เนอื้ เร่ือง สามัคคเี ภทคาฉนั ท์ รายวิชาภาษาไทย๖ ท๓๓๑๐๒ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ ผู้สอน ครเู กศรินทร์ หาญดารงคร์ กั ษ์ ครดู วงหทยั ชวลติ เลขา
จุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรียนวเิ คราะห์วจิ ารณแ์ ละสงั เคราะห์ความรู้ทไ่ี ด้จากเนอ้ื เรื่องสามคั คเี ภทคาฉันทไ์ ด้ นักเรียนเรยี งลาดับเหตุการณ์เนือ้ เรอื่ งสามคั คีเภทคาฉนั ทไ์ ด้ นกั เรยี นเห็นคณุ ค่าจากเนื้อเร่อื งสามคั คีเภทคาฉนั ท์
แคว้นวัชชี แควน้ มคธ เหลา่ กษตั ริยล์ จิ ฉวี พระเจา้ อชาตศตั รู
ความเจริญร่งุ เรืองของแคว้นมคธและความย่งิ ใหญข่ องพระเจ้าอชาตศตั รู พระเจ้าอชาตศัตรู (ผู้ไมเ่ ป็นศัตรู) สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวับสลับพรรณ กษัตรยิ ์ครองแคว้นมคธ ชอ่ ฟา้ ตระการกลจะหยนั จะเยาะยว่ั ทิฆัมพร เปน็ ผ้มู เี มตตาปราศจากศตั รู บราลพี ิลาสศภุ จรญู นภศูลประภสั สร หางหงสผ์ จงพิจติ รงอน ดุจกวกั นภาลยั รอบด้านตระหง่านจัตุรมุข พศิ สุกอร่ามใส กาญจน์แกมมณกี นกไพ ฑรุ ย์พร่างพะแพรวพราย ปกครองโดยทศพิธราชธรรม บ้านเมอื งรงุ่ เรือง สวยงาม มีพระราชวังใหญ่โต งดงามดุจสวรรค์ชน้ั ดสุ ติ
พระเจา้ อชาตศัตรมู ีพระราชดารจิ ะทาลายแคว้นวัชชี จึงทรงวางแผนกบั วัสสการพราหมณท์ าลายความสามคั คขี องกษตั ริยล์ จิ ฉวี ➢ วสั สการพราหมณ์ ฉลาด ชานาญพระเวท วิชาทุกแขนง เปน็ ขุนนางช้นั ผู้ใหญ่ ➢ พระเจา้ อชาตศัตรู คิดแผ่อานาจไปถึงแคว้นวัชชี จึงคดิ ทาศกึ ➢ เมือ่ ทบทวนใจก็กลัวถ้าแพจ้ ะโดนดถู กู จงึ คดิ ไตร่ตรอง ➢ เคยได้ยนิ วา่ กษตั รยิ ์ลจิ ฉวตี ้ังม่ันในอปรหิ านิยธรรม (๗)ไมต่ ัง้ มนั่ ในความเส่ือม ➢ เม่ือกษัตรยบ์ รรดาลจิ ฉวมี ีธรรมแห่งความสามคั คี จะเอาชนะดว้ ยกาลังคงยาก ➢ คิดเอาชนะดว้ ยปญั ญา จึงให้วัสสการพราหมณ์ออกกลอบุ าย ➢ วัสสการพราหมณ์ จงึ เสนออบุ าย ➢ พระเจ้าอชาตศตั รตู กลง
บทประพันธ์ (กาพยฉ์ บงั ๑๖) อปรหิ านยิ ธรรมธารง ท้ังนั้นม่นั คง มโิ กรธมิก้าวร้าวฉาน เพอื่ ธรรมดาเนินเจรญิ การณ์ ใชเ่ หตุแห่งหานยิ ์ เจด็ ขอ้ จะคดั จัดไข หน่ึง. เมอื่ มรี าชกจิ ใด ปรึกษากันไป บว่ ายบห่ น่ายชุมนุม สอง. ยอ่ มพรอ้ มเลกิ พร้อมประชมุ พรอ้ มพรักพรรคคุม ประกอบ ณ กจิ ควรทา สาม. นน้ั ยดึ ม่ันในสมั มาจารตี จา ประพฤติมติ ดั ดัดแปลง
บทประพนั ธ์ (กาพยฉ์ บัง ๑๖) ส่ี. ใครเป็นใหญไ่ ดแ้ จง โอวาทศาสนแ์ สดง กย็ อมและนอ้ มบชู า แหง่ ใครไปป่ รา มิยา่ ย่าเยง หา้ . นน้ั อนั บุตรภรยิ า ในรัฐวัชชี รภประทษุ ขม่ เหง หก. ทีเ่ จดียค์ นเกรง กเ็ ซน่ ก็สรวงบวงพลี เจ็ด. พระอรหันตอ์ ันมี กค็ ุ้มกค็ รองปอ้ งกัน
วสั สการพราหมณ์ถูกโบย โกนศรีษะประจานและถกู เนรเทศออกจากเมอื ง ➢ วัสสการพราหมณ์ กตัญญู เสยี สละ ตอ่ ประเทศชาติ ไมก่ ลวั ตาย ➢ นา่ สมเพช ทถ่ี กู ลงโทษด้วยการเฆยี่ นตโี ดยเจ้าหน้าทรี่ าชทัณฑ์ จนเนอ้ื ส่ัน เสน้ เอ็นสน่ั รวั เลือดไหลอาบ มแี ผลแตกเป็นรวิ้ และสลบ ➢ ถกู โกนผม อันเป็นเร่อื งอปั มงคล เส่ือม และเป็นการประจาน ➢ ถกู ขับไลอ่ อกจากเมอื ง เมือ่ ผคู้ นมามงุ ดู คนใจออ่ นกร็ ้องไห้ คนโกรธเกลยี ดก็ด่า บ้างกส็ งสารเมตตาให้สงิ่ ของ ➢ เมือ่ มั่นใจว่าอบุ ายสาเรจ็ ไม่มใี ครสงสยั กเ็ ดินทางไปแคว้นวชั ชี
บทประพันธ์ (อนิ ทรวิเชยี รฉนั ท์ ๑๑) บงเนอื้ กเ็ นื้อเต้น พศิ เส้นสรีรร์ วั ทว่ั รา่ งและทง้ั ตวั กร็ ะริกระริวไหว แลหลังละลามโล หิตโอเ้ ลอะหลัง่ ไป เพ่งผาดอนาถใจ ระกะร่อยเพราะรอยหวาย เนอ่ื งนบั อเนกแนว ระยะแถวตลอดลาย เฆี่ยนครบสยบกาย สิรพบั พะกับคา หมู่ญาติอมาตย์มิต รสนิทและเสนา สังเวชณเหตุสา หสล้วนสลดใจ
บทประพันธ์ (อนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ ๑๑) สุดท่ีจะกลน้ั โท มนโศกอาลัย ถว้ นหน้ามวิ า่ ใคร ขณะเหน็ บเวน้ คน แกไ้ ขและได้คืน สติฟน้ื ประทังตน จึ่งราชบรุ ษุ กล บกกรกโ็ กนหัว เสอื่ มสสี ะผมเผา้ สริ ิเปล่าประจานตัว เป็นเยี่ยงประหยัดกลัว ผิมลักจะหลาบจา เสรจ็ กจิ ประการกัลป์ ปนพลันประกาศทา บพั พาชนียก์ รรม ดจุ ราชโองการ แน่นหน้ามหาชน ขณะยลทิชาจารย์ แสนสดุ จะสงสาร สรศพั ท์ประสาสันทน์
วสั สการพราหมณ์เขา้ เมอื งเวสาลี เปน็ พระอาจารย์พระราชกมุ ารแหง่ กษัตรยิ ล์ ิจฉวี ➢ บรรดากษตั ริย์ลจิ ฉวีประชุมกัน เห็นถงึ ความทุกข์และความบอบชา้ ของร่างกาย วัสสการพราหมณ์ จึงเชอื่ ใจและไมม่ ใี ครสงสยั ➢ มคี วามเอน็ ดู สงสารและจะรบั อุปการะเลีย้ งดู ➢ ถามวา่ วสั สการพราหมณเ์ คยอย่ตู าแหนง่ ใด จะใหด้ ารงตาแหนง่ เดิม ➢ วสั สการพราหมณ์กล่าวว่า เคยเป็นผ้พู ิพากษาคดี ➢ บรรดากษัตริยจ์ งึ ให้ตาแหนง่ เดิม และเห็นว่ามคี วามรู้ จึงให้เป็นราชครูสอนพระราชกมุ าร
บทประพนั ธ์ (วังสัฏฐฉนั ท์ ๑๒) ประชมุ กษัตรยิ ์รา ชสภาสดบั คะนึง คะเนณทกุ ขร์ งึ อุระอัดประหวัดประวงิ ประกอบระกาพา หริ กายน่าจะจริง มิใช่จะแอบอิง กลอากระทาอบุ าย ............................................................................................... กษัตรยิ ์เกษตรลิจ ฉวสิ ิทธ์พิ ระราชทาน สถาปนาฐาน ยศเทดิ ธุโรปถัมภ์ และเห็นเพราะเป็นครู พฤฒริ ู้พชิ าและชา นิศลิ ปศาสตร์คมั เพทพเิ ศษพศิ าล ประสิทธติ าแหน่ง คุรแุ หง่ พระราชกุมาร นพิ ทั ธเอาภาร อนสุ ฐิ วทิ ยาฯ
วสั สการพราหมณเ์ ริ่มทาอุบายทาลายสามัคคี ภุชงคประยาตฉนั ท์ คะเนกลคะนงึ การ ทชิ งค์ชาติฉลาดยล ระวงั เหอื ดระแวงหาย กษตั รยิ ล์ จิ ฉวีวาร ปวัตนว์ ญั จโนบาย สมคั รสนธส์ิ โมสร เหมาะแก่การณจ์ ะเสกสรร มล้างเหตุพิเฉทสาย ถอดความไดว้ า่ พราหมณผ์ ้ฉู ลาดคาดคะเนวา่ กษัตรยิ ล์ จิ ฉวีวางใจคลายความหวาดระแวง เป็นโอกาสเหมาะทจ่ี ะเร่ิมด่าเนนิ การตามกลอบุ ายท่าลายความสามคั คี
วัสสการพราหมณ์เรมิ่ ทาอบุ ายทาลายสามัคคี ภชุ งคประยาตฉันท์ ณวันหน่งึ ลถุ งึ กา ลศึกษาพิชากร กมุ ารลจิ ฉวีวร เสดจ็ พรอ้ มประชมุ กนั ตระบดั วสั สการมา สถานราชเรียนพลัน สนิทหนงึ่ พระองค์ไป ธแกลง้ เชิญกมุ ารฉัน กถ็ ามการณ์ ณ ทนั ใด ลุห้องหับรโหฐาน กถาเช่นธปุจฉา มิลี้ลบั อะไรใน ถอดความไดว้ ่า วนั หน่ึงเมอ่ื ถงึ โอกาสทจี่ ะสอนวชิ า กมุ ารลจิ ฉวกี ็เสดจ็ มาโดยพร้อมเพรียงกนั ทันใดนนั้ วสั สการพราหมณม์ าถงึ และแกล้งเชญิ พระกมุ ารพระองคท์ สี่ นทิ สนมเข้าไปพบใน หอ้ งสว่ นตวั แล้วก็ทลู ถามเรือ่ งทไี่ มใ่ ช่ความลบั แตป่ ระการใด
วัสสการพราหมณเ์ ริ่มทาอบุ ายทาลายสามคั คี ภุชงคประยาตฉนั ทฯ์ มนุษย์ผกู้ ระท่านา จะถกู ผดิ กระไรอยู่ ประเทยี บไถมิใชห่ รือ ก็รับอรรถอออือ และคู่โคกจ็ ูงมา ประดจุ คา่ พระอาจารย์ กมุ ารลจิ ฉวีขัตตยิ ์ นิวตั ในมิชา้ นาน สมยั เลกิ ลเุ วลา กสกิ เขากระทา่ คือ ก็เทา่ นั้นธเชิญให้ ประสิทธิ์ศิลปป์ ระศาสนส์ าร ถอดความได้ว่า ดงั เชน่ ถามว่า ชาวนาจงู โคมาค่หู นึ่งเพ่อื เทียมไถใชห่ รือไม่ พระกุมารลิจฉวี ก็รับส่งั เหน็ ดว้ ยวา่ ชาวนากค็ งจะกระทา่ ดังค่าของพระอาจารย์ ถามเพยี งเท่าน้ัน พราหมณ์กเ็ ชิญให้เสด็จกลบั ออกไป
วสั สการพราหมณเ์ รม่ิ ทาอุบายทาลายสามัคคี ภชุ งคประยาตฉันท์ฯ พชวนกนั เสดจ็ มา ชองคน์ นั้ จะเอาความ อรุ สลิจฉวสี รร ณข้างในธไตถ่ าม และต่างซักกุมารรา วจสี ัตย์กะส่าเรา รวากยว์ าทตามเลา พระอาจารย์สเิ รยี กไป วภาพโดยคดีมา อะไรเธอเสนอตาม กมุ ารน้ันสนองสา เฉลยพจนก์ ะครเู สา ถอดความไดว้ า่ ครน้ั ถึงเวลาเลิกเรยี นเหลา่ โอรสลิจฉวีก็พากันมาซักไซพ้ ระกมุ ารว่า พระอาจารยเ์ รยี กเข้าไปขา้ งในได้ไตถ่ ามอะไรบ้าง ขอให้บอกมาตามความจริง พระกุมารพระองคน์ ัน้ กเ็ ลา่ เรื่องราว ที่พระอาจารยเ์ รียกไปถาม
วัสสการพราหมณเ์ รม่ิ ทาอบุ ายทาลายสามคั คี ภุชงคประยาตฉนั ทฯ์ กุมารอน่ื ก็สงสัย มเิ ชอื่ ในพระวาจา สหายราชธพรรณนา และต่างองค์กพ็ าที ไฉนเลยพระครเู รา จะพดู เปล่าประโยชน์มี เลอะเหลวนักละลว้ นนี รผลเหน็ บเป็นไป เถอะถึงถา้ จะจรงิ แม้ ธ พดู แท้กท็ ่าไม แนะชวนเขา้ ณข้างใน จะถามนอกบยากเย็น ถอดความไดว้ า่ แตเ่ หลา่ กมุ ารสงสยั ไม่เช่ือคา่ พดู ของพระสหาย ตา่ งองค์กว็ ิจารณว์ า่ พระอาจารยจ์ ะพูดเร่ืองเหลวไหลไรส้ าระเช่นนีเ้ ป็นไปไม่ได้ และหากว่าจะพูดจรงิ เหตุใด จะตอ้ งเรียกเข้าไปถามข้างในหอ้ ง ถามข้างนอกหอ้ งกไ็ ด้
วสั สการพราหมณเ์ รม่ิ ทาอบุ ายทาลายสามัคคี ภุชงคประยาตฉนั ทฯ์ ธคิดอ่านกะทา่ นเป็น ชะรอยวา่ ทชิ าจารย์ ละแน่ชดั ถนัดความ มกิ ล้าอาจจะบอกตา รหัสเหตปุ ระเภทเห็น ไถลแสรง้ แถลงสาร และท่านมามสุ าวาท พจีจริงพยายาม ถอดความได้วา่ สงสัยว่าทา่ นอาจารย์กบั พระกุมารต้องมีความลบั อยา่ งแนน่ อน แลว้ ก็มาพดู โกหก ไม่กล้าบอกตามความเป็นจรงิ แกล้งพดู ไปตา่ ง ๆ นานา
วสั สการพราหมณเ์ รม่ิ ทาอบุ ายทาลายสามคั คี ภชุ งคประยาตฉันทฯ์ ก็สอดคลอ้ งและแคลงดาล กุมารราชมิตรผอง อบุ ตั ิขึ้นเพราะขุ่นเคอื ง ประดามนี ริ ันดร์เนือง พโิ รธกาจวิวาทการณ์ มลายปลาตพนิ าศปลง พิพธิ พันธไมตรี กะองคน์ ้นั กพ็ ลนั เปลอื ง ถอดความไดว้ ่า กุมารลจิ ฉวีทงั้ หลายเห็นสอดคลอ้ งกันกเ็ กิดความโกรธเคอื ง การทะเลาะวิวาทกเ็ กิดข้ึนเพราะความข่นุ เคืองใจ ความสมั พนั ธอ์ นั ดี ทเี่ คยมมี าตลอดก็ถูกท่าลายย่อยยบั ลง
กษัตริยล์ จิ ฉวีแตกสามัคคี วสั สการพราหมณ์ลอบส่งข่าวทลู พระเจ้าอชาตศตั รู สัทธราฉันท์ ลา่ ดบั นนั้ วสั สการพราหมณ์ ธ กย็ ุศษิ ยตาม แต่งอบุ ายงาม ฉงนงา่ ปวงโอรสลิจฉวดี า่ ริณวริ ุธกส็ ่า คญั ประดุจค่า ธ เสกสรร ไปเ่ หลอื เลยสักพระองคอ์ ัน มิละปิยะสหฉนั ท์ ขาดสมคั รพันธ์ กอ็ าดูร ถอดความได้วา่ ในขณะนน้ั วัสสการพราหมณก์ ็คอยยลุ กู ศษิ ย์ แต่งกลอุบายให้เกดิ ความแคลงใจพระโอรส กษัตริยล์ จิ ฉวีทัง้ หลายไตร่ตรองในอาการน่าสงสยั กเ็ ข้าใจว่าเป็นจรงิ ดงั ถอ้ ยคา่ ทอี่ าจารยป์ ัน้ เรอื่ งข้ึน ไม่มเี หลอื เลยสกั พระองคเ์ ดยี วทจ่ี ะมีความรกั ใครก่ ลมเกลยี ว ตา่ งขาดความสมั พนั ธ์ เกิดความเดือดรอ้ นใจ
กษตั ริยล์ จิ ฉวีแตกสามัคคี วสั สการพราหมณ์ลอบสง่ ขา่ วทูลพระเจา้ อชาตศัตรู สทั ธราฉนั ท์ ถอดความไดว้ า่ แทท้ ่านวัสสการใน กษณะตรเิ หมาะไฉน แตล่ ะองคน์ า่ เรอื่ งไม่ดที ่เี กิดขน้ึ ไปทลู พระบิดา เสรมิ เสมอไป สะดวกดาย ของตน ความแตกแยกก็ค่อย ๆ ลุกลามไปสู่พระบิดา หลายอยา่ งตา่ งกลธขวนขวาย พจนยปุ ริยาย เนือ่ งจากความหลงเช่อื โอรสของตน ปราศจาก วัญจโนบาย บเวน้ ครา การใครค่ รวญเกดิ ความผิดพอ้ งหมองใจกนั ขึน้ ครัน้ ล่วงสามปีประมาณมา สหกรณประดา ฝ่ายวสั สการพราหมณ์คร้ันเหน็ โอกาสเหมาะสม ลิจฉวรี า ชท้งั หลาย กค็ อยยแุ หยอ่ ยา่ งง่ายดาย ทา่ กลอุบายตา่ ง ๆ พูดยุยงตามกลอบุ ายตลอดเวลา เวลาผา่ นไปประมาณ ๓ ปี ความร่วมมอื กันระหวา่ งกษัตริย์ลิจฉวที งั้ หลาย และความสามัคคีถูกทา่ ลายลงส้ิน
กษัตรยิ ์ลิจฉวีแตกสามคั คี วสั สการพราหมณล์ อบส่งขา่ วทูลพระเจ้าอชาตศัตรู สัทธราฉนั ท์ มติ รภทิ นะกระจาย สามัคคธี รรมทา่ ลาย ก็เป็นไป พระราชหฤทยวิสัย สรรพเสอ่ื มหายน์ ระวงั กันฯ ตา่ งองคท์ รงแคลงระแวงใน ผ้พู ิโรธใจ ถอดความไดว้ า่ ความรว่ มมือกันระหว่างกษัตรยิ ล์ จิ ฉวที ัง้ หลายและความสามัคคถี ูกทา่ ลายลงสน้ิ ความเปน็ มิตรแตกแยก ความเสือ่ ม ความหายนะกบ็ ังเกดิ ขึน้ กษัตรยิ ์แตละองคเ์ กิด ความระแวงแคลงใจ มีความขุ่นเคอื งใจซง่ึ กนั และกัน
กษัตรยิ ์ลจิ ฉวีแตกสามัคคี วัสสการพราหมณ์ลอบสง่ ขา่ วทลู พระเจ้าอชาตศตั รู ถอดความได้วา่ สาลินีฉนั ท์ ตระหนกั เหตถุ นัดครัน พราหมณค์ รรู สู้ ังเกต พจกั สพู่ นิ าศสม จะสัมฤทธิม์ นารมณ์ ราชาวัชชสี รร และอตุ สาหแหง่ ตน ยินดีบัดน้ีกิจ ประชุมขตั ติย์มณฑล กษตั รยิ ์ส่สู ภาคาร เริ่มมาดว้ ยปรากรม ให้ลองตกี ลองนัด เชญิ ซ่ึงสา่ สากล พราหมณ์ผู้เป็นครสู ังเกตเหน็ ดงั นน้ั ก็ร้วู ่าเหลา่ กษตั รยิ ล์ ิจฉวกี า่ ลงั จะประสบ ความพนิ าศ จึงยนิ ดมี ากท่ภี ารกจิ ประสบผลส่าเร็จสมดังใจ หลังจากเริ่มต้น ดว้ ยความบากบั่นและความอดทนของตน จงึ ใหล้ องตกี ลองนัดประชมุ กษัตริย์ลจิ ฉวี เชิญทกุ พระองค์เสด็จมายังที่ประชมุ
กษตั รยิ ล์ จิ ฉวีแตกสามคั คี วัสสการพราหมณ์ลอบสง่ ข่าวทลู พระเจา้ อชาตศัตรู สาลนิ ฉี ันท์ วัชชภี ูมผี อง สดับกลองกระหึมขาน ถอดความได้วา่ ทกุ ไท้ไปเ่ อาภาร ณกจิ เพอื่ เสดจ็ ไป ตา่ งทรงรบั สั่งว่า จะเรียกหาประชุมไย ก็ขลาดกลวั บกลา้ หาญ เราใช่เป็นใหญใ่ จ และกลา้ ใครมเิ ปรียบปาน ทา่ นใดที่เป็นใหญ่ ประชุมชอบก็เชิญเขา พอใจใครใ่ นการ ฝ่ายกษัตรยิ ว์ ัชชีทั้งหลายทรงสดับเสยี งกลองดังกกึ ก้อง ทุกพระองค์ไมท่ รงเป็น ธรุ ะในการเสด็จไป ตา่ งองคร์ บั ส่งั ว่าจะเรียกประชุมด้วยเหตใุ ด เราไม่ได้เปน็ ใหญ่ ใจก็ขลาด ไมก่ ล้าหาญ ผใู้ ดเปน็ ใหญ่ มีความกล้าหาญไมม่ ผี ู้ใดเปรียบได้ พอใจจะเสดจ็ ไปรว่ มประชมุ กเ็ ชิญเขาเถดิ
กษตั รยิ ล์ จิ ฉวีแตกสามคั คี วัสสการพราหมณล์ อบสง่ ข่าวทลู พระเจ้าอชาตศัตรู สาลินีฉนั ท์ ไฉนนั้นกท็ ่าเนา ปรกึ ษาหารอื กนั บแลเห็นประโยชน์เลย และทุกองค์ธเพกิ เฉย จักเรยี กประชมุ เรา สมัครเข้าสมาคมฯ รบั สงั่ ผลักไสส่ง ไป่ได้ไปดั่งเคย ถอดความได้วา่ จะปรกึ ษาหารือกันประการใดกช็ ่างเถดิ จะเรียกเราไปประชุมมองไม่เหน็ ประโยชนป์ ระการใดเลย รับส่ังให้พน้ ตัวไป และทุกพระองคก์ ท็ รงเพกิ เฉยไม่เสดจ็ ไปเข้ารว่ มการประชุมเหมอื นเคย
กษัตริย์ลิจฉวแี ตกสามัคคี วัสสการพราหมณล์ อบส่งข่าวทูลพระเจ้าอชาตศตั รู อุปัฎฐิตาฉนั ท์ ชนะคล่องประสบสม ธกล็ อบแถลงการณ์ เหน็ เชิงพิเคราะหช์ อ่ ง คมดลประเทศฐาน พราหมณ์เวทอุดม อภเิ ผา้ มคธไกร สนวา่ กษัตริยใ์ น ใหว้ ัลลภชน วลหล้าตลอดกัน กราบทลู นฤบาล แจ้งลกั ษณสา วชั ชีบรุ ไกร ถอดความไดว้ า่ เมือ่ พิจารณาเหน็ ช่องทางทจ่ี ะไดช้ ัยชนะอยา่ งงา่ ยดาย พราหมณผ์ ู้รอบร้พู ระเวทก็ ลอบสง่ ขา่ ว ใหค้ นสนิทเดินทางกลับไปยังบา้ นเมอื ง กราบทูลกษัตรยิ ์แห่งแควน้ มคธ อนั ยงิ่ ใหญ่ ในสาสนแ์ จ้งวา่ กษัตริย์วัชชีทุกพระองค์
กษตั รยิ ์ลิจฉวแี ตกสามคั คี วัสสการพราหมณ์ลอบส่งขา่ วทูลพระเจา้ อชาตศตั รู อุปัฎฐิตาฉันท์ บัดน้สี ิกแ็ ตก คณะแผกและแยกพรรค์ ไป่เปน็ สหฉนั ทเสมือนเสมอมา โอกาสเหมาะสมยั ขณะไหนประหนง่ึ ครา นห้ี ากผจิ ะหา กบ็ ได้สะดวกดี ขอเชญิ วรบาท พยุหย์ าตรเสดจ็ กรี ธาทพั พลพี รยิ ยุทธโดยไวฯ ถอดความไดว้ ่า ขณะน้เี กดิ ความแตกแยก แบง่ พรรคแบง่ พวก ไมส่ ามัคคีกนั เหมอื นแตเ่ ดิม จะหาโอกาสอนั เหมาะสมครง้ั ใดเหมือนดงั คร้งั น้คี งจะไม่มอี กี แล้ว ขอทูลเชญิ พระองค์ ยกกองทพั อันยิ่งใหญม่ าท่าสงครามโดยเร็วเถดิ
พระเจ้าอชาตศัตรยู กทพั มาตแี ควน้ วชั ชี วชิ ชมุ มาลาฉันท์ ทราบถึงบดั ดล ถอดความไดว้ ่า ข่าวเศกิ เอกิ องึ ชาวเวสาลี ชนบทบรู ี ขา่ วศกึ แพรไ่ ปจนรู้ถงึ ชาวเมืองเวสาลี แทบทุกคน ในหม่ผู คู้ น หวาดกลวั ท่ัวไป ในเมืองต่างตกใจและหวาดกลัวกันไปทว่ั แทบทุกถ่ินหมด หมดเลอื ดสั่นกาย อกส่ันขวัญหนี วุ่นหว่ันพร่ันใจ หน้าตาต่นื หน้าซดี ไม่มสี เี ลือด ตัวสน่ั พากนั หนี ซ่อนตัวแตกภัย ตายวุ่นวาย พากันอพยพครอบครวั หนภี ัย ตน่ื ตาหนา้ เผอื ด ทิง้ ย่านบา้ นตน ทิง้ บา้ นเรอื นไปซมุ่ ซ่อนตวั เสียในปา่ หลบลหี้ นตี าย ซุกครอกซอกครัว เข้าดงพงไพร
พระเจา้ อชาตศตั รยู กทัพมาตแี คว้นวชั ชี วชิ ชมุ มาลาฉันท์ ชาวคามล่าลาด ถอดความไดว้ า่ เหลือจักห้ามปราม ขุนด่านต่าบล คิดผนั ผ่อนปรน ไมส่ ามารถหา้ มปรามชาวบ้านได้ หวั หน้าราษฎรและ พันหวั หน้าราษฎร์ มาคธข้ามมา นายด่านต่าบลต่าง ๆ ปรึกษากนั คิดจะยบั ย้งั ไมใ่ ห้ หารอื แก่กนั ปา่ วร้องทนั ที กองทพั มคธข้ามมาได้ จึงตกี ลองป่าวรอ้ งแจง้ ข่าว จักไม่ใหพ้ ล รกุ เบยี นบฑี า วัชชอี าณา ข้าศึกเขา้ รกุ ราน เพอื่ ใหเ้ หลา่ กษตั ริยแ์ ห่งวชั ชี จง่ึ ให้ตกี ลอง ปอ้ งกนั ฉนั ใด เสดจ็ มาประชมุ หาหนทางปอ้ งกันประการใด แจง้ ข่าวไพรี เพือ่ หมู่ภูมี ชุมนมุ บัญชา
พระเจา้ อชาตศตั รูยกทพั มาตแี คว้นวชั ชี วิชชุมมาลาฉนั ท์ ถอดความไดว้ ่า ราชาลจิ ฉวี ไป่มสี ักองค์ ไม่มกี ษตั ริย์ลิจฉวแี ม้แตพ่ ระองค์เดียวคดิ จะเสดจ็ ไป แตล่ ะพระองคท์ รงดา่ รสั ว่าจะเรียกประชุมดว้ ยเหตใุ ด อนั นกึ จา่ นง เพือ่ จกั เสด็จไป ผู้ใดเปน็ ใหญ่ ผู้ใดกล้าหาญ เหน็ ดีประการใดก็เชิญเถดิ จะปรกึ ษาหารืออย่างไรกต็ ามแตใ่ จ ตวั ของเราน้นั ไม่ไดม้ ี ตา่ งองค์ด่ารสั เรยี กนัดท่าไม อา่ นาจยิง่ ใหญ่ จิตใจกข็ ขี้ ลาด ไมอ่ งอาจกล้าหาญ ใครเป็นใหญใ่ คร กล้าหาญเหน็ ดี เชิญเทอญท่านต้อง ขดั ข้องข้อไหน ปรึกษาปราศรัย ตามเรื่องตามที ส่วนเราเล่าใช่ เปน็ ใหญ่ยังมี ใจอยา่ งผภู้ ี รกุ ปราศอาจหาญ
พระเจ้าอชาตศัตรูยกทัพมาตีแคว้นวัชชี อนิ ทรวิเชยี รฉนั ท์ ตยิ รัชธา่ รง ถอดความได้วา่ ปน่ิ เขตมคธขัต นคเรศวสิ าลี พิเคราะห์เหตณุ ธานี จอมกษัตริย์แหง่ แควน้ มคธหยุดทัพตรงหนา้ เมืองเวสาลี ยัง้ ทัพประทับตรง ขณะเศกิ ประชดิ แดน พระองคท์ รงสงั เกตวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์ทางเมอื งวัชชใี น ภธู รธสงั เกต และมนิ ึกจะเกรงแกลน ขณะทขี่ า้ ศกึ มาประชิดเมอื ง ดนู ่ิงเฉยไม่รู้สึกเกรงกลัว รณทพั ระงับภัย แห่งราชวัชชี หรือคดิ จะทา่ สิ่งใดโตต้ อบระงบั เหตรุ า้ ย เฉยดบู รู้สึก ฤๅคิดจะตอบแทน
พระเจา้ อชาตศัตรยู กทัพมาตีแควน้ วัชชี อินทรวเิ ชียรฉนั ท์ บมิท่าประการใด ถอดความได้วา่ นงิ่ เงยี บสงบงา่ บรุ ว่างและรา้ งคน สยคงกระทบกล กลบั อยู่อยา่ งสงบเงยี บไมท่ ่าการส่ิงใด มองดูราวกบั ปรากฏประหน่ึงใน ลุกระน้ีถนดั ตา เป็นเมอื งร้างปราศจากผคู้ น แน่นอนไมต่ ้องสงสยั เลย แน่โดยมิพักสง คยิ พรรคพระราชา วา่ คงจะถูกกลอุบายของวัสสการพราหมณ์จนเป็นเชน่ น้ี รจะพ้องอนตั ถ์ภัย ความสามคั คผี ูกพันแหง่ กษัตรยิ ์ลจิ ฉวีถกู ทา่ ลายลงและ ทา่ นวสั สการจน ภินทพ์ ทั ธสามัค จะประสบกบั ภยั พิบัติ ชาวลจิ ฉววี า
พระเจา้ อชาตศัตรยู กทพั มาตแี คว้นวัชชี อนิ ทรวิเชยี รฉนั ท์ รกกาลขวา้ งไป ถอดความได้วา่ ลูกข่างประดาทา ดจุ กนั ฉะนน้ั หนอ กลแหย่ยุดพี อ ดงั เชน่ ลกู ขา่ งท่เี ดก็ ขว้างเลน่ ได้สนกุ ฉันใด หมุนเล่นสนกุ ไฉน จะมิรา้ วมริ านกนั วสั สการพราหมณ์กส็ ามารถยุแหย่ใหเ้ หลา่ กษัตรยิ ์ ครวู สั สการแส่ ธรุ ะจบธจึ่งบัญ ลจิ ฉวแี ตกความสามัคคไี ด้ตามใจชอบ และคดิ ที่จะ พทแกลว้ ทหารหาญ สนุกฉนั น้ัน ครั้นทรงคดิ ได้ดงั น้นั จึงมพี ระราชบัญชา ปน่ั ปว่ นบเหลือหลอ ครนั้ ทรงพระปรารภ แก่เหลา่ ทหารหาญ ชานายนิกายสรร
พระเจา้ อชาตศตั รยู กทัพมาตแี ควน้ วชั ชี อินทรวิเชียรฉนั ท์ ฬุคะเนกะเกณฑก์ าร ถอดความได้วา่ เร่งท่าอุฬุมปเ์ ว จรเข้านครบร อดิศูรบดีศร ให้รบี สร้างแพไมไ้ ผเ่ พอ่ื ข้ามแม่น้่าจะเขา้ เมืองของฝ่ายศตั รู เพื่อข้ามนทีธาร ทิวรงุ่ สฤษฎพ์ ลัน พวกทหารรับราชโองการแลว้ กป็ ฏิบัติภารกจิ ทไ่ี ดร้ บั เขารบั พระบัณฑรู พยุหาธทิ พั ขนั ธ์ พลขา้ มณคงคา ในตอนเชา้ งานน้นั กเ็ สรจ็ ทนั ที จอมกษัตรยิ เ์ คล่ือนกองทพั ภาโรปกรณ์ตอน พศิ เนืองขนดั คลา อันมีกา่ ลงั พลมากมายลงในแพทตี่ ิดกนั นา่ กา่ ลงั ขา้ ม จอมนาถพระยาตรา ลิบุเรศสะดวกดายฯ แมน่ า่้ จนกองทพั หมดสิน้ มองดูแน่นขนัด ขน้ึ ฝงั่ เมอื งเวสาลอี ยา่ งสะดวกสบาย โดยแพและพ่วงปนั จนหมดพหลเน่ือง ขน้ึ ฝัง่ ลเุ วสา
พระเจ้าอชาตศัตรูยึดครองแคว้นวชั ชีไดส้ าเรจ็ สทั ทลุ วกิ กฬี ติ ฉนั ท์ จอมทพั มาคธราษฎรธ์ ยาตรพยุหกรี ธาสวู่ สิ าลี นคร โดยทางอันพระทวารเปิดนรนกิ ร ฤๅรอจะตอ่ รอน อะไร เบ้อื งน้ันทา่ นคุรุวัสสการทิชกไ็ ป นา่ ทพั ชเนนทร์ไท มคธ ถอดความไดว้ า่ จอมทพั แหง่ แคว้นมคธกรธี าทัพเข้าเมอื งเวสาลที างประตูเมอื งที่เปดิ อยู่ โดยไมม่ ีผู้คนหรือทหารต่อสู้ประการใด ขณะนัน้ วัสสการพราหมณ์ ผ้เู ปน็ อาจารยก์ ไ็ ปน่าทพั ของกษัตริยแ์ หง่ มคธ
พระเจา้ อชาตศตั รยู ดึ ครองแควน้ วัชชีไดส้ าเรจ็ สทั ทลุ วกิ กีฬิตฉันท์ ถอดความได้ว่า เข้าปราบลจิ ฉวิขตั ติยร์ ฐั ชนบท เขา้ มาปราบกษตั รยิ ์ลจิ ฉวี อาณาจกั รทง้ั หมดก็ตก อยู่ในพระหตั ถ์ โดยที่กองทัพไมต่ ้องเปลืองแรง สูเ่ งือ้ มพระหตั ถห์ มด และโดย ในการต่อสู้ ปราบราบคาบแล้วเสดจ็ ยงั ราชคฤห์ ไป่พกั ตอ้ งจะกะเกณฑ์นิกายพหลโรย เมอื งยิ่งใหญด่ งั เดิม แรงเปลืองระดมโปรย ประยุทธ์ ราบคาบเสรจ็ ธเสด็จลรุ าชคฤหอุต คมเขตบุเรศดจุ ณ เดมิ
อุทาหรณ์สอนใจให้คดิ อนิ ทรวิเชียรฉันท์ อนั ภูบดรี า ชอชาตศตั รู ได้ลจิ ฉวภี ู วประเทศสะดวกดี วรราชวัชชี แลสรรพบรรดา ฑอนัตถพ์ ินาศหนา ถึงซงึ่ พบิ ตั ิบี คณะแตกและต่างมา หสโทษพิโรธจอง เหย้ี มน้ันเพราะผนั แผก ถือทฐิ มิ านสา ถอดความได้ว่า พระเจา้ อชาตศัตรูได้แผน่ ดนิ วชั ชีอย่างสะดวก และกษัตรยิ ์ลจิ ฉวที ง้ั หลายกถ็ งึ ซง่ึ ความพนิ าศลม่ จม เหตุเพราะความแตกแยกกนั ต่างก็มีความยดึ มนั่ ในความคิดของตน ผูกโกรธซ่งึ กันและกัน
อุทาหรณส์ อนใจให้คิด อินทรวิเชยี รฉนั ท์ แยกพรรคสมรรคภนิ ทนส้นิ บปรองดอง ขาดญาณพิจารณต์ รอง ตริมลักประจักษเ์ จอื เชื่ออรรถยุบลเอา รสเล่าก็งา่ ยเหลือ เหตุหากธมากเมอื คตโิ มหเป็นมูล ถอดความได้วา่ ต่างแยกพรรค แตกสามัคคีกนั ไม่ปรองดองกัน ขาดปัญญาทจ่ี ะพิจารณาไตร่ตรอง เชอื่ ถ้อยความของบรรดาพระโอรสอย่างง่ายดาย เหตทุ ี่เป็นเชน่ น้ันเพราะกษัตรยิ ์แตล่ ะ พระองคท์ รงมากไปดว้ ยความหลง
อุทาหรณส์ อนใจใหค้ ิด อนิ ทรวเิ ชยี รฉันท์ จ่งึ ดาลประการหา ยนภาวอาดูร เสียแดนไผทสญู ยศศกั ดิเส่ือมนาม คุรวุ สั สการพราหมณ์ ควรชมนยิ มจดั กลง่ากระทา่ มา เปน็ เอกอุบายงาม ถอดความไดว้ า่ จึงทา่ ใหถ้ ึงซง่ึ ความฉบิ หาย มีภาวะความเปน็ อยู่อนั ทุกขร์ ะทม เสยี ทั้งแผน่ ดิน เกียรตยิ ศ และชอื่ เสียงที่เคยมีอยู่ สว่ นวัสสการพราหมณ์นนั้ น่าชื่นชมอยา่ งย่ิงเพราะเปน็ เลิศ ในการกระทา่ กลอุบาย
อทุ าหรณ์สอนใจให้คดิ อนิ ทรวิเชียรฉันท์ พทุ ธาทบิ ัณฑติ พิเคราะห์คดิ พินิจปรา รภสรรเสริญสา ธสุ มคั รภาพผล สกุ ภาวมาดล วา่ อาจจะอวยผา บนิราศนริ นั ดร ดีสู่ณหมตู่ น คยพรรคสโมสร คณุ ไรไ้ ฉนดล หมู่ใดผิสามัค ไปป่ ราศนิราศรอน ถอดความไดว้ ่า ผ้รู ทู้ ัง้ หลายมีพระพทุ ธเจ้าเปน็ ตน้ ได้ใครค่ รวญพิจารณากลา่ วสรรเสรญิ วา่ ชอบแลว้ ในเร่ืองผล แหง่ ความพร้อมเพรยี งกนั ความสามคั คีอาจอา่ นวยใหถ้ ึงซึ่งสภาพแห่งความผาสกุ ณ หม่ขู องตนไม่เสื่อม คลายตลอดไป หากหมใู่ ดมีความสามัคครี ว่ มชุมนมุ กัน ไม่หา่ งเหนิ กนั ส่งิ ที่ไร้ประโยชน์จะมาสไู่ ดอ้ ยา่ งไร
อุทาหรณ์สอนใจให้คดิ อนิ ทรวิเชียรฉนั ท์ พร้อมเพรยี งประเสรฐิ ครนั เพราะฉะน้ันแหละบคุ คล ผูห้ วังเจรญิ ตน ธุระเก่ียวกะหมเู่ ขา มขุ เป็นประธานเอา พงึ หมายสมคั รเป็น บมเิ ห็นณฝ่ายเดยี ว ธรู ทว่ั ณตัวเรา นรอนื่ ก็แลเหลียว มิตรภาพผดุงครอง ควรยกประโยชน์ย่นื ดบู า้ งและกลมเกลียว ถอดความไดว้ า่ ความพรอ้ มเพรียงนน้ั ประเสริฐย่งิ นกั เพราะฉะนน้ั บุคคลใดหวังท่จี ะได้รับความเจรญิ แห่งตน และมกี ิจธุระอันเปน็ ส่วนรวม กพ็ ึงตงั้ ใจเป็นหัวหนา้ เอาเปน็ ธุระดว้ ยตวั ของเราเองโดยมิเห็นประโยชน์ตน แตฝ่ ่ายเดียว ควรยกประโยชน์ให้บคุ คลอนื่ บ้าง นกึ ถึงผู้อนื่ บา้ ง ต้องกลมเกลียว มีความเปน็ มิตรกนั ไว้
อทุ าหรณ์สอนใจใหค้ ิด อนิ ทรวิเชยี รฉันท์ ย้งั ทฐิ มิ านหย่อน ทมผอ่ นผจงจอง อารีมิมีหมอง มนเม่ือจะท่าใด ลุก็ปนั ก็แบ่งไป ลาภผลสกลบรร สจุ รติ นยิ มธรรม์ ตามนอ้ ยและมากใจ สุประพฤติสงวนพรรค์ อปุ เฉทไมตรี พงึ มรรยาทยดึ ร้ือริษยาอนั ถอดความได้วา่ ต้องลดทิฐิมานะ รูจ้ กั ขม่ ใจ จะทา่ สิง่ ใดกเ็ อือ้ เฟ้ือกนั ไม่มคี วามบาดหมางใจ ผลประโยชน์ ทัง้ หลายทีเ่ กดิ ข้นึ กแ็ บง่ ปันกนั ไป มากบา้ งนอ้ ยบา้ งอย่างเปน็ ธรรม ควรยดึ มัน่ ในมารยาทและความ ประพฤติทดี่ ีงาม รักษาหมคู่ ณะโดยไมม่ คี วามริษยากนั อันจะตดั รอนไมตรี
อุทาหรณส์ อนใจให้คิด อนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ ด่ังน้นั ณหมู่ใด ผบิ ไร้สมัครมี พร้อมเพรียงนพิ ัทธ์นี รววิ าทระแวงกนั สยคงประสบพลัน หวังเทอญมติ ้องสง หติ ะกอบทวกิ าร ซ่ึงสขุ เกษมสนั ต์ มนอาจระรานหาญ กเ็ พราะพรอ้ มเพราะเพรียงกนั ใครเล่าจะสามารถ หกั ลา้ งบแหลกลาญ ถอดความได้วา่ ดังนนั้ ถา้ หมคู่ ณะใดไมข่ าดซ่งึ ความสามัคคี มคี วามพร้อมเพรยี งกันอย่เู สมอ ไม่มกี ารวิวาท และ ระแวงกัน กห็ วังไดโ้ ดยไมต่ อ้ งสงสยั วา่ คงจะพบซงึ่ ความสุข ความสงบ และประกอบดว้ ยประโยชนม์ ากมาย ใครเลา่ จะมีใจกล้าคดิ ทา่ สงครามดว้ ย หวังจะทา่ ลายลา้ งก็ไมไ่ ด้ ทงั้ นี้เพราะความพรอ้ มเพรยี งกนั นั่นเอง
อทุ าหรณ์สอนใจใหค้ ดิ อนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ ป่วยกลา่ วอะไรฝงู นรสูงประเสริฐครนั ฤๅสรรพสตั วอ์ ัน เฉพาะมีชวี คี รอง ผิวใครจะใคร่ลอ แม้มากผกิ ิ่งไม้ พลหกั ก็เตม็ ทน มดั ก่ากระนัน้ ปอง สละลณี้ หมตู่ น บ มิพร้อมมิเพรยี งกนั เหล่าไหนผไิ มตรี กิจใดจะขวายขวน ถอดความได้ว่า กล่าวไปไยกบั มนุษยผ์ ปู้ ระเสริฐหรอื สรรพสตั วท์ ่ีมชี วี ิต แม้แตก่ งิ่ ไมห้ ากใครจะใคร่ลองเอา มามัดเปน็ กา่ ตั้งใจใชก้ ่าลงั หกั กย็ ากเต็มทน หากหมใู่ ดไม่มีความสามัคคีในหมู่คณะของตน และกจิ การอนั ใดท่ีจะต้องขวนขวายท่ากม็ ิพรอ้ มเพรียงกัน
อทุ าหรณส์ อนใจให้คดิ อนิ ทรวเิ ชียรฉนั ท์ อย่าปรารถนาหวัง สขุ ทั้งเจริญอัน มวลมาอบุ ัติบรร ลไุ ฉนบไดม้ ี พภยนั ตรายกลี ปวงทุกขพ์ ิบัตสิ รร ติประสงคก์ ็คงสม แม้ปราศนิยมปรี ถอดความไดว้ า่ ก็อยา่ ได้หวงั เลยความสขุ ความเจรญิ จะเกดิ ข้ึนได้อย่างไร ความทกุ ขพ์ ิบตั ิ อนั ตรายและความช่วั ร้ายทัง้ ปวง ถึงแมจ้ ะไม่ต้องการก็จะต้องไดร้ บั เป็นแนแ่ ท้
อทุ าหรณ์สอนใจใหค้ ิด อนิ ทรวิเชียรฉนั ท์ ควรชนประชุมเช่น คณะเป็นสมาคม สามัคคิปรารม ภนิพทั ธร่าพึง ผวิ มีก็ค่านงึ ไป่มกี ็ใหม้ ี จะประสบสุขาลยั ฯ เนอื่ งเพื่อภยิ โยจงึ ถอดความได้ว่า ผทู้ ่ีอยรู่ วมกันเปน็ หมู่คณะหรือสมาคม ควรค่านงึ ถึงความสามัคคีอยู่เปน็ นจิ ถ้ายังไมม่ ี ก็ควรจะมีข้ึน ถ้ามอี ยู่แล้วกค็ วรใหเ้ จรญิ รุ่งเรืองย่ิงขึน้ ไปจึงจะถึงซ่งึ ความสขุ ความสบาย
บทพระราชนพิ นธร์ ชั กาลที่ ๖ ชาติใดไร้รกั สมัครสมาน จะทา่ การส่ิงใดก็ไรผ้ ล แมช้ าตยิ อ่ ยยับอบั จน บคุ คลจะสุขอยู่อยา่ งไร
Search
Read the Text Version
- 1 - 49
Pages: