ย และผลติ เคร่อื งน่งุ ห่มทีห่ นา นมุ่ อบอุ่นสาหรับไวใ้ ช้กนั หนาวในครอบครัว ดว้ ยการผ้าฝ้าย หรอื เสน้ ด้ายด้วยการทอซงึ่ เรยี กวา่ การทอผ้า เป็นผนื ผา้ พนั คอ ผ้าขาวมา้ ฯลฯ ผลผลิตเป็นที่สนใจแก่นักทอ่ งเท่ยี ว และผูค้ นในชมุ ชน จึงนาออกจาหนา่ ยเพม่ิ รายได้แกค่ รอบครัว การพฒั นาผลิตภัณฑ์จากผา้ ทอมือ 4. ลกั ษณะของเครือขา่ ยและการสรา้ งเครอื ข่าย ถา่ ยทอดความรเู้ ร่ืองการแปรรูปผลิตภัณฑ์เรอ่ื ง ผ้า การทอผ้านั้นจะต้องมีเคล็ดลับในการทอ ต้องมีความคดิ สรา้ งสรรค์ เพ่อื ให้ แปลกจากคนอ่ืน เพื่อให้เปน็ จุดสนใจของลูกค้าและต้องควบคมุ กระบวนการผลิตทกุ ข้นั ตอน ใหไ้ ด้มาตรฐาน วัสดตุ กแตง่ ตอ้ งติดแนน่ ไม่หลุดได้ง่าย 5. ผลงานที่เป็นประโยชนต์ ่อชมุ ชนและสังคม ผลิตเครอื่ งนุ่งหม่ ที่หนา นมุ่ อบอุ่นสาหรับไวใ้ ชก้ ันหนาวในครอบครัว ดว้ ยการผา้ ฝ้าย หรือเส้นด้ายด้วยการทอ ซงึ่ เรยี กว่า การทอผ้า เปน็ ผืน ผ้าพันคอ ผา้ ขาวมา้ ฯลฯ 6. รางวัลหรอื เกียรติคณุ ท่ไี ด้รบั กล่มุ วิสาหกจิ ชุมชน ได้เป็นกลมุ่ แม่บ้านเกษตรกรมากอ่ น ตอ่ มาได้จัดต้งั กล่มุ วสิ าหกิจชุมชนตามพระราชบัญญตั ิ ส่งเสริมวิสาหกิจชมุ ชน พ.ศ. 2548 ขึน้ เพ่อื ร่วมกนั ผลติ สินค้าออกจาหน่ายใหท้ นั ตามความตอ้ งการ คอื “กลมุ่ ทอผา้ พ้นื เมือง” สนิ คา้ สว่ นใหญ่ด้วยการทอมอื ได้ผา่ นมาตรฐานชมุ ชน )มผช.( ผลิตภัณฑ์บางอยา่ งมีลกู คา้ สั่งซ้อื เป็นจานวนมากและเพิ่มขึน้ เรอื่ ยๆ

ประวัตแิ ละผลงานครภู ูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ตาบลดงมะไฟ อาเภอสุวรรณคูหาจังหวัดหนองบวั ลาภู ดา้ น การเกษตร สาขา การเล้ยี งหนนู า นายกรภัทร เมยมงุ คุณ

การเล้ียงหนนู า พอ่ พนั ธห์ นนู า โรงเรอื นบ่อปูนซเี มนต์

ประวัติและผลงานครภู มู ิปญั ญาท้องถิ่น ตาบลดงมะไฟ อาเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบวั ลาภู ดา้ น การเกษตร สาขาการเลีย้ งหนนู า 1. ประวัติและผลงาน การเล้ยี งหนนู าในบอ่ ปูนซีเมนต์ นายกรภทั ร เมยมุงคณุ เกษตรกรเลย้ี งหนนู าหรือหนูพกุ / ในบอ่ ซีเมนต์ เปดิ เผยว่า ก่อนหน้าท่ีจะมาเล้ียงหนพู ุก ได้ประกอบอาชพี เลี้ยงไกม่ ากอ่ น ปรากฏวา่ ตอ้ งใช้ตน้ ทนุ ในการเล้ียงสงู แต่ราคาไมค่ ่อยดี จึงได้หนั มาทดลองเล้ยี งหนใู นบอ่ ซีเมนต์ โดยไดไ้ ปซอื้ พ่อ พนั ธุ์ แม่พนั ธุม์ าจาก อาเภอหนองวอซอ จงั หวัดอดุ รธานี จานวน-6 ตัว เลยี้ งจนได้ลกู มา จึงขยายพันธุ์ เพม่ิ มากขึ้นเรื่อย ๆ ปัจจุบนั นี้มหี นูพอ่ พันธุ์ แม่พนั ธุ์ ประมาณ-90 ตัว หนขู นุ ประมาณ 100 ตวั รวมทั้งลูกหนูท่อี อกใหม่ แลว้ มีหนรู วมทัง้ สิ้นมากกว่า 300 ตัว ซึ่งการเลย้ี งหนูนัน้ ถือวา่ เล้ยี งง่ายไมม่ ี ปญั หาอะไร ขยายพันธไ์ุ ดเ้ รว็ .2 องคค์ วามรแู้ ละความเชีย่ วชาญ เป็นศูนยเ์ รียนรเู้ ร่อื งของการเลีย้ งหนนู าในบ่อปนู ซเี มนต์ การขยายพ่อพันธ์ แม่พนั ธ์หนนู า การ รักษาโรงเรอื น ตลอดจนการรกั ษาโรคท่ีมากับหนูนา .3การถ่ายทอดความร้แู ละความเชีย่ วชาญ เป็นศูนยเ์ รียนรเู้ รื่องของการเลีย้ งหนนู าทส่ี ามารถเล้ยี งเองได้ตามบา้ นหรอื ท่ีโล่ง ควรมสี ถานท่ีสาหรับ ทาโรงเรือน ทท่ี ีม่ ีอากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก มีลูกค้ามาตดิ ต่อขอซ้อื ถงึ ฟารม์ และไดใ้ ห้ข้อมูลการเลี้ยงการดแู ล หนนู า 4ลักษณะขอ .งเครอื ข่ายและการสรา้ งเครือข่าย เป็นศูนย์การเรยี นทร่ี ู้ ท่กี ศนตาบลดงมะไฟ และ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลดงมะไฟ เกษตรอาเภอ. สุวรรณคหู า เขา้ ไปให้การสนับสนุน 5. ผลงานทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนและสงั คม เปน็ ผู้นาในเรอ่ื งการเลี้ยงหนูนา ซึ่งทาให้ครอบครัวมีหลายได้ต่อเดือนหลายหมน่ื บาท สามารถเปน็ สถานที่หรือแหล่งเรยี นรใู้ ห้คนในชมุ ชนได้มาศึกษาวธิ ีการเล้ยี งดู

ประวตั แิ ละผลงานครภู มู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ตาบลสวุ รรณคหู า อาเภอสุวรรณคหู า จังหวัดหนองบวั ลาภู ด้านศิลปหัตถกรรม สาขาการทอผา้ พื้นเมอื ง นางไหล พลสงคราม



ประวตั แิ ละผลงานครภู มู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ตาบลสุวรรณคหู า อาเภอสวุ รรณคหู า จังหวัดหนองบัวลาภู ด้าน ศลิ ปหัตถกรรม สาขา การทอผา้ พืน้ เมือง .1ประวัตแิ ละผลงาน ก่อนท่จี ะมาเป็นกลมุ่ วิสาหกิจชุมชน ไดเ้ ป็นกลุ่มแม่บา้ นเกษตรกรมากอ่ น ตอ่ มาได้จดั ตงั้ กลุ่มวิสาหกิจ ชมุ ชนตามพระราชบญั ญัติส่งเสริมวสิ าหกิจชุมชน พ .ศ.2548 ข้นึ เพอ่ื ร่วมกนั ผลติ สินคา้ ออกจาหน่ายให้ทัน ตามความตอ้ งการ คอื “กลมุ่ ทอผา้ พ้นื เมือง” สินคา้ สว่ นใหญ่ดว้ ยการทอมือ ได้ผ่านมาตรฐานชมุ ชน ).มผช( ผลติ ภัณฑบ์ างอยา่ งมีลกู คา้ สงั่ ซื้อเป็นจานวนมากและเพมิ่ ขึ้นเร่อื ย ๆ จงึ ตอ้ งใช้เคร่อื งทอเสน้ ด้ายเข้ามาช่วยบา้ ง เพอ่ื สร้างความหลากหลายแก่ลกู คา้ ให้เลอื กซื้อได้ตามความต้องการ .2องค์ความรู้และความเช่ยี วชาญ ถ่ายทอดความรเู้ รอ่ื งการแปรรปู ผลิตภัณฑ์เรื่อง ผ้า การทอผ้านนั้ จะต้องมเี คล็ดลับในการทอ ต้องมี ความคิดสรา้ งสรรค์ เพือ่ ให้ แปลกจากคนอนื่ เพื่อใหเ้ ป็นจุดสนใจของลูกคา้ และตอ้ งควบคุมกระบวนการผลิต ทกุ ขน้ั ตอนให้ไดม้ าตรฐาน วัสดตุ กแต่งตอ้ งตดิ แน่น ไม่หลุดได้งา่ ย .3การถา่ ยทอดความรู้และความเชี่ยวชาญ ถา่ ยทอดความรู้เรอื่ งการแปรรูปผลิตภัณฑ์เร่ือง ผ้า การทอผ้าน้นั จะต้องมเี คล็ดลับในการทอ ต้องมี ความคิดสร้างสรรค์ เพอ่ื ให้ แปลกจากคนอ่นื เพอื่ ให้เป็นจุดสนใจของลูกค้าและตอ้ งควบคุมกระบวนการผลิต ทกุ ขั้นตอนให้ไดม้ าตรฐาน วสั ดตุ กแต่งตอ้ งติดแน่น ไมห่ ลุดไดง้ า่ ย และผลิตเคร่ืองนุ่งห่มที่หนา นุ่ม อบอนุ่ สาหรบั ไวใ้ ช้กันหนาวในครอบครวั ดว้ ยการผ้าฝ้าย หรอื เส้นด้ายดว้ ยการทอซ่ึงเรยี กว่า การทอผ้า เป็นผืน ผา้ พันคอ ผ้าขาวมา้ ฯลฯ ผลผลติ เป็นที่สนใจแก่นักทอ่ งเท่ยี วและผูค้ นในชุมชน จึงนาออกจาหนา่ ยเพม่ิ รายได้ แกค่ รอบครัว การพัฒนาผลติ ภัณฑจ์ ากผ้าทอมอื .4ลักษณะของเครอื ข่ายและการสร้างเครือข่าย ถา่ ยทอดความรเู้ รื่องการแปรรปู ผลติ ภัณฑ์เรื่อง ผ้า การทอผ้านนั้ จะต้องมีเคล็ดลับในการทอ ตอ้ งมี ความคดิ สรา้ งสรรค์ เพื่อให้ แปลกจากคนอนื่ เพอื่ ให้เป็นจดุ สนใจของลูกคา้ และตอ้ งควบคมุ กระบวนการผลติ ทุกขน้ั ตอนใหไ้ ดม้ าตรฐาน วัสดตุ กแตง่ ต้องติดแน่น ไมห่ ลุดได้งา่ ย .5ผลงานท่ีเปน็ ประโยชนต์ อ่ ชุมชนและสงั คม ผลติ เคร่ืองนุ่งหม่ ทีห่ นา นุ่ม อบอ่นุ สาหรบั ไว้ใช้กันหนาวในครอบครวั ดว้ ยการผ้าฝ้าย หรอื เสน้ ด้าย ด้วยการทอซ่ึงเรยี กวา่ การทอผ้า เปน็ ผนื ผา้ พันคอ ผ้าขาวม้า ฯลฯ .6รางวัลหรอื เกียรติคุณทีไ่ ด้รับ กล่มุ วิสาหกจิ ชมุ ชน ได้เป็นกล่มุ แม่บา้ นเกษตรกรมาก่อน ตอ่ มาได้จัดต้งั กลุ่มวิสาหกิจชมุ ชนตาม พระราชบัญญัตสิ ่งเสรมิ วสิ าหกจิ ชุมชน พ .ศ.2548 ขน้ึ เพ่อื รว่ มกันผลิตสนิ คา้ ออกจาหนา่ ยให้ทันตามความ ต้องการ คอื “กลุ่มทอผ้าพื้นเมือง” สนิ คา้ สว่ นใหญ่ดว้ ยการทอมือ ได้ผา่ นมาตรฐานชุมชน ผลติ ภัณฑ์ ).มผช( มามารถเน่ขมเมขมัวห ิอ้ อ่พเถด้มาม **ัมายเัม*ห *บางอย่างมีลูกค้าสั่งซ้ือเปน็ จานวนมากและเพ่มิ ขน้ึ เรอื่ ย ๆ ความเัมาะมม

ประวตั ิและผลงานครูภูมิปัญญาท้องถิ่น ตาบลบ้านโคก อาเภอสวุ รรณคหู า จังหวัดหนองบวั ลาภู ด้าน ปรชั ญาศาสนาและประเพณี สาขา การทาบายศรสี ขู่ วัญ นายบุบผา สงั เกตุ



ประวตั แิ ละผลงานครภู ูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ตาบลบ้านโคก อาเภอสุวรรณคูหา จังหวดั หนองบวั ลาภู ดา้ น ปรัชญาศาสนาและประเพณี สาขา การทาบายศรสี ขู่ วญั 1. ประวัติและผลงาน นายบุปผา สงั เกต เกิดเมอื่ วนั ที่ 10 กันยายน 2498 เกิดท่ีบา้ นดอนมะซอ่ ม ตาบลบงุ่ คล้า อาเภอเลงิ นกทา จังหวดั อบุ ลราชธานี บิดาชือ่ นายม่นั สังเกต มารดาชอ่ื นางลว้ นสงั เกต ปัจจุบนั นายบุปผา สังเกต ประกอบอาชีพทานา ท่ีอยู่ปัจจุบนั บ้านเลขที่ 553 หมู่ 14 ตาบลบา้ นโคก อาเภอสวุ รรณคูหา จงั หวัด หนองบวั ลาภู นายบุปผาสังเกต เกิดในตระกูลชาวนา เรยี นจบชัน้ ม.3 จาก กศนอาเภอสุวรรณคหู า มผี ลงาน การทาพธิ ีบายศรีสขู่ วญั มาตง้ั แต่พศ. 2540 ถงึ ปจั จุบัน และได้อุทิศตน เพื่อชมุ ชน และสังคม โดยตลอด 2. องค์ความรู้และความเชีย่ วชาญ นายบุปผาสงั เกต มคี วามเชยี่ วดา้ นปรชั ญา ศาสนาและประเพณี ในดา้ นของการทาพิธี บายศรสี ขู่ วัญ และ พิธีกร ในงานต่างๆ สามารถถ่ายทอด องค์ความรใู้ ห้กับผู้สนใจ ดว้ ยวธิ ที ่ีหลากหลาย เชน่ การอธบิ ายบอก เลา่ การสาธิต วิธีการทาบายศรีสู่ขวัญเปน็ ต้น 3. การถา่ ยทอดความรแู้ ละความเช่ียวชาญ นายบุปผา สังเกต ถา่ ยทอดความรดู้ ังนี้ 1. เป็นวทิ ยากร ถ่ายทอดความร้ใู นโรงเรยี นผู้สูงอายุ 2. เป็นวิทยากร ถ่ายทอดความรูใ้ ห้กบั นักศกึ ษากศน และผู้คนทัว่ ไป 4.ลักษณะของเครอื ขา่ ยและการสร้างเครือขา่ ย นายบุปผาสงั เกต เครือข่ายดงั นี้ เครอื ขา่ ยภาครัฐและเอกชน ประกอบดว้ ย 1.กศนอาเภอสวุ รรณคหู า 2.โรงเรียนผู้สงู อายุอบตบ้านโคก 3. กลุม่ เยาวชนตาบลบ้านโคก 5. ผลงานทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนและสงั คม นายบปุ ผา สังเกต มีผลงานทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนและสังคม โดยไดอ้ ุทิศตน เป็นวทิ ยากรใหแ้ ก่ บคุ คลบคุ คล ในเขตอาเภอสุวรรณคูหาตัง้ แต่พศ. 2540 เป็นตน้ มา 6. รางวัลหรือเกยี รติคุณท่ไี ดร้ บั 1.บุคคลผมู้ ผี ลงานดเี ดน่ ด้านภาษา วัฒนธรรม จากหน่วยงาน กศน. 2. เครอื ข่ายพันธมติ ร ธกส. จงั หวัดหนองบวั ลาภู 3. คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโคกท่งุ น้อย

ประวัตแิ ละผลงานครูภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ตาบลบุญทนั อาเภอสวุ รรณคหู า จงั หวดั หนองบวั ลาภู ด้าน การเกษตร สาขา เกษตรทฤษฎีใหม่ นายออ่ น อาสาธง

การเลี้ยงกบ การเลี้ยงไกย่ วง การเลี้ยงปลาดุก ปลาทบั ทิม

ประวัตแิ ละผลงานครูภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ตาบลบญุ ทัน อาเภอสุวรรณคหู า จงั หวัดหนองบวั ลาภู ด้าน การเกษตร สาขา เกษตรทฤษฎใี หม่ 1. ประวตั แิ ละผลงาน เดิมนายอ่อน อาสาธง มภี มู ลิ าเนาบา้ นเกิด ท่ีบ้านเหล่าหนองผงึ้ ต.หนองแวง อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด และได้สมรสกบั นางนาง อปุ ราชา และไดเ้ ร่มิ อาชีพทาอาชพี การเกษตรเพ่ือเลีย้ งครอบครัว ดว้ ยการปลูกข้าวไร่ เพียงอย่างเดียว ต่อมาได้มีหน่วยงานคือ หน่วยงาน สปก. ในสมัยนั้น ได้เข้ามาให้ความรกู้ ับนายอ่อน อาสาธง และได้ส่งนายอ่อน อาสาธง ไปเรียนรู้และอบรมท่ี ศูนย์ศิลปาชีพ ท่ี จ.หนองคาย ในด้านการเกษตรแบบ ผสมผสานตามแนวพระราชดาริฯ ตง้ั แต่น้นั มา นยออ่ น อาสาธง ก็ได้นาความรูท้ ตี่ นเองไดร้ ับการฝกึ อบรมมา ใช้ในการประกอบอาชีพการเกษตร โดยยึดหลกั ตงั้ ม่ันอยู่บนพ้ืนฐานของความพอเพียง 2. องค์ความรแู้ ละความเชี่ยวชาญ - ไดน้ าความร้มู าประยกุ ต์ใช้ในการทาการเกษตรแบบผสมผสานและการทาเกษตรทึษฎใี หม่ตามแนว พระราชดาริฯ ของในหลวง ร.9 3. การถา่ ยทอดความรู้และความเชี่ยวชาญ รูปแบบและลกั ษณะการถ่ายทอด การประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ )ทส่ี ะทอ้ นความ หนา้ เช่ือถอื การยอมรบั ผ่านบุคคล/ชุมชน/องคก์ ร/รางวลั /ใบประกาศ/การจดทะเบยี นลิขสิทธ์ิ ส่ือดิจิทัล/ เอกสารเผยแพร่ แผน่ พับ คลปิ VDO ฯลฯ ) ( ยังไมเ่ คยมีการเผยแพร่/ใชเ้ ฉพาะบุคคล ) ( เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน ) ( มีการเผยแพร่ผ่านส่ือมวลชนและสอ่ื อื่นอย่างแพรห่ ลาย ) / ( มกี ารดูงานจากบุคคลภายนอก จานวน 10 คร้งั จานวน 400 คน ) / ( มีการนาไปใช้ ในพ้ืนท่ี 200 คน นอกพ้ืนที่ 400 คน ) ( อ่ืนๆ )ระบุ( เปน็ ศนู ยเ์ รยี นร้เู รือ่ งของการ - การนาปลาทับทิมมาเลี้ยงในบอ่ ดินท่ีมีขนาดใหญ่ - การเลย้ี งกบ - การเล้ยี งปลาจาระเม็ด - การเลี้ยงไกย่ วงและไก่ตอ๊ บ - การทานาโยน 4. ลกั ษณะของเครอื ขา่ ยและการสร้างเครอื ขา่ ย เป็นศนู ยก์ ารเรยี นทรี่ ู้ ที่ กศน.ตาบลบญุ ทัน และ เทศบาลตาบลบุญทนั เกษตรอาเภอสุวรรณคูหา เขา้ ไปให้การสนบั สนุน

5. ผลงานทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ชุมชนและสังคม เป็นผนู้ าในเรือ่ งการทาเกษตรผสมผสาน ซง่ึ ทาให้ครอบครวั มหี ลายไดต้ อ่ เดอื นหลายหม่นื บาท สามารถเปน็ สถานทหี่ รือแหล่งเรยี นรูใ้ หค้ นในชมุ ชนได้มาศึกษาวธิ ีการเลี้ยงดู 6 .รางวลั หรอื เกยี รติคุณทไี่ ดร้ ับ

คณะผจู้ ดั ทำ ทป่ี รกึ ษา ไชยพรมมา ตาแหนง่ ครู รกั ษาการในตาแหน่ง นายวรวฒุ ิ ผอ.กศน.อาเภอสวุ รรณคูหา ตาแหน่ง ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน นายวชรพล เพียเทพ ตาแหนง่ ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น นายอภิชาต สุทธิโสม ตาแหน่ง ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น นางสุวรรณา สุทธโิ สม ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน สมทอง ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นางอคั รอนงค์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ปญั ญาพทุ ธิกุล ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นายพิสิษฐพ์ ล ยาพนั ธ์ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นายรัชพล ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล จังพล ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นางสาวยศพร สที าสงั ข์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นายไมตรี ไชยโพธิ์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นางสุภาวดี ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล พันธ์ลี ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นางสาววงคเ์ ดือน คาสีทา ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นายอัฒชา ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล บารงุ ภกั ดี ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นายนพิ นธ์ วงคอ์ นนั ท์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นายพชิ ัยรตั น์ พิมพ์จอ่ ง ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นางสาวหทัยรัตน์ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล บุญหนา ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นางสาวนรินทรา ประครองญาติ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นายจตุพนธ์ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล พรชัย ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล นางสาวศุภชั ญา พรชัย ตาแหน่ง ครู ศรช. นายทรงศักด์ิ อาเคน ตาแหนง่ ครู ศรช. นางสาวพรปวีณ์ ตาแหนง่ ครูผู้สอนคนพิการ โคตุราช นายพิสิษฐ ชาวดอน ตาแหน่ง บรรณารักษ์ นายทววี ิทย์ ทมุ วัน นางยพุ รตั น์ ใหมว่ งษ์ นางฐิติพรรณ คาสีทา นายอัฒชา ทุ่นใจ นางสาวปรียารตั น์ ศรีใชย นางสาววาสกุ รี หลาวเหลก็ นางสาวรัตนาภรณ์ ผู้รวบรวม/เรยี บเรยี ง/จัดทารปู เล่ม นางสาวเบญจมาศ โคตรเพชร