Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทนำเรื่องสามัคคีเภทคำฉันท์

บทนำเรื่องสามัคคีเภทคำฉันท์

Published by โซนภาษาไทย, 2022-01-13 04:02:55

Description: ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖

Search

Read the Text Version

บทนำเร่ือง สำมัคคีเภทคำฉนั ท์ ( ชิต บุรทัต ) เมื่อกำรแตกควำมสำมัคคนี ำมำซง่ึ ควำมหำยนะ รายวิชาภาษาไทย๖ ท๓๓๑๐๒ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ผู้สอน ครเู กศรินทร์ หาญดารงค์รกั ษ์ ครดู วงหทัย ชวลิตเลขา

จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ นกั เรยี นบอกความเปน็ มา ประวัติผแู้ ตง่ ลกั ษณะคาประพนั ธ์ และเนื้อเร่อื งย่อของวรรณคดเี รอ่ื ง สามัคคเี ภทคาฉันท์ได้ นกั เรยี นสังเคราะหค์ วามรจู้ ากบทเรียน และแหลง่ เรียนรู้อืน่ ๆ ได้ นักเรยี นบอกแนวทางการนาข้อคิดทีไ่ ดไ้ ปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ ได้

สามคั คี = การรวมกันเป็นหมู่คณะ เภท = แตกแยก “การแตกแยกความสามคั คี”

สามคั คเี ภทคาฉนั ท์ เปน็ นิทานสภุ าษติ คาฉันท์ขนาดสน้ั ไม่กสี่ ิบหน้ากระดาษเท่านน้ั แต่ได้รบั การยกยอ่ งวา่ แตง่ ดี มคี วามงดงามทางวรรณศิลป์ ทง้ั ยังได้รบั การคัดเลือก เปน็ หนังสอื ประกอบการเรยี นการสอน ในวิชาภาษาไทยดว้ ย

ทมี่ าของเรือ่ ง ในสมยั รัชกาลท่ี ๖ เกิดวกิ ฤตการณ์ กบฏ ร.ศ. ๑๓๐ และสงครามโลก คร้งั ท่ี ๑ สง่ ผลกระทบตอ่ ความมน่ั คงของบา้ นเมือง ทาใหเ้ กิดวรรณคดีปลกุ ใจ ใหร้ ักชาติขึน้ เป็นจานวนมาก นายชิต บรุ ทัต จึงแต่งเรือ่ งน้ีข้นึ ใน พ.ศ. ๒๔๕๗ มุง่ ชค้ี วามสา้ คญั ของการรวมเป็นหมู่คณะ เป็นน้าหน่งึ ใจเดยี วกนั รักษาบา้ นเมอื ง ใหม้ คี วามมั่นคง เดิมเป็นนทิ านสภุ าษติ ทแี่ ปลมาจากภาษาบาลี ในอรรถกถาสมุ งั คลวลิ าสินี ทีฆนกิ ายมหาวรรค ซ่ึงพระสคุ ณุ คณาภรณ์ (ตอ่ มาคอื สมเด็จพระสังฆราชเจา้ ) วัดบวรนิเวศวหิ าร แปลและเรยี บเรียงลงในหนงั สอื พิมพ์ธรรมจกั ษุ ซึง่ นายชติ บุรทัต ใชเ้ วลาแตง่ เพียง ๓ เดือน ขณะทอี่ ายุ ๒๒ ปี

จุดประสงค์ในการแต่ง นายชติ บุรทัต อาศัยเคา้ คาแปลของเร่ืองสามัคคีเภท มาแตง่ เปน็ คาฉนั ท์ เพือ่ แสดงความสามารถในเชิงกวี ให้เปน็ ที่ปรากฎและเปน็ พิทยาภรณ์ประดบั บ้านเมอื ง

นายชติ บรุ ทตั ประวัตผิ แู้ ตง่ ❖ บตุ รนายชแู ละนางปรกิ ❖ สกลุ เดิม คอื ชวางกูร และไดร้ ับพระราชทาน นามสกุลใหม่ คือ บรุ ทัต ❖ แรกเรมิ่ เรยี นจากบดิ า แลว้ จงึ เขา้ ศกึ ษาตอ่ ที่ โรงเรียนวัดราชบพิธและโรงเรยี นวดั สุทศั เทพวราราม ❖ บรรพชาเป็นสามเณรที่วัดราชบพธิ สถิตมหาสมี าราม แล้วลาสิกขาบทจากน้นั กลบั มาบรรพชาใหม่ทีว่ ัดเทพศริ นิ ทราวาส และไปจา้ พรรษาวดั บวรนเิ วศวหิ าร ❖ อปุ สมบทเป็นพระภิกษุ โดยมีสมเดจ็ พระสงั ฆราช กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสเปน็ องคอ์ ุปัชฌาย์ จากนัน้ ไดล้ าสิกขา

นายชิต บรุ ทตั ประวัตผิ ู้แตง่ (ต่อ) ❖ ขณะบวชเรียนไดศ้ ึกษาจนจบหลกั สตู รนกั ธรรม ประโยคชน้ั สอง ❖ เปน็ ผูร้ ูภ้ าษาบาลีสนั สกฤตเป็นอยา่ งดี ❖ สนใจงานประพนั ธ์ตั้งเป็นสามเณร ไดร้ ่วมแตง่ ค้าฉันท์สมโภช มหาเศวตฉัตรฝนงานพระราชพิธีฉัตรมงคล รัชกาลที่ ๖ ❖ มีความเชย่ี วชาญในการแตง่ คา้ ประพนั ธป์ ระเภทฉันท์ จนไดร้ บั ยกยอ่ งวา่ แต่งไดไ้ พเราะ งดงาม เปน็ ท่ีนยิ มและจดจา้ ❖ นามปากกาทใี่ ช้ เชน่ เจา้ เงาะ แมวคราว เปน็ ต้น ❖ ผลงานประพันธ์ เชน่ มหานครปเวศคา้ ฉันท์ สัญชาตอิ ีกา เหมันตฤดู เป็นตน้

จดุ มงุ่ หมายของเรอื่ ง เพ่ือมุ่งชคี้ วามสา้ คัญของการรวมเปน็ หมู่คณะ เปน็ น้าหนงึ่ ใจ เดียวกนั เพ่อื ปอ้ งกันรกั ษาบา้ นเมืองใหม้ ีความเปน็ ปกึ แผ่น สามัคคเี ภทคาฉันท์ เปน็ กวีนิทานสภุ าษิต ว่าดว้ ย “โทษแห่งการแตกสามคั คี” ภายหลังได้รบั การยกยอ่ งเปน็ ตาราเรยี นวรรณกรรมไทยที่สาคัญเล่มหน่งึ ท้งั ในอดีตและปจั จุบัน

ลักษณะคาประพันธ์ แตง่ เป็นบทร้อยกรอง โดยนาฉนั ท์ชนิดตา่ ง ๆ มาใช้สลับกันอย่างเหมาะสม กับเนอื้ หาแต่ละตอน ประกอบดว้ ยฉันท์ ๑๙ ชนดิ ไดแ้ ก่ ๑. กมลฉนั ท์ ๑๒ ๒. จิตรปทาฉันท์ ๘ ๓. โตฏกฉันท์ ๑๒ ๔. ภชุ งคประยาตฉันท์ ๑๒ ๕. มาณวกฉันท์ ๘ ๖. มาลนิ ฉี นั ท์ ๑๕ ๗. วสันตดลิ กฉนั ท์ ๑๔ ๘. วงั สัฏฐฉนั ท์ ๑๒ ๙. วชิ ชุมมาลาฉนั ท์ ๘ ๑๐. สทั ทลุ วกิ กีฬิตฉนั ท์ ๑๙ ๑๑. สทั ธราฉนั ท์ ๑๒ ๑๒. สาลินฉี ันท์ ๑๑ ๑๓. อินทรวเิ ชียรฉันท์ ๑๑ ๑๔. อนิ ทรวงศ์ฉนั ท์ ๑๒ ๑๕. อที ิสังฉนั ท์ ๒๐ ๑๖. อปุ ชาติฉันท์ ๑๑ ๑๗. อุปัฏฐติ าฉันท์ ๑๑ ๑๘. อุเปนทรวเิ ชียรฉันท์ ๑๑ ๑๙. สรุ างคนางคฉ์ ันท์ ๒๘ และกาพย์ 1 ชนดิ คอื กาพยฉ์ บัง ๑๖

ประวตั คิ รั้งพทุ ธกาล เนอื้ เรื่องยอ่ มหาปรินพิ พานสูตร อรรถกถาสมุ ังคลวสิ าสนิ ี แควน้ มคธ แควน้ วชั ชี พระเจา้ อชาตศตั รู กษตั รยิ ์ลิจฉวี วสั สการพราหมณ์ จดุ เด่น สามัคคีเปน็ ปกึ แผ่น กลอบุ าย ท้าให้แตกสามคั คี (อปริหานิยธรรม) ดาริปราบ

กลอบุ ายทปี่ รกึ ษากนั เน้อื เรอ่ื งยอ่ พระเจา้ อชาตศตั รู & วัสสการพราหมณ์ เนรเทศวัสสการพราหมณ์ไปเมอื งเวสาลี ทาอุบายจนไดเ้ ข้าเฝา้ กษตั รยิ ์ลจิ ฉวี เปน็ ครสู อนศลิ ปวิทยาให้พระกมุ าร ทาอุบายใหศ้ ิษยว์ ิวาท จนหมู่กษตั ริยแ์ ตกสามัคคี พระเจา้ อชาตศตั รนู าทพั สู่เมืองเวสาลปี ราบแควน้ วชั ชี

หลักธรรมสาคญั ในสามัคคีเภทคาฉนั ท์ กษตั ริย์ลจิ ฉวีทกุ องคล์ ว้ นตัง้ มัน่ อยูใ่ นธรรมทีเ่ รยี กวา่ \"อปรหิ านิยธรรม\" คอื ธรรมอนั เป็นไปเพื่อเหตแุ ห่งความเจริญฝา่ ยเดยี ว ผปู้ ฏิบตั จิ กั ไมเ่ ปน็ ไป ในทางเสอ่ื ม อนั ได้แก่ ๑. เมือ่ มีกิจใดเกดิ ขนึ้ ก็ประชมุ กันปรึกษาในกิจน้นั ๒. เมอื่ ประชุมกพ็ รอ้ มเพรยี งกันประชุม เมอื่ เลิกก็พร้อมเพรยี งกัน เลกิ และพรอ้ มเพรียงกนั กระทากจิ อันควรทา ๓. ถือม่นั ตามขนบธรรมเนียมหรอื ประเพณีอันดีอันชอบทม่ี อี ยู่ ไม่เพิกถอนหรอื ดดั แปลงเสียใหม่

หลักธรรมสาคัญในสามคั คเี ภทคาฉนั ท์ (ต่อ) ๔. มคี วามเคารพยาเกรงผู้ทอี่ ยู่ในฐานะเป็นผใู้ หญ่ ทั้งเช่ือถอื กระทาตามถ้อยคาบญั ชาและคาแนะนาสัง่ สอนของผูเ้ ปน็ ใหญ่นน้ั ๕. ไม่ประทุษร้ายข่มเหงบตุ รและภริยาของกนั และกันดว้ ย ประการใดๆ ๖. ไมล่ บหลูด่ หู มิน่ ต่อเจดยี สถาน หรอื สถานที่ศักดิส์ ิทธิ์ และการกระทาพลกี รรมบวงสรวงก็กระทาตามควร ๗. อานวยความค้มุ ครองป้องกันแกพ่ ระอรหันต์ บรรดาทม่ี ีอยู่ใน แคว้นวัชชใี หเ้ ปน็ สุขและปราศจากภัย

คณุ ค่าดา้ นสงั คม การปกครอง การแผ่ขยาย การศกึ ษา อาณาเขต การปกครองแบบมีสภา ด้านการศกึ ษาที่โอรสของ ของกษัตริย์ลจิ ฉวี ในอดตี ผู้ปกครองดนิ แดน กษัตริยม์ าเรยี นรว่ มกัน มีระบบระเบียบ ต่าง ๆ จะแผข่ ยายอานาจ โดยมพี ราหมณผ์ ู้มีความรู้ ดว้ ยการสรู้ บเพอ่ื ยดึ ครอง ในการปกครองที่เข้มแขง็ เปน็ ครูผสู้ อน เปน็ ปึกแผน่ จนขา้ ศึก ดินแดนทีอ่ อ่ นแอมาอยู่ ยากท่จี ะเอาชนะได้ ใตอ้ านาจตน

แบบทดสอบ หลงั เรยี น

๑. เรอื่ งสามคั คีเภทคาฉนั ท์เกี่ยวขอ้ งกบั ส่ิงใด ก. ประวัตศิ าสตร์ ข. พทุ ธศาสนา ค. ศาสนาพราหมณ์ ง. วฒั นธรรม

๑. เรอื่ งสามคั คีเภทคาฉนั ท์เกี่ยวขอ้ งกบั ส่ิงใด ก. ประวัตศิ าสตร์ ข. พทุ ธศาสนา ค. ศาสนาพราหมณ์ ง. วฒั นธรรม

๒. นายชิต บรุ ทัตแสดงเจตนาในการแตง่ หนังสือเร่ืองสามคั คีเภทคาฉันทไ์ วต้ รงกบั ข้อใด ก. แสดงคณุ ของความสามคั คี ข. แสดงโทษของการแตกสามคั คี ค. แสดงผลของการเปน็ ง. แสดงคุณค่าของอปริหานิยธรรม คนหเู บาเชอ่ื ง่าย

๒. นายชิต บรุ ทัตแสดงเจตนาในการแตง่ หนังสือเร่ืองสามคั คีเภทคาฉันทไ์ วต้ รงกบั ข้อใด ก. แสดงคณุ ของความสามคั คี ข. แสดงโทษของการแตกสามคั คี ค. แสดงผลของการเปน็ ง. แสดงคุณค่าของอปริหานิยธรรม คนหเู บาเชอ่ื ง่าย

๓. สามัคคเี ภทคาฉนั ทแ์ ต่งด้วย คาประพันธป์ ระเภทใด ก. ฉนั ท์กับร่าย ข. ฉันท์กบั โคลง ค. ร่ายกบั กลอน ง. ฉันท์กบั กาพย์

๓. สามัคคเี ภทคาฉนั ทแ์ ต่งด้วย คาประพันธป์ ระเภทใด ก. ฉนั ท์กับร่าย ข. ฉันท์กบั โคลง ค. ร่ายกบั กลอน ง. ฉันท์กบั กาพย์

โปรดติดตำม ตอนตอ่ ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook